วิทยาคลื่นไหวสะเทือนดาวฤกษ์ (asteroseismology) คือการศึกษาการแกว่งกวัด ของดาวฤกษ์ โหมดการสั่นแบบต่าง ๆ ที่พบในดาวได้รับอิทธิพลจากส่วนต่าง ๆ ของดาวอย่างละเอียดอ่อน ดังนั้นจึงให้ข้อมูลเกี่ยวกับโครงสร้างภายในของดาว ซึ่งไม่สามารถทราบได้จากกำลังส่องสว่าง และ อุณหภูมิพื้นผิวของดาวที่สามารถสังเกตการณ์โดยตรงได้ วิทยาคลื่นไหวสะเทือนดาวฤกษ์มีความเกี่ยวข้องอย่างใกล้ชิดกับวิทยาคลื่นไหวสะเทือนดวงอาทิตย์ ซึ่งเป็นการศึกษาการแกว่งในดวงอาทิตย์ แม้ว่าทั้งสองจะมีพื้นฐานทางฟิสิกส์เดียวกัน แต่พื้นผิวของดวงอาทิตย์สามารถสังเกตได้ด้วยความละเอียดที่สูงกว่ามาก ดังนั้นจึงเป็นไปได้ที่จะได้รับข้อมูลที่ต่างกันทั้งในเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ
การไหวสะเทือน
การสั่นไหวของดาวฤกษ์เกิดจากการเปลี่ยน พลังงานความร้อนมาเป็นพลังงานจลน์ กระบวนการนี้คล้ายคลึงกับหลักการของเครื่องจักรความร้อน ซึ่งความร้อนจะถูกดูดกลืนเมื่ออุณหภูมิสูงและปล่อยออกมาเมื่ออุณหภูมิต่ำ กลไกหลักของดาวฤกษ์คือการเปลี่ยนพลังงานจากการแผ่รังสีเป็นพลังงานการขยับเต้นเป็นจังหวะที่พื้นผิว การสั่นที่เกิดขึ้นไม่ได้มีขนาดใหญ่มาก ซึ่งจะช่วยรักษาความเป็นอิสระของดาวฤกษ์และความสมมาตรทรงกลมของดาวฤกษ์ ในระบบดาวคู่ แรงน้ำขึ้นลงของดาวฤกษ์มีอิทธิพลอย่างมากต่อการแกว่งของดาวฤกษ์ การประยุกต์ใช้วิทยาคลื่นไหวสะเทือนดาวฤกษ์อย่างหนึ่งคือในดาวนิวตรอน เราไม่สามารถสังเกตโครงสร้างภายในได้โดยตรง แต่ได้รับการอนุมานจากการศึกษาการไหวสะเทือนของนิวตรอน
ประเภทของคลื่น
คลื่นภายในดาวฤกษ์คล้ายดวงอาทิตย์แบ่งออกได้เป็น 3 ประเภท ได้แก่
- โหมดความดัน (โหมด p) - คลื่นที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของความดันภายในของดาว ซึ่งการเคลื่อนที่ถูกกำหนดโดยความเร็วของเสียงเฉพาะที่
- โหมดความโน้มถ่วง (โหมด g) - คลื่นที่เกิดจากการลอยตัว
- โหมดความโน้มถ่วงพื้นผิว (โหมด f) - คล้ายกับการเกิดคลื่นทะเลตามพื้นผิวดาวฤกษ์
ในดาวคล้ายดวงอาทิตย์ เช่น พร็อกซิมาคนครึ่งม้า โหมด p จะโดดเด่นที่สุด และโหมด g จะจำกัดอยู่ในส่วนแก่นดาวซึ่งเป็นชั้นพาความร้อน อย่างไรก็ตาม จะเห็นโหมด g ได้ในดาวแคระขาว
วิทยาคลื่นไหวสะเทือนดวงอาทิตย์
วิทยาคลื่นไหวสะเทือนดวงอาทิตย์ เป็นสาขาย่อยของวิทยาคลื่นไหวสะเทือนดาวฤกษ์ซึ่งมุ่งเน้นไปที่ดวงอาทิตย์โดยเฉพาะ การสั่นไหวของดวงอาทิตย์ถูกกระตุ้นด้วยการพาความร้อนในชั้นนอก และ การสั่นแบบคล้ายดวงอาทิตย์ภายในดาวฤกษ์ดวงอื่นก็ถือเป็นสาขาใหม่ของวิทยาคลื่นไหวสะเทือนดาวฤกษ์
ภารกิจอวกาศ
ยานอวกาศบางลำได้ถูกมอบหมายให้การตรวจสอบทางวิทยาคลื่นไหวสะเทือนดาวฤกษ์เป็นเป้าหมายหลักของภารกิจ
- - ดาวเทียมสำรวจดวงอาทิตย์ถูกส่งขึ้นสู่อวกาศในปี 1995 โดยความร่วมมือกันขององค์การอวกาศยุโรป (ESA) และ นาซา
- - กล้องโทรทรรศน์อวกาศอินฟราเรดของนาซา ถูกส่งขึ้นไปในปี 1999 หลังจากที่ตัวกล้องโทรทรรศน์เกิดเสียหาย จึงถูกใช้สำหรับวิทยาคลื่นไหวสะเทือนดาวฤกษ์
- - ดาวเทียมของแคนาดาเปิดตัวในปี 2003 เป็นยานอวกาศลำแรกที่มีวัตถุประสงค์หลักในด้านวิทยาคลื่นไหวสะเทือนดาวฤกษ์
- CoRoT - ดาวเทียมของ ESA ที่นำโดยฝรั่งเศสเปิดตัวในปี 2006 มีจุดประสงค์หลัก 2 อย่างคือการสังเกต ดาวเคราะห์นอกระบบ และวิทยาคลื่นไหวสะเทือนดาวฤกษ์
- ยานเคปเลอร์ - ถูกส่งไปในปี 2009 จุดประสงค์หลักคือการสังเกตดาวเคราะห์นอกระบบ แต่ก็ยังใช้สำหรับวิทยาคลื่นไหวสะเทือนดาวฤกษ์ด้วย
ดาวยักษ์แดง
ดาวยักษ์แดง เป็นดาวฤกษ์ที่อยู่ในช่วงปลายของวิวัฒนาการดาวฤกษ์หลังจากสิ้นสุดการหลอมนิวเคลียสไฮโดรเจนในแกนกลาง ชั้นนอกของดาวขยายตัว 200 เท่าในขณะที่แกนกลางเกิดการยุบตัวจากความโน้มถ่วง อย่างไรก็ตาม มีสองขั้นตอนที่แตกต่างกัน คือ ระยะเริ่มต้นที่การหลอมนิวเคลียสไฮโดรเจนยังคงอยู่ในชั้นนอกของแกนกลางแต่ไม่มีฮีเลียมในแกนกลาง และระยะต่อมาที่แกนกลางถึงอุณหภูมิที่จะเริ่มฟิวชันฮีเลียม ก่อนหน้านี้ ระยะทั้งสองนี้ไม่สามารถแยกแยะได้จากการสังเกตการณ์สเปกตรัมของดาวฤกษ์ จนกระทั่งภารกิจของเคปเลอร์ได้ศึกษาคลื่นไหวสะเทือนของดาวยักษ์แดงจำนวนหลายร้อยดวง ทำให้สามารถแยกแยะความแตกต่างระหว่างสองช่วงนี้ได้ โดยระยะเวลาโหมด g ของดาวที่เผาไหม้ไฮโดรเจนอยู่ภายใน 50 วินาที และระยะเวลาของดาวที่เผาไหม้ด้วยฮีเลียมคือภายใน 100 ถึง 300 วินาที วิทยาคลื่นไหวสะเทือนดาวฤกษ์ช่วยแสดงให้เห็นว่าแกนกลางหมุนเร็วกว่าพื้นผิวอย่างน้อยสิบเท่า การสังเกตการณ์เพิ่มเติมช่วยเปิดเผยรายละเอียดเกี่ยวกับวิวัฒนาการของดาวฤกษ์ที่ไม่เคยทราบมาก่อน
อ้างอิง
- "Europe goes searching for rocky planets" (Press release). ESA. 26 ตุลาคม 2006. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 9 ธันวาคม 2012. สืบค้นเมื่อ 3 สิงหาคม 2008.
- Grigahcène, A.; และคณะ (2010). "Hybrid γ Doradus – δ Scuti pulsators: New insights into the physics of the oscillations from Kepler observations". The Astrophysical Journal. 713 (2): L192–L197. :1001.0747. Bibcode:2010ApJ...713L.192G. doi:10.1088/2041-8205/713/2/L192. S2CID 56144432.
อ่านเพิ่มเติม
- Aerts, Conny; Christensen-Dalsgaard, Jørgen; Kurtz, Donald (2010). Asteroseismology. Astronomy and Astrophysics Library. Dordrecht, New York: Springer. ISBN .
- Christensen-Dalsgaard, Jørgen. . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 1 กรกฎาคม 2018. สืบค้นเมื่อ 5 มิถุนายน 2015.
- Pijpers, Frank P. (2006). Methods in Helio- and Asteroseismology. London: Imperial College Press. ISBN .
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
withyakhlunihwsaethuxndawvks asteroseismology khuxkarsuksakaraekwngkwd khxngdawvks ohmdkarsnaebbtang thiphbindawidrbxiththiphlcakswntang khxngdawxyanglaexiydxxn dngnncungihkhxmulekiywkbokhrngsrangphayinkhxngdaw sungimsamarththrabidcakkalngsxngswang aela xunhphumiphunphiwkhxngdawthisamarthsngektkarnodytrngid withyakhlunihwsaethuxndawvksmikhwamekiywkhxngxyangiklchidkbwithyakhlunihwsaethuxndwngxathity sungepnkarsuksakaraekwngindwngxathity aemwathngsxngcamiphunthanthangfisiksediywkn aetphunphiwkhxngdwngxathitysamarthsngektiddwykhwamlaexiydthisungkwamak dngnncungepnipidthicaidrbkhxmulthitangknthnginechingprimanaelaechingkhunphaphkhlunphayindwngxathitykarihwsaethuxnkarsnihwkhxngdawvksekidcakkarepliyn phlngngankhwamrxnmaepnphlngngancln krabwnkarnikhlaykhlungkbhlkkarkhxngekhruxngckrkhwamrxn sungkhwamrxncathukdudklunemuxxunhphumisungaelaplxyxxkmaemuxxunhphumita klikhlkkhxngdawvkskhuxkarepliynphlngngancakkaraephrngsiepnphlngngankarkhybetnepncnghwathiphunphiw karsnthiekidkhunimidmikhnadihymak sungcachwyrksakhwamepnxisrakhxngdawvksaelakhwamsmmatrthrngklmkhxngdawvks inrabbdawkhu aerngnakhunlngkhxngdawvksmixiththiphlxyangmaktxkaraekwngkhxngdawvks karprayuktichwithyakhlunihwsaethuxndawvksxyanghnungkhuxindawniwtrxn eraimsamarthsngektokhrngsrangphayinidodytrng aetidrbkarxnumancakkarsuksakarihwsaethuxnkhxngniwtrxnpraephthkhxngkhlunkhlunphayindawvkskhlaydwngxathityaebngxxkidepn 3 praephth idaek ohmdkhwamdn ohmd p khlunthiekidcakkarepliynaeplngkhxngkhwamdnphayinkhxngdaw sungkarekhluxnthithukkahndodykhwamerwkhxngesiyngechphaathi ohmdkhwamonmthwng ohmd g khlunthiekidcakkarlxytw ohmdkhwamonmthwngphunphiw ohmd f khlaykbkarekidkhlunthaeltamphunphiwdawvks indawkhlaydwngxathity echn phrxksimakhnkhrungma ohmd p caoddednthisud aelaohmd g cacakdxyuinswnaekndawsungepnchnphakhwamrxn xyangirktam caehnohmd g idindawaekhrakhawwithyakhlunihwsaethuxndwngxathitywithyakhlunihwsaethuxndwngxathity epnsakhayxykhxngwithyakhlunihwsaethuxndawvkssungmungennipthidwngxathityodyechphaa karsnihwkhxngdwngxathitythukkratundwykarphakhwamrxninchnnxk aela karsnaebbkhlaydwngxathityphayindawvksdwngxunkthuxepnsakhaihmkhxngwithyakhlunihwsaethuxndawvkspharkicxwkasyanxwkasbanglaidthukmxbhmayihkartrwcsxbthangwithyakhlunihwsaethuxndawvksepnepahmayhlkkhxngpharkic dawethiymsarwcdwngxathitythuksngkhunsuxwkasinpi 1995 odykhwamrwmmuxknkhxngxngkhkarxwkasyuorp ESA aela nasa klxngothrthrrsnxwkasxinfraerdkhxngnasa thuksngkhunipinpi 1999 hlngcakthitwklxngothrthrrsnekidesiyhay cungthukichsahrbwithyakhlunihwsaethuxndawvks dawethiymkhxngaekhnadaepidtwinpi 2003 epnyanxwkaslaaerkthimiwtthuprasngkhhlkindanwithyakhlunihwsaethuxndawvks CoRoT dawethiymkhxng ESA thinaodyfrngessepidtwinpi 2006 micudprasngkhhlk 2 xyangkhuxkarsngekt dawekhraahnxkrabb aelawithyakhlunihwsaethuxndawvks yanekhpelxr thuksngipinpi 2009 cudprasngkhhlkkhuxkarsngektdawekhraahnxkrabb aetkyngichsahrbwithyakhlunihwsaethuxndawvksdwydawyksaedngdawyksaedng epndawvksthixyuinchwngplaykhxngwiwthnakardawvkshlngcaksinsudkarhlxmniwekhliysihodrecninaeknklang chnnxkkhxngdawkhyaytw 200 ethainkhnathiaeknklangekidkaryubtwcakkhwamonmthwng xyangirktam misxngkhntxnthiaetktangkn khux rayaerimtnthikarhlxmniwekhliysihodrecnyngkhngxyuinchnnxkkhxngaeknklangaetimmihieliyminaeknklang aelarayatxmathiaeknklangthungxunhphumithicaerimfiwchnhieliym kxnhnani rayathngsxngniimsamarthaeykaeyaidcakkarsngektkarnsepktrmkhxngdawvks cnkrathngpharkickhxngekhpelxridsuksakhlunihwsaethuxnkhxngdawyksaedngcanwnhlayrxydwng thaihsamarthaeykaeyakhwamaetktangrahwangsxngchwngniid odyrayaewlaohmd g khxngdawthiephaihmihodrecnxyuphayin 50 winathi aelarayaewlakhxngdawthiephaihmdwyhieliymkhuxphayin 100 thung 300 winathi withyakhlunihwsaethuxndawvkschwyaesdngihehnwaaeknklanghmunerwkwaphunphiwxyangnxysibetha karsngektkarnephimetimchwyepidephyraylaexiydekiywkbwiwthnakarkhxngdawvksthiimekhythrabmakxnxangxing Europe goes searching for rocky planets Press release ESA 26 tulakhm 2006 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 9 thnwakhm 2012 subkhnemux 3 singhakhm 2008 Grigahcene A aelakhna 2010 Hybrid g Doradus d Scuti pulsators New insights into the physics of the oscillations from Kepler observations The Astrophysical Journal 713 2 L192 L197 1001 0747 Bibcode 2010ApJ 713L 192G doi 10 1088 2041 8205 713 2 L192 S2CID 56144432 xanephimetimAerts Conny Christensen Dalsgaard Jorgen Kurtz Donald 2010 Asteroseismology Astronomy and Astrophysics Library Dordrecht New York Springer ISBN 978 1 4020 5803 5 Christensen Dalsgaard Jorgen khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 1 krkdakhm 2018 subkhnemux 5 mithunayn 2015 Pijpers Frank P 2006 Methods in Helio and Asteroseismology London Imperial College Press ISBN 978 1 8609 4755 1