ในประเทศไทย สายพระป่า คือสายกรรมฐานของพระภิกษุฝ่ายอรัญวาสีที่สืบทอดมาจากพระครูวิเวกพุทธกิจ (เสาร์ กนฺตสีโล) และหลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต พระภิกษุในสายนี้เน้นฝึกกรรมฐานควบคู่กับการรักษาพระวินัยอย่างเคร่งครัด
ประเภท | |
---|---|
สำนัก | เถรวาท |
ก่อตั้ง | ป. พ.ศ. 2443; ภาคอีสาน, ประเทศไทย |
หัวหน้าสาย |
|
คติพจน์ในการก่อตั้ง | อริยวงศ์ ธัมมานุธัมมปฏิปัตติ |
ประวัติ
พระภิกษุฝ่ายธรรมยุติกนิกายตั้งแต่ยุคแรกจะศึกษาคันถธุระในช่วงเข้าพรรษา พอถึงหน้าแล้งจึงออกจาริกไปฝึกวิปัสสนาธุระตามที่ต่าง ๆ โดยเฉพาะในภาคอีสานมีพระอาจารย์ดี พนฺธุโล และพระอาจารย์ม้าว เทวธมฺมี เป็นกำลังสำคัญ
ต่อมาศิษย์พระอาจารย์ม้าวคือพระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (จันทร์ สิริจนฺโท) ขณะยังเป็นพระครูวิจิตรธรรมภาณี ได้เข้ามาศึกษากรรมฐานกับพระปัญญาพิศาลเถร (สิงห์) วัดปทุมวนาราม แล้วจำพรรษาที่วัดปทุมวนารามตั้งแต่ปี พ.ศ. 2439 ในระหว่างนั้นพระอาจารย์หนู ฐิตปญฺโญ และพระอาจารย์เสาร์ กนฺตสีโล ได้เข้ามาจำพรรษาที่วัดปทุมวนารามด้วย เพื่อศึกษาพระปริยัติธรรมและอบรมกรรมฐานโดยมีพระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (จันทร์) เป็นพระอาจารย์ แล้วจึงกลับไปช่วยกันเผยแผ่ธรรมที่ภาคอีสานดังเดิม
เมื่อพระอาจารย์หนู ฐิตปญฺโญ ได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาสวัดปทุมวนาราม พระอาจารย์เสาร์จึงกลายเป็นผู้นำหมู่คณะพระป่าเพียงองค์เดียว ระหว่างนั้นพระอาจารย์มั่น ภูริทตฺโต ได้มาเป็นศิษย์พระอาจารย์เสาร์ และกลายเป็นกำลังสำคัญช่วยพระอาจารย์เสาร์เผยแผ่พระศาสนา เมื่อพระอาจารย์เสาร์มรณภาพลงในปี พ.ศ. 2486 พระอาจารย์มั่นจึงเป็นครูบาจารย์ใหญ่อบรมสั่งสอนหมู่คณะสายนี้ต่อ
ครูบาอาจารย์ที่มีชื่อเสียง
- สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (พิมพ์ ธมฺมธโร)
- สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (มานิต ถาวโร)
- พระธรรมเจดีย์ (จูม พนฺธุโล)
- พระอุดมญาณโมลี (จันทร์ศรี จนฺททีโป)
- พระญาณวิศิษฏ์สมิทธิวีราจารย์ (สิงห์ ขนฺตยาคโม)
- หลวงปู่
- พระราชนิโรธรังสี (เทสก์ เทสรํสี)
- หลวงปู่ขาว อนาลโย
- หลวงปู่ฝั้น อาจาโร
- หลวงปู่พรหม จิรปุญฺโญ
- พระสุทธิธรรมรังสี (ลี ธมฺมธโร)
- หลวงปู่ชอบ ฐานสโม
- หลวงปู่หลุย จนฺทสาโร
- พระญาณสิทธาจารย์ (สิม พุทฺธาจาโร)
- พระครูสุทธิธรรมรังษี (เจี๊ยะ จุนฺโท)
- หลวงปู่กงมา จิรปุญฺโญ
- พระโพธิญาณเถร (ชา สุภทฺโท)
- พระราชวุฒาจารย์ (ดูลย์ อตุโล)
- หลวงปู่แหวน สุจิณฺโณ
- หลวงปู่ตื้อ อจลธมฺโม
- พระวิสุทธิญาณเถร (สมชาย ฐิตวิริโย)
- พระธรรมวิสุทธิมงคล (บัว ญาณสมฺปนฺโน)
- พระราชสังวรญาณ (พุธ ฐานิโย)
- พระเทพวิสุทธิมงคล (ศรี มหาวีโร)
- พระมงคลวุฒ (เครื่อง สุภทฺโท)
- สมเด็จพระญาณวชิโรดม (วิริยังค์ สิรินฺธโร)
- หลวงปู่ผินะ ปิยธโร
- พระอริยเวที (เขียน ฐิตสีโล)
- แม่ชี
- หลวงปู่ผาง จิตฺตคุตฺโต
- หลวงปู่บัว สิริปุณฺโณ
- หลวงปู่อ่อน ญาณสิริ
- หลวงปู่บุดดา ถาวโร
- พระเทพสังวรญาณ (พวง สุขินฺทฺริโย)
- เป็นต้น
อ้างอิง
- ; (2013). The Princeton Dictionary of Buddhism (PDF). Princeton University Press. p. 1578. ISBN .
{{}}
:|ref=harv
ไม่ถูกต้อง ((help)) - หลวงตาทองคำ จารุวณฺโณ. . ประตูสู่ธรรม. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-09-27. สืบค้นเมื่อ 7 ตุลาคม 2560.
{{}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
((help)) - พระญาณวิศิษฏ์ (สิงห์ ขนฺตยาคโม) และ พระอริยคุณาธาร (เส็ง ปุสฺโส). "กองทัพธรรมฝ่ายวิปัสนาธุระ : ในสมัยบุพพาจารย์แห่งยุค". luangpumun.org. สืบค้นเมื่อ 7 ตุลาคม 2560.
{{}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
((help)) - พระราชสังวรญาณ (พุธ ฐานิโย). สัมมาสมาธิและปฏิปทาของครูบาอาจารย์. กรุงเทพฯ : มหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551. 66 หน้า. หน้า 55-56.
- http://www.dhammajak.net/board/viewtopic.php?t=13072
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
inpraethsithy sayphrapa khuxsaykrrmthankhxngphraphiksufayxrywasithisubthxdmacakphrakhruwiewkphuththkic esar kn tsiol aelahlwngpumn phuritht ot phraphiksuinsayniennfukkrrmthankhwbkhukbkarrksaphrawinyxyangekhrngkhrdsayphrapaithypraephthsankethrwathkxtngp ph s 2443 phakhxisan praethsithyhwhnasayphrakhruwiewkphuththkic phraxacarymn p ph s 2443 2492 phrarachniorthrngsi 2492 2537 phrathrrmwisuththimngkhl 2537 2554 phraophthiyanethr du khtiphcninkarkxtngxriywngs thmmanuthmmptipttiprawtiphraphiksufaythrrmyutiknikaytngaetyukhaerkcasuksakhnththurainchwngekhaphrrsa phxthunghnaaelngcungxxkcarikipfukwipssnathuratamthitang odyechphaainphakhxisanmiphraxacarydi phn thuol aelaphraxacarymaw ethwthm mi epnkalngsakhy txmasisyphraxacarymawkhuxphraxubalikhunupmacary cnthr siricn oth khnayngepnphrakhruwicitrthrrmphani idekhamasuksakrrmthankbphrapyyaphisalethr singh wdpthumwnaram aelwcaphrrsathiwdpthumwnaramtngaetpi ph s 2439 inrahwangnnphraxacaryhnu thitpy oy aelaphraxacaryesar kn tsiol idekhamacaphrrsathiwdpthumwnaramdwy ephuxsuksaphrapriytithrrmaelaxbrmkrrmthanodymiphraxubalikhunupmacary cnthr epnphraxacary aelwcungklbipchwyknephyaephthrrmthiphakhxisandngedim emuxphraxacaryhnu thitpy oy idrbaetngtngepnecaxawaswdpthumwnaram phraxacaryesarcungklayepnphunahmukhnaphrapaephiyngxngkhediyw rahwangnnphraxacarymn phuritht ot idmaepnsisyphraxacaryesar aelaklayepnkalngsakhychwyphraxacaryesarephyaephphrasasna emuxphraxacaryesarmrnphaphlnginpi ph s 2486 phraxacarymncungepnkhrubacaryihyxbrmsngsxnhmukhnasaynitxkhrubaxacarythimichuxesiyngsmedcphramhawirwngs phimph thm mthor smedcphramhawirwngs manit thawor phrathrrmecdiy cum phn thuol phraxudmyanomli cnthrsri cn ththiop phrayanwisistsmiththiwiracary singh khn tyakhom hlwngpu phrarachniorthrngsi ethsk ethsrsi hlwngpukhaw xnaloy hlwngpufn xacaor hlwngpuphrhm cirpuy oy phrasuththithrrmrngsi li thm mthor hlwngpuchxb thansom hlwngpuhluy cn thsaor phrayansiththacary sim phuth thacaor phrakhrusuththithrrmrngsi eciya cun oth hlwngpukngma cirpuy oy phraophthiyanethr cha suphth oth phrarachwuthacary duly xtuol hlwngpuaehwn sucin on hlwngputux xclthm om phrawisuththiyanethr smchay thitwirioy phrathrrmwisuththimngkhl bw yansm pn on phrarachsngwryan phuth thanioy phraethphwisuththimngkhl sri mhawior phramngkhlwuth ekhruxng suphth oth smedcphrayanwchiordm wiriyngkh sirin thor hlwngpuphina piythor phraxriyewthi ekhiyn thitsiol aemchi hlwngpuphang cit tkhut ot hlwngpubw siripun on hlwngpuxxn yansiri hlwngpubudda thawor phraethphsngwryan phwng sukhin th rioy epntnxangxing 2013 The Princeton Dictionary of Buddhism PDF Princeton University Press p 1578 ISBN 978 0 691 15786 3 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite book title aemaebb Cite book cite book a ref harv imthuktxng help hlwngtathxngkha caruwn on pratusuthrrm khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2017 09 27 subkhnemux 7 tulakhm 2560 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite web title aemaebb Cite web cite web a trwcsxbkhawnthiin accessdate help phrayanwisist singh khn tyakhom aela phraxriykhunathar esng pus os kxngthphthrrmfaywipsnathura insmybuphphacaryaehngyukh luangpumun org subkhnemux 7 tulakhm 2560 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite web title aemaebb Cite web cite web a trwcsxbkhawnthiin accessdate help phrarachsngwryan phuth thanioy smmasmathiaelaptipthakhxngkhrubaxacary krungethph mhamkutrachwithyaly 2551 66 hna hna 55 56 http www dhammajak net board viewtopic php t 13072