ในเรื่องปฏิกิริยาเคมี สมดุลเคมี (อังกฤษ: Chemical equilibrium) คือสภาวะที่ความเข้มข้นของสารตั้งต้นและสารผลิตภัณฑ์ไม่เปลี่ยนแปลงอีกแม้เวลาผ่านไป เราจะเรียกว่าปฏิกิริยาเคมีนั้นอยู่ในสมดุล (equilibrium) ทั้งนี้ การดำเนินไปของปฏิริยาไม่ได้สิ้นสุดลงแต่ระบบยังคงมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา เรียกว่า สมดุลไดนามิก (dynamic equilibrium)
การศึกษาสมดุลเคมี
แนวคิดเกี่ยวกับสมดุลเคมี ได้เริ่มพัฒนาขึ้นหลังจากการศึกษาของ โคล้ด หลุยส์ แบร์โธเล่ต์ (Claude Louis Berthollet) นักเคมีชาวฝรั่งเศส ที่พบว่าปฏิกิริยาเคมีบางชนิดเป็น (reversible reaction) โดยในสมดุลเคมีนั้น อัตราการเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้า (forward reaction) จะเท่ากับอัตราการเกิดปฏิกิริยาย้อน กลับ (backward หรือ reverse reaction) สมการต่อไปนี้ เป็นการแสดงสมดุลเคมีของปฏิกิริยาระหว่างสาร A และ สาร B เกิดเป็นสาร S และ สาร T โดยที่ α, β, σ และ τ เป็นสัมประสิทธิ์ (stoichiometric coefficient) ของปฏิกิริยาดังกล่าว
สมดุลเคมี คือ สภาวะสมดุลที่เกิดขึ้นเมื่อระบบเข้าสู่สภาวะคงที่ แต่ยังคงมีการดำเนินต่อไปเรื่อยๆด้วยอัตราเร็วของปฏิกิริยาเคมีนั้นๆ ซึ่งค่าของอัตราการเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้าจะเท่ากับค่าของอัตราการเกิดปฏิกิริยาย้อนกลับ โดยสมบัติของปฏิกิริยานี้จะไม่มีการเปลี่ยนแปลงแม้เวลาจะผ่านไปนานเท่าไรก็ตาม สามารถเรียกภาวะสมดุลนี้ได้ว่า ภาวะสมดุลไดนามิก
ถ้าหากปฏิกิริยาเกิดไปข้างหน้าได้มากๆ ความเข้มข้นของสารตั้งต้น A แฃะสาร B เหลือน้อยมากๆ อาจจะกล่าวอีกนัยหนึ่ง คือ มี สมบูรณ์ของปฏิกิริยา (reaction completeness) สูง หรือถ้าปฏิกิริยาย้อนกลับเกิดได้ดีมากๆทำให้ความเข้มข้นของสาร A และสาร B สูงในขณะที่ความเข้มข้นของสาร S และ T น้อยมาก อาจกล่าวได้ว่าปฏิกิริยาเกิดได้ไม่สมบูรณ์ ดังนั้น การอธิบายปฏิกิริยาเคมีในสมดุลจึงสามารถบอกความสมบูรณ์ของปฏิกิริยาได้ ซึ่งการคำนวณจะเกี่ยวข้องกับ ค่าคงที่สมดุลเคมี (chemical equilibrium:K)
คุณสมบัติของสมดุลเคมี
1. สมดุลเคมีจะต้องเกิดในระบบปิดเท่านั้น 2. สมดุลจะต้องเกิดการเปลี่ยนแปลงที่ผผันกลับได้ 3. ค่าอัตราการเกิดของปฏิกิริยาไปข้างหน้าจะเท่ากับค่าอัตราการเกิดปฏิกิริยาไปข้างหลัง 4. ในทุกๆ ระบบจะมีสารตั้งต้นเหลืออยู่ 5. ค่าของระบบนั้นๆจะคงที่
การเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้
การเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้มีทั้งแบบที่เป็นระบบปฏิกิริยาและไม่เป็นระบบปฏิกิริยา การเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้สามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ประเภท 1. การละลายเป็นสารละลาย คือ การเปลี่ยนสถานะของแข็งโดยการละลายจากของแข็งเป็นของเหลว จากของเหลวเป็นก๊าซ 2. การเปลี่ยนสถานะของสาร คือ การเปลี่ยนสถานะให้ของแข็ง ของเหลว ก๊าซ ได้โดยอาศัยการดูดความร้อน และการคายความร้อนเข้ามาเกี่ยวข้อง 3. การเกิดปฏิกิริยาเคมี คือ การเปลี่ยนแปลงที่ทำให้เกิดสารใหม่ที่มีคุณสมบัติที่แตกต่างไปจากสารเดิม สารที่เป็นได้ทั้งปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นสมบูรณ์ และปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นไม่สมบูรณ์
ค่าคงที่สมดุล
ในปฏิกิริยาเคมีที่ผันกลับได้ทั่วๆไปต่อไปนี้
ค่าคงที่สมดุลไดนามิกส์ (K)ถูกนิยามขึ้น โดย สหภาพเคมีบริสุทธิ์และเคมีประยุกต์ระหว่างประเทศ (IUPAC ) ดังนี้
เมื่อ {A} คือ (activity)ของสาร A, {B} คือ แอกทิวิตีของสาร B, ... ทั้งนี้ การแสดงความสัมพันธ์ข้างต้น เป็นการพิจารณาการเปลี่ยนแปลง (Gibbs free energy) แต่ในทางปฏิบัติแล้ว เรานิยมใช้ความเข้มข้นของสาร อาทิ [A], [B], ... มากกว่าการใช้แอกทิวิตี และใช้ ผลหารความเข้มข้น (concentration quotient, Kc) มากกว่า K ดังสมการ
เมื่อ Kc เท่ากับค่าคงที่สมดุลทางเทอร์โมไดนามิกส์ หารด้วย ผลหารสัมประสิทธิ์แอกทิวิตี (quotient of activity coefficients) เมื่อมีค่าเท่ากับ 1 จะได้ว่า Kc = K
ตัวอย่างสมดุลเคมีที่สำคัญ
สมดุลกรด-เบส
ปฏิกิริยากรด-เบสของกรดอ่อนหรือเบสอ่อนซึ่งเป็นปฏิกิริยาผันกลับได้นั้น การพิจารณาการแตกตัวของกรดอ่อนหรือเบสอ่อนมีความสำคัญมาก โดยค่าคงที่สมดุลของปฏิกิริยาการแตกตัวของกรดจะเรียกว่า ค่าคงที่การแตกตัวของกรด (acid dissociation constant, Ka)
- HA ⇌ A− + H+
โดยความหมายในทางเคมีของค่าคงที่นี้บ่งบอกความสมบูรณ์ของการแตกตัวของกรด หรือบอกความแรงของกรดนั่นเอง ซึ่งปกติแล้วค่าคงที่การแตกตัวของกรดมีค่าน้อยมาก จึงนิยมแสดงในรูปของค่า pKa ซึ่งกำหนดให้เท่ากับ -log (Ka) ตารางต่อไปนี้แสดงตัวอย่างของค่าคงที่การแตกตัวของกรดอ่อนบางชนิด
สมดุล ค่า pKa H3PO4 ⇌ H2PO4− + H+ pKa1 = 2.15 H2PO4− ⇌ HPO42− + H+ pKa2 = 7.20 HPO42− ⇌ PO43− + H+ pKa3 = 12.37 [VO2(H2O)4]+ ⇌ H3VO4 + H+ + 2H2O pKa1 = 4.2 H3VO4 ⇌ H2VO4− + H+ pKa2 = 2.60 H2VO4− ⇌ HVO42− + H+ pKa3 = 7.92 HVO42− ⇌ VO43− + H+ pKa4 = 13.27
สมดุลการละลาย
การละลายของสารประกอบไอออนิกในน้ำได้น้อยแล้วเกิดการแตกตัวเป็นไอออน จะอยู่ในสมดุลเคมีของการละลาย เช่น การละลายน้ำของเกลือแคลเซียมซัลเฟต ดังสมการต่อไปนี้
ค่าคงที่ของการละลายทางเทอร์โมไดนามิกส์ของแคลเซียมซัลเฟตจะเป็น ดังนี้
เมื่อ K ค่าคงที่ของการละลายทางเทอร์โมไดนามิกส์ และคำนวณโดยใช้ค่าแอกทิวิตีของไอออนต่างๆในระบบ อย่างไรก็ตาม ของแข็งมีค่าแอกทิวิตีเท่ากับ 1 และเมื่อเราพิจารณาโดยใช้ความเข้มข้นของไอออนค่าคงที่จะเรียกว่า ค่าคงที่ผลคูณไอออน (ionic solubility product: Ksp)
หลักของเลอชาเตลิเย
ในทางเคมี การทำนายทิศทางการเปลี่ยนแปลงของสมดุลเคมีจะอาศัย หลักของเลอชาเตอลิเย (Le Chatelier's principle) ซึ่งถูกเสนอขึ้นโดยนักเคมีชาวฝรั่งเศสชื่อ อ็องรี หลุยส์ เลอ ชาเตอลิเย (Henri Louis Le Châtelier) โดยหลักการนี้มีใจความสำคัญว่า
ถ้าระบบที่อยู่ในสมดุลเคมีถูกรบกวนโดยการเปลี่ยนแปลงความเข้มข้น อุณหภูมิ ปริมาตร หรือ สมดุลจะมีการเลื่อนตำแหน่ง (shift) เพื่อลดการรบกวนนั้น เพื่อเข้าสู่สมดุลอีกครั้งหนึ่ง
หลักการนี้มีความสำคัญในทางอุตสาหกรรมเคมีเป็นอย่างมาก เช่น อุตสาหกรรมการผลิตแอมโมเนีย ดังสมการ
ปฏิกิริยานี้ มีเอนทัลปี, ΔH° = -46,11 kJ/mol ซึ่งเป็นปฏิกิริยาคายความร้อน การลดอุณหภูมิจะเป็นการรบกวนสมดุลโดยเป็นการลดพลังงานความร้อน ระบบจะปรับตัวให้เพิ่มความร้อนโดยการเลื่อนสมดุลไปข้างหน้า ทำให้ระบบมีความเข้มข้นของแอมโมเนียเพิ่มขึ้นด้วย ตารางต่อไปนี้แสดงค่า Kc ที่เปลี่ยนแปลงตามอุณหภูมิ
ค่า Kc | ||
---|---|---|
อุณหภูมิ (°C) | Kc | |
300 | 4.34 x 10−3 | |
400 | 1.64 x 10−4 | |
450 | 4.51 x 10−5 | |
500 | 1.45 x 10−5 | |
550 | 5.38 x 10−6 | |
600 | 2.25 x 10−6 |
ดูเพิ่ม
อ้างอิง
- Peter Atkins and Julio de Paula, Atkins' Physical Chemistry, 8th edition (W.H. Freeman 2006, ) p.200-202
- F.J,C. Rossotti and H. Rossotti, The Determination of Stability Constants, McGraw-Hill, 1961. p. 5
- IUPAC Green Book, 3rd edition, p58 pdf
- Chemistry the Central Science" Ninth Ed., by: Brown, Lemay, Bursten, 2003,
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
ineruxngptikiriyaekhmi smdulekhmi xngkvs Chemical equilibrium khuxsphawathikhwamekhmkhnkhxngsartngtnaelasarphlitphnthimepliynaeplngxikaemewlaphanip eracaeriykwaptikiriyaekhminnxyuinsmdul equilibrium thngni kardaeninipkhxngptiriyaimidsinsudlngaetrabbyngkhngmikarepliynaeplngxyutlxdewla eriykwa smdulidnamik dynamic equilibrium source source source source karekhasusmdulekhmikhxngsarxinthriy Methyl tert butyl ether MTBE thiskddwysarlalayosediymibkharbxrentinna karsuksasmdulekhmi aenwkhidekiywkbsmdulekhmi iderimphthnakhunhlngcakkarsuksakhxng okhld hluys aebrothelt Claude Louis Berthollet nkekhmichawfrngess thiphbwaptikiriyaekhmibangchnidepn reversible reaction odyinsmdulekhminn xtrakarekidptikiriyaipkhanghna forward reaction caethakbxtrakarekidptikiriyayxn klb backward hrux reverse reaction smkartxipni epnkaraesdngsmdulekhmikhxngptikiriyarahwangsar A aela sar B ekidepnsar S aela sar T odythi a b s aela t epnsmprasiththi stoichiometric coefficient khxngptikiriyadngklaw smdulekhmi khux sphawasmdulthiekidkhunemuxrabbekhasusphawakhngthi aetyngkhngmikardaenintxiperuxydwyxtraerwkhxngptikiriyaekhminn sungkhakhxngxtrakarekidptikiriyaipkhanghnacaethakbkhakhxngxtrakarekidptikiriyayxnklb odysmbtikhxngptikiriyanicaimmikarepliynaeplngaemewlacaphanipnanethairktam samartheriykphawasmdulniidwa phawasmdulidnamik aA bB sS tT displaystyle alpha A beta B rightleftharpoons sigma S tau T thahakptikiriyaekidipkhanghnaidmak khwamekhmkhnkhxngsartngtn A aekhasar B ehluxnxymak xaccaklawxiknyhnung khux mi smburnkhxngptikiriya reaction completeness sung hruxthaptikiriyayxnklbekididdimakthaihkhwamekhmkhnkhxngsar A aelasar B sunginkhnathikhwamekhmkhnkhxngsar S aela T nxymak xacklawidwaptikiriyaekididimsmburn dngnn karxthibayptikiriyaekhmiinsmdulcungsamarthbxkkhwamsmburnkhxngptikiriyaid sungkarkhanwncaekiywkhxngkb khakhngthismdulekhmi chemical equilibrium K khunsmbtikhxngsmdulekhmi 1 smdulekhmicatxngekidinrabbpidethann 2 smdulcatxngekidkarepliynaeplngthiphphnklbid 3 khaxtrakarekidkhxngptikiriyaipkhanghnacaethakbkhaxtrakarekidptikiriyaipkhanghlng 4 inthuk rabbcamisartngtnehluxxyu 5 khakhxngrabbnncakhngthikarepliynaeplngthiphnklbidkarepliynaeplngthiphnklbidmithngaebbthiepnrabbptikiriyaaelaimepnrabbptikiriya karepliynaeplngthiphnklbidsamarthaebngxxkidepn 3 praephth 1 karlalayepnsarlalay khux karepliynsthanakhxngaekhngodykarlalaycakkhxngaekhngepnkhxngehlw cakkhxngehlwepnkas 2 karepliynsthanakhxngsar khux karepliynsthanaihkhxngaekhng khxngehlw kas idodyxasykardudkhwamrxn aelakarkhaykhwamrxnekhamaekiywkhxng 3 karekidptikiriyaekhmi khux karepliynaeplngthithaihekidsarihmthimikhunsmbtithiaetktangipcaksaredim sarthiepnidthngptikiriyathiekidkhunsmburn aelaptikiriyathiekidkhunimsmburn khakhngthismdul inptikiriyaekhmithiphnklbidthwiptxipni aA bB rR sS displaystyle alpha A beta B rightleftharpoons rho R sigma S khakhngthismdulidnamiks K thukniyamkhun ody shphaphekhmibrisuththiaelaekhmiprayuktrahwangpraeths IUPAC dngni K R r S s A a B b displaystyle K ominus frac R rho S sigma A alpha B beta emux A khux activity khxngsar A B khux aexkthiwitikhxngsar B thngni karaesdngkhwamsmphnthkhangtn epnkarphicarnakarepliynaeplng Gibbs free energy aetinthangptibtiaelw eraniymichkhwamekhmkhnkhxngsar xathi A B makkwakarichaexkthiwiti aelaich phlharkhwamekhmkhn concentration quotient Kc makkwa K dngsmkar Kc R r S s A a B b displaystyle K c frac R rho S sigma A alpha B beta emux Kc ethakbkhakhngthismdulthangethxromidnamiks hardwy phlharsmprasiththiaexkthiwiti quotient of activity coefficients emuxmikhaethakb 1 caidwa Kc K twxyangsmdulekhmithisakhy smdulkrd ebs ptikiriyakrd ebskhxngkrdxxnhruxebsxxnsungepnptikiriyaphnklbidnn karphicarnakaraetktwkhxngkrdxxnhruxebsxxnmikhwamsakhymak odykhakhngthismdulkhxngptikiriyakaraetktwkhxngkrdcaeriykwa khakhngthikaraetktwkhxngkrd acid dissociation constant Ka HA A H Ka A H HA displaystyle K mathrm a mathrm frac A H HA odykhwamhmayinthangekhmikhxngkhakhngthinibngbxkkhwamsmburnkhxngkaraetktwkhxngkrd hruxbxkkhwamaerngkhxngkrdnnexng sungpktiaelwkhakhngthikaraetktwkhxngkrdmikhanxymak cungniymaesdnginrupkhxngkha pKa sungkahndihethakb log Ka tarangtxipniaesdngtwxyangkhxngkhakhngthikaraetktwkhxngkrdxxnbangchnid smdul kha pKaH3PO4 H2PO4 H pKa1 2 15H2PO4 HPO42 H pKa2 7 20HPO42 PO43 H pKa3 12 37 VO2 H2O 4 H3VO4 H 2H2O pKa1 4 2H3VO4 H2VO4 H pKa2 2 60H2VO4 HVO42 H pKa3 7 92HVO42 VO43 H pKa4 13 27smdulkarlalay karlalaykhxngsarprakxbixxxnikinnaidnxyaelwekidkaraetktwepnixxxn caxyuinsmdulekhmikhxngkarlalay echn karlalaynakhxngekluxaekhlesiymsleft dngsmkartxipni CaSO4 s Ca2 aq SO42 aq displaystyle mathrm CaSO 4 s rightleftharpoons mbox Ca 2 aq mbox SO 4 2 aq khakhngthikhxngkarlalaythangethxromidnamikskhxngaekhlesiymsleftcaepn dngni K Ca2 aq SO42 aq CaSO4 s Ca2 aq SO42 aq displaystyle K ominus frac left mbox Ca 2 aq right left mbox SO 4 2 aq right left mbox CaSO 4 s right left mbox Ca 2 aq right left mbox SO 4 2 aq right emux K khakhngthikhxngkarlalaythangethxromidnamiks aelakhanwnodyichkhaaexkthiwitikhxngixxxntanginrabb xyangirktam khxngaekhngmikhaaexkthiwitiethakb 1 aelaemuxeraphicarnaodyichkhwamekhmkhnkhxngixxxnkhakhngthicaeriykwa khakhngthiphlkhunixxxn ionic solubility product Ksp Ksp Ca2 aq SO42 aq displaystyle K mathrm sp left mbox Ca 2 aq right left mbox SO 4 2 aq right hlkkhxngelxchaetliey xxngri hluys elx chaetxliey inthangekhmi karthanaythisthangkarepliynaeplngkhxngsmdulekhmicaxasy hlkkhxngelxchaetxliey Le Chatelier s principle sungthukesnxkhunodynkekhmichawfrngesschux xxngri hluys elx chaetxliey Henri Louis Le Chatelier odyhlkkarnimiickhwamsakhywa tharabbthixyuinsmdulekhmithukrbkwnodykarepliynaeplngkhwamekhmkhn xunhphumi primatr hrux smdulcamikareluxntaaehnng shift ephuxldkarrbkwnnn ephuxekhasusmdulxikkhrnghnung hlkkarnimikhwamsakhyinthangxutsahkrrmekhmiepnxyangmak echn xutsahkrrmkarphlitaexmomeniy dngsmkar N2 3 H2 2 NH3 displaystyle mathrm N 2 3 H 2 rightleftharpoons 2 NH 3 ptikiriyani miexnthlpi DH 46 11 kJ mol sungepnptikiriyakhaykhwamrxn karldxunhphumicaepnkarrbkwnsmdulodyepnkarldphlngngankhwamrxn rabbcaprbtwihephimkhwamrxnodykareluxnsmdulipkhanghna thaihrabbmikhwamekhmkhnkhxngaexmomeniyephimkhundwy tarangtxipniaesdngkha Kc thiepliynaeplngtamxunhphumi kha Kcxunhphumi C Kc300 4 34 x 10 3400 1 64 x 10 4450 4 51 x 10 5500 1 45 x 10 5550 5 38 x 10 6600 2 25 x 10 6duephim thvsdikrd ebs hlkkhxngelxchaetlieyrxangxing Peter Atkins and Julio de Paula Atkins Physical Chemistry 8th edition W H Freeman 2006 ISBN 0 7167 8759 8 p 200 202 F J C Rossotti and H Rossotti The Determination of Stability Constants McGraw Hill 1961 p 5 IUPAC Green Book 3rd edition p58 pdf Chemistry the Central Science Ninth Ed by Brown Lemay Bursten 2003 ISBN 0 13 038168 3