ศาสตาจารย์เกียรติคุณ ดร.วิชัย ริ้วตระกูล (เกิด 12 ตุลาคม พ.ศ. 2485) กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิ ของมหาวิทยาลัยนครพนม นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช ประจำปี พ.ศ. 2548 ผู้เชี่ยวชาญด้านเคมีอินทรีย์สังเคราะห์ และการค้นหาสารผลิตภัณฑ์ธรรมชาติที่มีฤทธิ์ทางชีวภาพจากสมุนไพร เพื่อการพัฒนาเป็นยาชนิดต่างๆ เกิดที่ตำบลทับยา อำเภออินทร์บุรี จังหวัดสิงห์บุรี สมรสกับนางแสงโสม (วิเชียรโชติ) ริ้วตระกูล มีธิดา 2 คนชื่อ แพทย์หญิงสิริมนต์ ประเทืองธรรม และนางมนฑิรา ทวีสิน ได้รับพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าฯ เป็นราชบัณฑิต สาขาวิชาเคมี สำนักวิทยาศาสตร์ ราชบัณฑิตยสถาน
ดร. วิชัย ริ้วตระกูล | |
---|---|
เกิด | 12 ตุลาคม พ.ศ. 2485 จังหวัดสิงห์บุรี ประเทศไทย |
สัญชาติ | ไทย |
มีชื่อเสียงจาก | นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ |
ญาติ | แสงโสม ริ้วตระกูล (ภรรยา) |
ประวัติ
ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร. วิชัย ริ้วตระกูล เป็นผู้เชี่ยวชาญเคมี ประจำคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยทั้งในและต่างประเทศอย่างต่อเนื่อง อาทิเช่น จากองค์การอนามัยโลก ทางด้าน Male and Female Fertility Regulation จาก CONRAD, USAID ทางด้าน Male Fertility Regulation จาก International Foundation for Science (IFS) ทางด้าน Bioactive Natural Products ขณะนื้ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัย ของสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ โครงการพัฒนาบัณฑิตศึกษาและการวิจัยทางเคมี (Postgraduate Education and Research Program in Chemistry - PERCH) และ International Program in Chemical Sciences (IPICS)
ประวัติการศึกษา
- จบการศึกษาระดับมัธยมต้นจากโรงเรียนประจำจังหวัดสิงห์บุรี และมัธยมปลายจากโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
- พ.ศ. 2509 - ปริญญาตรี สาขาเคมี (เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง) จาก ประเทศออสเตรเลีย
- พ.ศ. 2514 - ปริญญาเอก สาขาเคมีอินทรีย์ จากมหาวิทยาลัยวิสคอนซิน เมืองเมดิสัน ประเทศสหรัฐอเมริกา
ปริญญากิตติมศักดิ์
- พ.ศ. 2545 - ปริญญา สาขาเคมีประเภทวิชาการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
- พ.ศ. 2547 - ปริญญา มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ประวัติการทำงาน
- เริ่มรับราชการเป็นอาจารย์ประจำ ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ตั้งแต่พ.ศ. 2514 จนถึงปัจจุบัน โดยได้รับตำแหน่งเป็นผู้ช่วยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ และศาสตราจารย์ ในปีพ.ศ. 2519, 2522 และ 2527 ตามลำดับ
- หัวหน้าภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ในปี 2537-2544
- ประธานคณะกรรมการจัดการประชุมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 17 และ 18 ที่ปรึกษาชั่วคราว HRP/WHO
- ประธานของ The Steering Committee of WHO Task on Plants for Fertility Regulation
- กรรมการสภามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร ระหว่างปี พ.ศ. 2539-2542
- กรรมการในคณะกรรมการอุดมศึกษาเอกชน ทบวงมหาวิทยาลัย
- กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิของสภาวิชาการ สภาสถาบันราชภัฏ ระหว่างปี 2541-2543
หน้าที่การงานในปัจจุบัน
- กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ สภามหาวิทยาลัยบูรพา
- ประธานกรรมการพิจารณาขอเปิดดำเนินการหลักสูตร และการรับรองมาตรฐานการศึกษา สาขาวิทยาศาสตร์ธรรมชาติและเทคโนโลยี ของสถาบันอุดมศึกษาเอกชน ทบวงมหาวิทยาลัย
- กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิประจำสำนักวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี และประจำสำนักวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
- หัวหน้าคณะผู้ประสานงานโครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก สกว.
- ผู้อำนวยการโครงการพัฒนาบัณฑิตศึกษาและการวิจัยทางเคมี (Postgraduate Education and Research Program in Chemistry - PERCH) ซึ่งเป็น Consortium การผลิตนักศึกษาและงานวิจัยทางเคมี ร่วมกัน 5 มหาวิทยาลัย คือ มหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
- กรรมการในกองบรรณาธิการเกียรติคุณของ วารสารสงขลานครินทร์ฉบับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
- ได้รับรางวัลวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ของมูลนิธิโทเรเพื่อการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ประเทศไทยประเภทบุคคล ประจำปี พ.ศ. 2538
ในด้านที่เกี่ยวข้องกับต่างประเทศ
- เป็นผู้ประสานงานและดำเนินการควบคุมการวิจัย โครงการแลกเปลี่ยนระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล กับประเทศบังคลาเทศ และศรีลังกา โดยได้รับการสนับสนุนจากประเทศสวีเดน
- เป็นที่ปรึกษาทางวิทยาศาสตร์ของ International Foundation For Science (IFS), The Asian Network of Research on Antidiabetes Plants (ANRAP) และ International Program in the Chemical Sciences (IPICS)
- เป็น Editorial Board Associate Editor ของ Asian Journal of Andrology และ Pharmaceutical Biology ตามลำดับ
- เป็นเครือข่าย และผู้ประสานงานเครือข่ายเคมีผลิตภัณฑ์ธรรมชาติประเทศไทย ขององค์การยูเนสโก ปี 2545-2548
เกียรติคุณและรางวัล
- พ.ศ. 2538 - รางวัลวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มูลนิธิโทเรเพื่อการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ประเทศไทย (ประเภทบุคคล)
- พ.ศ. 2539 - เมธีวิจัยอาวุโส สกว. สาขาเคมี
- พ.ศ. 2543 - เมธีวิจัยอาวุโส สกว. สาขาเคมีอินทรีย์
- พ.ศ. 2545 - รางวัลผลงานวิจัยเกียรติยศ สกว. : รางวัลผลงานวิจัยที่ได้รับการอ้างอิงโดยรวมสูงสุด สาขาวิทยาศาสตร์กายภาพและวิศวกรรมศาสตร์
- พ.ศ. 2546 - เมธีวิจัยอาวุโส สกว. ระยะที่ 2 สาขาเคมีอินทรีย์
- พ.ศ. 2548 - นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช
ผลงานด้านการวิจัย
งานวิจัยของศาสตราจารย์ ดร. วิชัย ริ้วตระกูล เป็นงานวิจัยพื้นฐานแบบกำหนดทิศทาง ซึ่งจะมุ่งเน้นทั้งสร้างองค์ความรู้ใหม่ การศึกษาวิจัยในเรื่องที่อาจจะนำผลงานไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์และเชิงสาธารณประโยชน์ได้ งานวิจัยแบ่งออกเป็นสองส่วน ส่วนแรกคือ การวิจัยพื้นฐานแบบกำหนดทิศทางด้าน ส่วนที่สองคือ การวิจัยในโครงการ Drug Discovery ซึ่งเป็นการศึกษาแบบกำหนดทิศทาง เพื่อมุ่งเน้นศึกษาและค้นหาสารผลิตภัณฑ์ธรรมชาติที่มีฤทธิ์ทางชีวภาพ จากต้นไม้ที่ขึ้นในประเทศไทย เช่น พืชในสกุล Gardenia, Polyalthia, Garcinia, Ventilago และพันธุ์พืช Ventilago harmandiana, Garcinia speciosa, Garcinia hanburyi, Mallotus spodocarpus, Ochna intergerrima และ Diospyros variegata เพื่อนำมาใช้เป็นสารโครงสร้างนำ (lead structures) ในการพัฒนาเป็นยาต่างๆ อาทิ สารที่มีฤทธิ์แก้อาการอักเสบทั้งชนิดกินและชนิดทา สารฆ่าเซลส์มะเร็ง สารฆ่าเชื้อไวรัสเอชไอวี สารที่มีฤทธิ์ต้านการอักเสบ ฤทธิ์ต้านจุลชีพ ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ และฤทธิ์ควบคุมการเจริญพันธุ์ในเพศชาย เป็นต้น ซึ่งการพัฒนาโครงการดังกล่าว ได้นำไปสู่การพัฒนาห้องปฏิบัติการการทดสอบฤทธิ์ทางชีวภาพที่ได้มาตรฐาน ที่ภาควิชาเภสัชวิทยา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และที่ภาควิชาสรีรวิทยา และภาควิชาจุลชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล นอกจากนี้การวิจัยดำเนินการหาสารพวกที่มีสารที่มีฤทธิ์ต้านการอักเสบ ฤทธิ์ต้านจุลชีพ และฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ อาจจะนำมาพัฒนาใช้เป็นผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง และใช้ในการรักษาสภาพของผลิตผลทางเกษตรให้คงความสดนานยิ่งขึ้นได้ด้วย
การดำเนินการวิจัยในโครงการ drug discovery จะประกอบด้วยเครือข่ายของนักวิจัยจาก กรมป่าไม้ มหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี
บางส่วนของงานวิจัยของศาสตราจารย์ ดร. วิชัย ริ้วตระกูล ได้ถูกนำไปเผยแพร่ออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์ BBC World ผ่านดาวเทียมในรายการ Tomorrow’s World: Vision of the Future เมื่อเดือนเมษายน ปี พ.ศ. 2540 คือ ผลงานวิจัยเกี่ยวกับสาร Triptolide ซึ่งมีสารที่มีฤทธิ์ควบคุมการเจริญพันธุ์ในเพศชาย โดยทำการทดลองในลิง marmoset ตัวผู้ จากการทดลองพบว่าสาร Triptolide เป็นสารตัวแรกที่ได้ผ่านการทดสอบว่าเป็นสารที่ไม่ก่อให้เกิดการกลายพันธุ์ เท่าที่ได้ศึกษามาจนถึงขณะนี้ไม่พบความเป็นพิษของสารนี้ต่อสัตว์ทดลอง และมีฤทธิ์ได้เป็นที่น่าพอใจ
ศาสตราจารย์ ดร.วิชัย ริ้วตระกูล มีผลงานที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติ จำนวน 116 เรื่อง เขียนบทความลงในหนังสือตำราวิชาการระดับนานาชาติ จำนวน 5 เรื่อง จดสิทธิบัตรระดับนานาชาติ จำนวน 1 เรื่อง ผลงานวิจัยที่นำไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์อย่างเป็นรูปธรรมแล้ว คือการพัฒนาสารจากไพล (Zingiber cassumunar) สำหรับใช้ในผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง Plaitanoids และการพัฒนาสารจาก (Nelumbo nucifera) สำหรับใช้ในผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง Lotusia เป็นต้น
เครื่องราชอิสริยาภรณ์
- พ.ศ. 2539 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นสูงสุด มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.)
- พ.ศ. 2534 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นสูงสุด มหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.)
- พ.ศ. 2549 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่สรรเสริญยิ่งดิเรกคุณาภรณ์ ชั้นที่ 4 จตุตถดิเรกคุณาภรณ์ (จ.ภ.)
- พ.ศ. 2555 – เหรียญดุษฎีมาลา เข็มศิลปวิทยา (ร.ด.ม.(ศ)) สาขาวิทยาศาสตร์
- พ.ศ. 2539 – เหรียญจักรพรรดิมาลา (ร.จ.พ.)
อ้างอิง
- กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิ
- นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ ประจำปี 2548 2013-05-16 ที่ เวย์แบ็กแมชชีนสืบค้นข้อมูลเมื่อ 23 กันยายน 2556
- ประวัติคณะกรรมการสภามหาวิทยาลัย สืบค้นข้อมูลเมื่อ 23 กันยายน 2556
- ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ 2014-04-13 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๑๑๓ ตอนที่ ๒๒ ข หน้า ๕, ๔ ธันวาคม ๒๕๓๙
- ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์, เล่ม ๑๐๘ ตอนที่ ๒๐๘ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๙, ๒๙ พฤศจิกายน ๒๕๓๔
- ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่สรรเสริญยิ่งดิเรกคุณาภรณ์ ประจำปี ๒๕๔๙, เล่ม ๑๒๓ ตอนที่ ๒๔ ข หน้า ๑๔๓, ๒๕ ธันวาคม ๒๕๔๙
- ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญดุษฎีมาลา เข็มศิลปวิทยา ประจำปี ๒๕๕๕ 2016-03-04 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๑๓๐ ตอนที่ ๑๐ ข หน้า ๓๑, ๒๖ มีนาคม ๒๕๕๖
- ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญจักรมาลาและเหรียญจักรพรรดิมาลา, เล่ม ๑๑๓ ตอนที่ ๒๕ ข หน้า ๖๖๘, ๒๕ ธันวาคม ๒๕๓๙
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
sastacaryekiyrtikhun dr wichy riwtrakul ekid 12 tulakhm ph s 2485 krrmkarsphamhawithyalyphuthrngkhunwuthi khxngmhawithyalynkhrphnm nkwicydiednaehngchati sakhawithyasastrekhmiaelaephsch pracapi ph s 2548 phuechiywchaydanekhmixinthriysngekhraah aelakarkhnhasarphlitphnththrrmchatithimivththithangchiwphaphcaksmuniphr ephuxkarphthnaepnyachnidtang ekidthitablthbya xaephxxinthrburi cnghwdsinghburi smrskbnangaesngosm wiechiyrochti riwtrakul mithida 2 khnchux aephthyhyingsirimnt praethuxngthrrm aelanangmnthira thwisin idrbphramhakrunathikhunoprdekla epnrachbnthit sakhawichaekhmi sankwithyasastr rachbnthitysthansastracaryekiyrtikhun dr wichy riwtrakul m p ch m w m c ph ifl Vichai R jpgekid12 tulakhm ph s 2485 81 pi cnghwdsinghburi praethsithysychatiithymichuxesiyngcaknkwicydiednaehngchatiyatiaesngosm riwtrakul phrrya prawtisastracaryekiyrtikhun dr wichy riwtrakul epnphuechiywchayekhmi pracakhnawithyasastr mhawithyalymhidl idrbthunsnbsnunkarwicythnginaelatangpraethsxyangtxenuxng xathiechn cakxngkhkarxnamyolk thangdan Male and Female Fertility Regulation cak CONRAD USAID thangdan Male Fertility Regulation cak International Foundation for Science IFS thangdan Bioactive Natural Products khnanuidrbthunsnbsnunkarwicy khxngsankngankxngthunsnbsnunkarwicy skw sankngankhnakrrmkarwicyaehngchati okhrngkarphthnabnthitsuksaaelakarwicythangekhmi Postgraduate Education and Research Program in Chemistry PERCH aela International Program in Chemical Sciences IPICS prawtikarsuksa cbkarsuksaradbmthymtncakorngeriynpracacnghwdsinghburi aelamthymplaycakorngeriynetriymxudmsuksa ph s 2509 priyyatri sakhaekhmi ekiyrtiniymxndbhnung cak praethsxxsetreliy ph s 2514 priyyaexk sakhaekhmixinthriy cakmhawithyalywiskhxnsin emuxngemdisn praethsshrthxemrikapriyyakittimskdi ph s 2545 priyya sakhaekhmipraephthwichakar mhawithyalysngkhlankhrinthr ph s 2547 priyya mhawithyalykhxnaekn prawtikarthangan erimrbrachkarepnxacarypraca phakhwichaekhmi khnawithyasastr mhawithyalymhidl tngaetph s 2514 cnthungpccubn odyidrbtaaehnngepnphuchwysastracary rxngsastracary aelasastracary inpiph s 2519 2522 aela 2527 tamladb hwhnaphakhwichaekhmi khnawithyasastr mhawithyalymhidl inpi 2537 2544 prathankhnakrrmkarcdkarprachumwithyasastraelaethkhonolyiaehngpraethsithy khrngthi 17 aela 18 thipruksachwkhraw HRP WHO prathankhxng The Steering Committee of WHO Task on Plants for Fertility Regulation krrmkarsphamhawithyalyethkhonolyimhankhr rahwangpi ph s 2539 2542 krrmkarinkhnakrrmkarxudmsuksaexkchn thbwngmhawithyaly krrmkarphuthrngkhunwuthikhxngsphawichakar sphasthabnrachpht rahwangpi 2541 2543 hnathikarnganinpccubn krrmkarphuthrngkhunwuthi sphamhawithyalyburpha prathankrrmkarphicarnakhxepiddaeninkarhlksutr aelakarrbrxngmatrthankarsuksa sakhawithyasastrthrrmchatiaelaethkhonolyi khxngsthabnxudmsuksaexkchn thbwngmhawithyaly krrmkarphuthrngkhunwuthipracasankwicyaelaphthna mhawithyalyethkhonolyisurnari aelapracasankwicyaelaphthna mhawithyalysngkhlankhrinthr hwhnakhnaphuprasannganokhrngkarpriyyaexkkaycnaphiesk skw phuxanwykarokhrngkarphthnabnthitsuksaaelakarwicythangekhmi Postgraduate Education and Research Program in Chemistry PERCH sungepn Consortium karphlitnksuksaaelanganwicythangekhmi rwmkn 5 mhawithyaly khux mhawithyalymhidl mhawithyalysngkhlankhrinthr mhawithyalykhxnaekn mhawithyalyechiyngihm aelamhawithyalyekstrsastr krrmkarinkxngbrrnathikarekiyrtikhunkhxng warsarsngkhlankhrinthrchbbwithyasastraelaethkhonolyi idrbrangwlwithyasastraelaethkhonolyi khxngmulnithiotherephuxkarsngesrimwithyasastrpraethsithypraephthbukhkhl pracapi ph s 2538 indanthiekiywkhxngkbtangpraeths epnphuprasannganaeladaeninkarkhwbkhumkarwicy okhrngkaraelkepliynrahwangmhawithyalymhidl kbpraethsbngkhlaeths aelasrilngka odyidrbkarsnbsnuncakpraethsswiedn epnthipruksathangwithyasastrkhxng International Foundation For Science IFS The Asian Network of Research on Antidiabetes Plants ANRAP aela International Program in the Chemical Sciences IPICS epn Editorial Board Associate Editor khxng Asian Journal of Andrology aela Pharmaceutical Biology tamladb epnekhruxkhay aelaphuprasannganekhruxkhayekhmiphlitphnththrrmchatipraethsithy khxngxngkhkaryuensok pi 2545 2548ekiyrtikhunaelarangwlph s 2538 rangwlwithyasastraelaethkhonolyi mulnithiotherephuxkarsngesrimwithyasastrpraethsithy praephthbukhkhl ph s 2539 emthiwicyxawuos skw sakhaekhmi ph s 2543 emthiwicyxawuos skw sakhaekhmixinthriy ph s 2545 rangwlphlnganwicyekiyrtiys skw rangwlphlnganwicythiidrbkarxangxingodyrwmsungsud sakhawithyasastrkayphaphaelawiswkrrmsastr ph s 2546 emthiwicyxawuos skw rayathi 2 sakhaekhmixinthriy ph s 2548 nkwicydiednaehngchati sakhawithyasastrekhmiaelaephschphlngandankarwicynganwicykhxngsastracary dr wichy riwtrakul epnnganwicyphunthanaebbkahndthisthang sungcamungennthngsrangxngkhkhwamruihm karsuksawicyineruxngthixaccanaphlnganipichpraoychninechingphanichyaelaechingsatharnpraoychnid nganwicyaebngxxkepnsxngswn swnaerkkhux karwicyphunthanaebbkahndthisthangdan swnthisxngkhux karwicyinokhrngkar Drug Discovery sungepnkarsuksaaebbkahndthisthang ephuxmungennsuksaaelakhnhasarphlitphnththrrmchatithimivththithangchiwphaph caktnimthikhuninpraethsithy echn phuchinskul Gardenia Polyalthia Garcinia Ventilago aelaphnthuphuch Ventilago harmandiana Garcinia speciosa Garcinia hanburyi Mallotus spodocarpus Ochna intergerrima aela Diospyros variegata ephuxnamaichepnsarokhrngsrangna lead structures inkarphthnaepnyatang xathi sarthimivththiaekxakarxkesbthngchnidkinaelachnidtha sarkhaeslsmaerng sarkhaechuxiwrsexchixwi sarthimivththitankarxkesb vththitanculchiph vththitanxnumulxisra aelavththikhwbkhumkarecriyphnthuinephschay epntn sungkarphthnaokhrngkardngklaw idnaipsukarphthnahxngptibtikarkarthdsxbvththithangchiwphaphthiidmatrthan thiphakhwichaephschwithya mhawithyalyechiyngihm aelathiphakhwichasrirwithya aelaphakhwichaculchiwwithya khnawithyasastr mhawithyalymhidl nxkcaknikarwicydaeninkarhasarphwkthimisarthimivththitankarxkesb vththitanculchiph aelavththitanxnumulxisra xaccanamaphthnaichepnphlitphnthekhruxngsaxang aelaichinkarrksasphaphkhxngphlitphlthangekstrihkhngkhwamsdnanyingkhuniddwy kardaeninkarwicyinokhrngkar drug discovery caprakxbdwyekhruxkhaykhxngnkwicycak krmpaim mhawithyalymhidl mhawithyalyechiyngihm mhawithyalykhxnaekn mhawithyalysngkhlankhrinthr aelamhawithyalyrachphtsurasdrthani bangswnkhxngnganwicykhxngsastracary dr wichy riwtrakul idthuknaipephyaephrxxkxakasthangsthaniothrthsn BBC World phandawethiyminraykar Tomorrow s World Vision of the Future emuxeduxnemsayn pi ph s 2540 khux phlnganwicyekiywkbsar Triptolide sungmisarthimivththikhwbkhumkarecriyphnthuinephschay odythakarthdlxnginling marmoset twphu cakkarthdlxngphbwasar Triptolide epnsartwaerkthiidphankarthdsxbwaepnsarthiimkxihekidkarklayphnthu ethathiidsuksamacnthungkhnaniimphbkhwamepnphiskhxngsarnitxstwthdlxng aelamivththiidepnthinaphxic sastracary dr wichy riwtrakul miphlnganthiidrbkartiphimphephyaephrinwarsarwichakarradbnanachati canwn 116 eruxng ekhiynbthkhwamlnginhnngsuxtarawichakarradbnanachati canwn 5 eruxng cdsiththibtrradbnanachati canwn 1 eruxng phlnganwicythinaipichpraoychninechingphanichyxyangepnrupthrrmaelw khuxkarphthnasarcakiphl Zingiber cassumunar sahrbichinphlitphnthekhruxngsaxang Plaitanoids aelakarphthnasarcak Nelumbo nucifera sahrbichinphlitphnthekhruxngsaxang Lotusia epntnekhruxngrachxisriyaphrnph s 2539 ekhruxngrachxisriyaphrnxnepnthiechidchuyingchangephuxk chnsungsud mhaprmaphrnchangephuxk m p ch ph s 2534 ekhruxngrachxisriyaphrnxnmiekiyrtiysyingmngkudithy chnsungsud mhawchirmngkud m w m ph s 2549 ekhruxngrachxisriyaphrnxnepnthisrresriyyingdierkkhunaphrn chnthi 4 ctutthdierkkhunaphrn c ph ph s 2555 ehriyydusdimala ekhmsilpwithya r d m s sakhawithyasastr ph s 2539 ehriyyckrphrrdimala r c ph xangxingkrrmkarsphamhawithyalyphuthrngkhunwuthi nkwicydiednaehngchati pracapi 2548 2013 05 16 thi ewyaebkaemchchinsubkhnkhxmulemux 23 knyayn 2556 prawtikhnakrrmkarsphamhawithyaly subkhnkhxmulemux 23 knyayn 2556 rachkiccanuebksa prakassanknaykrthmntri eruxng phrarachthanekhruxngrachxisriyaphrn 2014 04 13 thi ewyaebkaemchchin elm 113 txnthi 22 kh hna 5 4 thnwakhm 2539 rachkiccanuebksa prakassanknaykrthmntri eruxng phrarachthanekhruxngrachxisriyaphrn elm 108 txnthi 208 ng chbbphiess hna 9 29 phvscikayn 2534 rachkiccanuebksa prakassanknaykrthmntri eruxng phrarachthanekhruxngrachxisriyaphrnxnepnthisrresriyyingdierkkhunaphrn pracapi 2549 elm 123 txnthi 24 kh hna 143 25 thnwakhm 2549 rachkiccanuebksa prakassanknaykrthmntri eruxng phrarachthanehriyydusdimala ekhmsilpwithya pracapi 2555 2016 03 04 thi ewyaebkaemchchin elm 130 txnthi 10 kh hna 31 26 minakhm 2556 rachkiccanuebksa prakassanknaykrthmntri eruxng phrarachthanehriyyckrmalaaelaehriyyckrphrrdimala elm 113 txnthi 25 kh hna 668 25 thnwakhm 2539