วัดแจ้งวรวิหาร ตั้งอยู่ ณ เลขที่ 23 ถนนราชดำเนิน อำเภอเมืองนครศรีธรรมราช จังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นพระอารามหลวงชั้นตรีชนิดสามัญ เป็นวัดโบราณสมัยต้นกรุงรัตนโกสินทร์
วัดแจ้งวรวิหาร | |
---|---|
ที่ตั้ง | อำเภอเมืองนครศรีธรรมราช จังหวัดนครศรีธรรมราช |
ประเภท | พระอารามหลวงชั้นตรีชนิดสามัญ |
นิกาย | มหานิกาย |
ส่วนหนึ่งของ |
ประวัติ
พ.ศ. 1835 วัดแจ้งได้สร้างมาพร้อมกับวัดประดู่พัฒนารามโดยพระมหาเถรอนุรุทธ และคณะ ซึ่งย้ายมาจากเมืองยศโสทร(จังหวัดยโสธรในปัจจุบัน) และได้เจิญรุ่งเรืองมาตามลำดับจนถึงพ.ศ. 2330
พ.ศ. 2335 ปรากฏว่าได้รกร้างอยู่ คุณชีพี่สาวของเจ้าพระยานคร(พัฒน์) ได้ศรัทธา สร้างวัดแจ้งขึ้นใหม่คู่กับคุณหญิงมารดาของเจ้าพระยานครพัฒน์ได้สร้างวัดประดู่ ฯ ขึ้นใหม่เช่นเดียวกัน จึงกล่าวกันว่า สองวัดนี้เป็นวัดแม่วัดลูกกัน ดังกล่าวมาแล้ว และถือว่าเป็นวัดสาหรับวงศ์ตระกูล ณ นคร ได้รับบารุงเป็นอย่างดีตลอดมา จัดเป็นวัดสาคัญรองจากวัดพระบรมธาตุ(พระมหาธาตุ)ในสมัยต้นกรุงรัตนโกสินทร์ เพราะในสมัยนั้นวัดพระบรมธาตุ เป็นเพียงพุทธาวาส และวัดท่าโพธิ์(เก่า)ที่ยังไม่มีความสาคัญอย่างที่เป็นอยู่ทุกวันนี้(วัดท่าโพธิ์ใหม่)ฉะนั้นจึงอาจกล่าวได้ว่าวัดสาคัญที่สุดในสังคมเมืองนครศรีธรรมราช เมื่อต้นสมัยกรุงรัตนโกสินทร์นี้ คือประมาณ 200 ปี มาแล้วได้แก่วัดแจ้งนี้เอง
- พ.ศ. 2529 เป็นพระอารามหลวงชั้นตรีชนิดสามัญ 7 พฤษภาคม 2529” ได้ระบุว่า “คุณชี” ซึ่งเป็นพี่สาวของเจ้าพระยานคร (พัฒน์) เป็นผู้สร้าง “วัดแจ้ง” คู่กับ “คุณหญิง” ซึ่งเป็นมารดาของเจ้าพระยานคร (พัฒน์)
ที่สร้าง “วัดประดู่” มูลเหตุที่สร้างเนื่องจากได้แรงใจที่เจ้าพระยานคร (พัฒน์) ได้เป็นเจ้าเมืองนครศรีธรรมราช
ก่อนนี้บริเวณที่ตั้งวัดแจ้งเป็นที่รกร้างว่างเปล่า คุณชีเห็นทำเลสวยงาม จึงได้สร้างวัดขึ้น โดยเหตุที่ตรงนี้ปกคลุมด้วยต้นไม้ใหญ่ มืดครึ้มตลอดเวลาแสงแดดส่องไม่ถึง เมื่อได้สร้างวัดขึ้นแล้ว
ความมืดครึ้มก็หายไป ความสว่างแจ้งเข้ามาแทนที่ จึงตั้งชื่อวัดอย่างง่าย ๆ ว่า “วัดแจ้ง” ประมาณ พ.ศ. ๒๓๓๕ เจ้าพระยานคร (พัฒน์) ถือว่าวัดแจ้งเป็นวัดประจำวงศ์ตระกูลโดยแท้ จึงได้รับการสนับสนุนจากเจ้าพระยานคร (พัฒน์) อย่างเต็มที่ ทำให้วัดแจ้งมีความเจริญคู่กับวัดประดู่ พระเจ้าขัตติยราชนิคม สมมติมไหศวรรย์ (เจ้านครหนู) ซึ่งเป็นพ่อตาของเจ้าพระยานคร (พัฒน์) ได้วายชนม์ที่กรุงเทพ ฯ และในเวลาอันไม่นาน “หม่อมทองเหนี่ยว” ชายาก็วายชนม์ตามไป เจ้าพระยานคร (พัฒน์) กับคุณหญิงชุ่มได้ทำการปลงศพแล้วนำอัฐิมาบรรจุไว้ในเจดีย์ประดิษฐานไว้ในตึก ซึ่งเรียกกันทั่วไปว่า “ตึกกษัตริย์” อยู่ในบริเวณวัดแจ้ง เจดีย์องค์ตะวันตกมีลักษณะเป็นยอดเรียวแหลม ฝีมือช่างนครโดยแท้ ประณีตสวยงามมาก เป็นที่บรรจุอัฐิของ “กษัตริย์นคร” คือพระเจ้าขัตติราชนิคม สมมติมไหศวรรย์ (เจ้านครหนู) ส่วนเจดีย์อีกองค์หนึ่งอยู่ทางทิศตะวันออกเคียงคู่กัน เป็นที่บรรจุอัฐิของ “หม่อมทองเหนี่ยว” บุตรีของจีนปาด เศรษฐีของเมืองนครศรีธรรมราช ภริยาของเจ้านครหนู ยอดเจดีย์เป็นรูปดอกบัวมีสีสันและความประณีตตระการตา เจดีย์คู่นี้สร้างไว้โดยเจ้าพระยานคร (พัฒน์) และคุณหญิงชุ่ม เมื่อประมาณ พ.ศ. ๒๔๔๐ นอกจาก “ตึกกษัตริย์” แล้ว ก็ยังมี “ตึกมหาอุด” ตั้งอยู่กลางสระน้ำ ขณะนี้ยังเหลือแต่ฐานกว้าง ๓ วา ยาว ๖ วา บั้นไดด้านข้างได้หายไป ยังมีแต่บันไดด้านหน้า ๒ ข้าง (ทำขึ้นใหม่) อุโบสถมหาอุดนี้สร้างโดยเจ้าพระยานคร (น้อย) ใช้เป็นสถานที่สร้างและปลุกเสกเครื่องรางของขลังให้ทหารนำไปใช้ในราชการทัพ ซึ่งจำกันได้ว่าเจ้าพระยานคร (น้อย) เป็นขุนศึกคนสำคัญคนหนึ่งต้องออกไปปราบกบฏในดินแดนแหลมมลายูที่เป็นขอบขัณฑสีมาของไทย โดยเฉพาะใน พ.ศ. ๒๓๖๔ ในรัชกาลที่ ๒ นั้น เจ้าพระยานคร (น้อย) ได้ไปตีเมืองไทรบุรีได้ การทำตึกมหาอุดเพื่อสร้างและปลุกเสกเครื่องรางของขลังจึงเป็นการจำเป็นทางด้านจิตใจในสมัยนั้นมาก
สิ่งก่อสร้างอีกอย่างหนึ่ง ซึ่งเจ้าพระยานคร (น้อย) ได้สร้างขึ้นไว้ที่วัดแจ้งคือ เจดีย์องค์แรก สร้างไว้ทางทิศใต้ของโบสถ์มหาอุดอยู่ในที่ดอน เป็นที่บรรจุอัฐิของบุตรีสุดท้องของเจ้าพระยานคร (น้อย) ซึ่งเกิดแต่ท่านผู้หญิงอิน เป็นเชื้อเจ้ามาจากกรุงเทพ ฯ โดยพระบาทสมเด็จสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเรียกกว่า “พี่อิน” บุตรีสุดที่รักนี้ ชื่อ “คุณหญิงน้อย” อยู่เมืองนครศรีธรรมราชเป็นประจำไม่ได้ไปทำราชการที่กรุงเทพ ฯ เหมือนธิดาที่เกิดจากภริยาอื่น ๆ จึงเป็นธิดารับใช้ใกล้ชิดบิดา เมื่อถึงแก่กรรมลงเจ้าพระยานคร (น้อย) บิดา จึงก่อสร้างเจดีย์บรรจุอัฐิไว้ ส่วนเจดีย์อีกองค์หนึ่งเป็นที่บรรจุอัฐิของ “พระยาบริรักษ์ภูธร (แสง)” ซึ่งเกิดแต่ภริยาอื่น เป็นบุตรหัวปีเป็นที่โปรดปรานของเจ้าพระยานคร (น้อย) มาก เพราะเคยร่วมรบทัพจับศึกกันมาแต่เด็ก ๆ จนได้เป็นพระยาไทรบุรีและมาเป็นพระยาพังงา เจดีย์องค์นี้ตั้งอยู่ใกล้ชิดกับอุโบสถมหาอุดทางทิศใต้ แต่อยู่ใกล้ชิดกว่าองค์เจดีย์แรกที่กล่าวแล้ว ขณะนี้เจดีย์ทั้งสององค์ชำรุดเกือบเหลือแต่ฐาน
ปัจจุบันในวัดแจ้ง ได้มีกุฏิและเสนาสนะเกิดขึ้นใหม่อีกหลายหลัง ได้พัฒนาสระน้ำ ได้ขยายรั้วเดิมซึ่งสร้างไว้แต่สมัยเจ้านคร (พัฒน์) ให้ออกไปจนจดกับเขตถนนราชดำเนินทางทิศตะวันตก เป็นรั้วแนวเดียวกับวัดประดู่ นอกจากนั้นได้สร้าง “วิทยาลัยสงฆ์ภาคทักษิณ” ขึ้นที่วัดนี้ นับว่าเป็นสถาบันชั้นสูงของคณะสงฆ์ที่อยู่ในระดับวิทยาลัยแห่งแรกในภาคใต้
วัดแจ้งนอกจากจะเป็นวัดที่เจ้าเมืองนคร คือต้นตระกูล “ณ นคร” ปฏิสังขรณ์และทำนุบำรุงตลอดมาแล้ว เมื่อคราวสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี (ตากสินมหาราช) เสด็จมาปราบชุมนุมเจ้านคร ได้ทรงประกอบพิธีปลุกเสกวัตถุมงคลเพื่อความศักดิ์สิทธิ์ใช้ในกิจการทหารที่อุโบสถวัดแจ้งนี้ (โบสถ์มหาอุด) มีเก๋งเก็บบรมอัฐิพระเจ้าตากสิน และเก๋งเก็บอัฐิของเจ้าพระยานคร (หนู) กับหม่อมทองเหนี่ยว ผู้เป็นมเหสี ซึ่งมีเจดีย์ ๒ องค์อยู่ในตึกนี้อยู่ด้วย (ตึกกษัตริย์) จึงนับว่าเป็นวัดประวัติศาสตร์ที่มีความสำคัญมาแต่โบราณ
อาณาบริเวณวัดแจ้งวรวิหาร
- มีเนื้อที่ ๑๗ ไร่ ๕ ๑/๑๐ วา
- มีกำแพงคอนกรีตถาวรล้อมรอบ และมีประตูใหญ่ทิศละประตู
- ทิศตะวันออกจรดถนนหลังวัดแจ้ง เป็นด้านหลังวัด ต่อออกไปเป็นหมู่บ้านคนอยู่แน่นหนา
- ทิศใต้จรดวัดประดู่พัฒนาราม (เป็นวัดสร้างมาสมัยเดียวกันแบบวัดแม่วัดลูกซึ่งจะกล่าวต่อไป)
- ทิศตะวันตกจรดถนนราชดำเนิน (นคร – ท่าแพ) เป็นด้านหน้าวัด ถัดเป็นโรงเรียนศรีธรรมราชศึกษา (คริสต์)
- ทิศเหนือจรดถนนวัดแจ้ง (พัฒนาการ) ถัดเป็นวิทยาลัยเทคนิคนครศรีธรรมราช
- เป็นที่ตั้งมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช ในพระบรมราชูปถัมภ์ วิทยาเขตนครศรีธรรมราช ซึ่งเป็นวิทยาเขตหนึ่งของมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร
- เป็นที่ตั้งสำนักเรียนพระปริยัติธรรมตัวอย่าง ของกรมการศาสนา กระทรวงศึกษาธิการ (นักธรรม – บาลี)
- เป็นที่ตั้งโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษา ของกรมการศาสนา กระทรวงศึกษาธิการ
- เป็นที่ตั้งโรงเรียนการศึกษาผู้ใหญ่ สำหรับฆราวาส
- เป็นที่ตั้งโรงเรียนพุทธศาสนาวันอาทิตย์ วิทยาลัยสงฆ์ภาคทักษิณ
- เป็นที่ตั้งสำนักงานมูลนิธิวิทยาลัยสงฆ์ภาคทักษิณ
- เป็นที่ตั้งศูนย์วัฒนธรรมเคลื่อนที่ภาคใต้ วิทยาลัยสงฆ์ภาคทักษิณ
- เป็นสถานที่บวชและฝึกอบรมสามเณรภาคฤดูร้อน
- เป็นสำนักเรียนตัวอย่างดีเด่น
สถานะในอดีต
วัดแจ้ง ได้ชื่อว่า วัดแจ้งมาตลอด ไม่มีการเปลี่ยนแปลง ทั้งชาวบ้าน และทางราชการเรียกตรงกัน เหมือนกับเป็นอนุสรณ์พระราชวังพระเจ้ากรุงธนบุรี คือ ทางทิศเหนือมีวัดแจ้ง (วัดอรุณราชวราราม) เท่ากับวัดแจ้งเมืองนครศรีธรรมราชนี้ และมีวัดโมลีโลกยารามอยู่ทางทิศใต้ เท่ากับวัดชะเมา (วัดเมาลีหรือโมลี) โดยวัดประดู่ (พัฒนาราม) อยู่ตรงกลางเท่ากับพระราชวัง ฯ และดอกประดู่เป็นสัญลักษณ์ของทหารเรือในปัจจุบัน
ปูชนียสถานและปูชนียวัตถุ ภายในวัด
'ตึกกษัตริย์'หรือเก็งจีนเจ้าพระยานคร อยู่ท่ามกลางวัดแจ้ง เป็นที่บรรจุอัฐิเจ้าพระยานคร และหม่อมทองเหนี่ยว ซึ่งมีเจดีย์ ๒ องค์ อยู่ในตึกนี้ มีลักษณะประณีต สวยงามมาก เป็นฝีมือช่างเมืองนครแท้ ซึ่งเจ้าพระยานคร (พัฒน์) ได้สร้างขึ้นไว้เมื่อประมาณ พ.ศ. ๒๔๔๐ และตึกชนิดเดียวกันนี้ อยู่ในเขตวัดประดู่ ฯ เป็นที่บรรจุอัฐิพระเจ้าตากสิน และเจ้าพระยานคร (น้อย) (ราชโอรสของพระเจ้าตากสิน) สร้างโดยเจ้าพระยานคร (น้อยกลาง) (บุตรเจ้าพระยานครน้อย) เมื่อ พ.ศ. ๒๓๘๕
- ปัจจุบัน ทางหน่วยศิลปากร นครศรีธรรมราช ได้ขึ้นทะเบียนไว้ และบูรณะปฏิสังขรณ์เป็นสถานที่ที่นักท่องเที่ยวควรไปทัศนศึกษาแห่งหนึ่งด้วย และยังมีสถานที่เก็บอัฐิบริวารและเครือญาติของเจ้าพระยานคร ฯ อีกเป็นจำนวนมากอยู่รอบนอกตึกกษัตริย์
- โบสถ์มหาอุด ตั้งอยู่กลางสระน้ำ ขณะนี้ได้ทำการก่อสร้างใหม่เป็นที่เรียบร้อยแล้ว ใช้เป็นสถานที่สร้าง และปลุกเสกเครื่องรางของขลัง ที่ทหารนิยมใช้ในราชการทัพ ซึ่งเป็นที่จำกันได้ดีว่าเจ้าพระยานคร (น้อย) นั้น เป็นขุนศึกคนสำคัญของประเทศไทยทางภาคใต้ และนอกจากที่วัดแจ้งนี้แล้ว โบสถ์มหาอุดยังมีที่วัดเขาขุนพนม อำเภอพรหมคีรี และที่วัดกำแพงถม อำเภอเมืองนครศรีธรรมราช ซึ่งยังรูปร่างเป็นโบสถ์สมบูรณ์กว่าที่วัดแจ้ง
- พระพุทธรูปทองสัมฤทธิ์ ปางสมาธิ ขนาด ๒๐ นิ้ว สมัยกรุงศรีอยุธยาตอนต้น ซึ่งเมื่อพอกปูนซีเมนต์หุ้มไว้ ค้นพบและกระเทาะออกเมื่อ พ.ศ. ๒๕๑๓ ตอนตั้งวิทยาลัยสงฆ์ภาคทักษิณ ทางหน่วยศิลปากรนครศรีธรรมราชได้ขึ้นทะเบียนไว้แล้ว
- พระพุทธรูป ปางมารวิชัย ขนาด ๕๒ นิ้ว (ทองเหลือง)
- พระพุทธรูป ปางปฐมเทศนา ขนาด ๓๖ นิ้ว (ทองเหลือง) และพระพุทธรูปปางต่าง ๆ นั่งบ้าง ยืนบ้าง หลายรูป
การเดินทาง
วัดแจ้งอยู่ใกล้กับโรงเรียนศรีธรรมราชศึกษาแล้วอยู่ติดกับวัดประดู่พัฒนาราม เดินทางโดยใช้เส้นทางถนนราชดาเนิน มุ่งหน้าไปทางฝั่งสนามกีฬานครศรีธรรมราช ขับเลยวัดชะเมาไปก็จะเจอวัดประดู่พัฒนารามอยู่ทางด้านขวามือ และวัดแจ้งจะอยู่ถัดไปจากวัดประดู่พัฒนาราม
เจ้าอาวาส
แต่เดิมไม่ปรากฏหลักฐานว่ามีผู้ใดดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาส เมื่อได้รับการบูรณะปฏิสังขรณ์แล้ว จึงได้นิมนต์พระเทพปัญญาสุธี (พร้อม โกวิโท) มาดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสรูปแรก ปัจจุบันมีพระสิริรัตนาภรณ์ (พิษณุ รตนโอภาโส) เป็นเจ้าอาวาส
อ้างอิง
- ตามหนังสือ “พงศาวดารเมืองนครศรีธรรมราช
- ที่มา หนังสือพระกฐินพระราชทาน มหาวิทยาลัยรามคำแหง พุทธศักราช ๒๕๔๐ ทอด ณ วัดแจ้ง จังหวัดนครศรีธรรมราช ๙ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๐
- ที่มา เฉลียว เรืองเดช สารานุกรมวัฒนธรรมภาคใต้ พ.ศ. ๒๕๒๙ เล่ม ๒ สงขลา : สถาบันทักษิณคดีศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ สงขลา, ๒๕๒๙ หน้า ๘๖๓
- หนังสือ "พงศาวดารเมืองนครศรีธรรมราช"
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
wdaecngwrwihar tngxyu n elkhthi 23 thnnrachdaenin xaephxemuxngnkhrsrithrrmrach cnghwdnkhrsrithrrmrach epnphraxaramhlwngchntrichnidsamy epnwdobransmytnkrungrtnoksinthrwdaecngwrwiharthitngxaephxemuxngnkhrsrithrrmrach cnghwdnkhrsrithrrmrachpraephthphraxaramhlwngchntrichnidsamynikaymhanikayswnhnungkhxngsaranukrmphraphuththsasnaprawtiph s 1835 wdaecngidsrangmaphrxmkbwdpraduphthnaramodyphramhaethrxnuruthth aelakhna sungyaymacakemuxngysosthr cnghwdyosthrinpccubn aelaideciyrungeruxngmatamladbcnthungph s 2330 ph s 2335 praktwaidrkrangxyu khunchiphisawkhxngecaphrayankhr phthn idsrththa srangwdaecngkhunihmkhukbkhunhyingmardakhxngecaphrayankhrphthnidsrangwdpradu khunihmechnediywkn cungklawknwa sxngwdniepnwdaemwdlukkn dngklawmaaelw aelathuxwaepnwdsahrbwngstrakul n nkhr idrbbarungepnxyangditlxdma cdepnwdsakhyrxngcakwdphrabrmthatu phramhathatu insmytnkrungrtnoksinthr ephraainsmynnwdphrabrmthatu epnephiyngphuththawas aelawdthaophthi eka thiyngimmikhwamsakhyxyangthiepnxyuthukwnni wdthaophthiihm channcungxacklawidwawdsakhythisudinsngkhmemuxngnkhrsrithrrmrach emuxtnsmykrungrtnoksinthrni khuxpraman 200 pi maaelwidaekwdaecngniexng ph s 2529 epnphraxaramhlwngchntrichnidsamy 7 phvsphakhm 2529 idrabuwa khunchi sungepnphisawkhxngecaphrayankhr phthn epnphusrang wdaecng khukb khunhying sungepnmardakhxngecaphrayankhr phthn thisrang wdpradu mulehtuthisrangenuxngcakidaerngicthiecaphrayankhr phthn idepnecaemuxngnkhrsrithrrmrach kxnnibriewnthitngwdaecngepnthirkrangwangepla khunchiehnthaelswyngam cungidsrangwdkhun odyehtuthitrngnipkkhlumdwytnimihy mudkhrumtlxdewlaaesngaeddsxngimthung emuxidsrangwdkhunaelw khwammudkhrumkhayip khwamswangaecngekhamaaethnthi cungtngchuxwdxyangngay wa wdaecng praman ph s 2335 ecaphrayankhr phthn thuxwawdaecngepnwdpracawngstrakulodyaeth cungidrbkarsnbsnuncakecaphrayankhr phthn xyangetmthi thaihwdaecngmikhwamecriykhukbwdpradu phraecakhttiyrachnikhm smmtimihswrry ecankhrhnu sungepnphxtakhxngecaphrayankhr phthn idwaychnmthikrungethph aelainewlaxnimnan hmxmthxngehniyw chayakwaychnmtamip ecaphrayankhr phthn kbkhunhyingchumidthakarplngsphaelwnaxthimabrrcuiwinecdiypradisthaniwintuk sungeriykknthwipwa tukkstriy xyuinbriewnwdaecng ecdiyxngkhtawntkmilksnaepnyxderiywaehlm fimuxchangnkhrodyaeth pranitswyngammak epnthibrrcuxthikhxng kstriynkhr khuxphraecakhttirachnikhm smmtimihswrry ecankhrhnu swnecdiyxikxngkhhnungxyuthangthistawnxxkekhiyngkhukn epnthibrrcuxthikhxng hmxmthxngehniyw butrikhxngcinpad esrsthikhxngemuxngnkhrsrithrrmrach phriyakhxngecankhrhnu yxdecdiyepnrupdxkbwmisisnaelakhwampranittrakarta ecdiykhunisrangiwodyecaphrayankhr phthn aelakhunhyingchum emuxpraman ph s 2440 nxkcak tukkstriy aelw kyngmi tukmhaxud tngxyuklangsrana khnaniyngehluxaetthankwang 3 wa yaw 6 wa bniddankhangidhayip yngmiaetbniddanhna 2 khang thakhunihm xuobsthmhaxudnisrangodyecaphrayankhr nxy ichepnsthanthisrangaelaplukeskekhruxngrangkhxngkhlngihthharnaipichinrachkarthph sungcaknidwaecaphrayankhr nxy epnkhunsukkhnsakhykhnhnungtxngxxkipprabkbtindinaednaehlmmlayuthiepnkhxbkhnthsimakhxngithy odyechphaain ph s 2364 inrchkalthi 2 nn ecaphrayankhr nxy idiptiemuxngithrburiid karthatukmhaxudephuxsrangaelaplukeskekhruxngrangkhxngkhlngcungepnkarcaepnthangdanciticinsmynnmak singkxsrangxikxyanghnung sungecaphrayankhr nxy idsrangkhuniwthiwdaecngkhux ecdiyxngkhaerk srangiwthangthisitkhxngobsthmhaxudxyuinthidxn epnthibrrcuxthikhxngbutrisudthxngkhxngecaphrayankhr nxy sungekidaetthanphuhyingxin epnechuxecamacakkrungethph odyphrabathsmedcsmedcphranngeklaecaxyuhw thrngeriykkwa phixin butrisudthirkni chux khunhyingnxy xyuemuxngnkhrsrithrrmrachepnpracaimidiptharachkarthikrungethph ehmuxnthidathiekidcakphriyaxun cungepnthidarbichiklchidbida emuxthungaekkrrmlngecaphrayankhr nxy bida cungkxsrangecdiybrrcuxthiiw swnecdiyxikxngkhhnungepnthibrrcuxthikhxng phrayabrirksphuthr aesng sungekidaetphriyaxun epnbutrhwpiepnthioprdprankhxngecaphrayankhr nxy mak ephraaekhyrwmrbthphcbsukknmaaetedk cnidepnphrayaithrburiaelamaepnphrayaphngnga ecdiyxngkhnitngxyuiklchidkbxuobsthmhaxudthangthisit aetxyuiklchidkwaxngkhecdiyaerkthiklawaelw khnaniecdiythngsxngxngkhcharudekuxbehluxaetthan pccubninwdaecng idmikutiaelaesnasnaekidkhunihmxikhlayhlng idphthnasrana idkhyayrwedimsungsrangiwaetsmyecankhr phthn ihxxkipcncdkbekhtthnnrachdaeninthangthistawntk epnrwaenwediywkbwdpradu nxkcaknnidsrang withyalysngkhphakhthksin khunthiwdni nbwaepnsthabnchnsungkhxngkhnasngkhthixyuinradbwithyalyaehngaerkinphakhit wdaecngnxkcakcaepnwdthiecaemuxngnkhr khuxtntrakul n nkhr ptisngkhrnaelathanubarungtlxdmaaelw emuxkhrawsmedcphraecakrungthnburi taksinmharach esdcmaprabchumnumecankhr idthrngprakxbphithiplukeskwtthumngkhlephuxkhwamskdisiththiichinkickarthharthixuobsthwdaecngni obsthmhaxud miekngekbbrmxthiphraecataksin aelaekngekbxthikhxngecaphrayankhr hnu kbhmxmthxngehniyw phuepnmehsi sungmiecdiy 2 xngkhxyuintuknixyudwy tukkstriy cungnbwaepnwdprawtisastrthimikhwamsakhymaaetobranxanabriewnwdaecngwrwiharmienuxthi 17 ir 5 1 10 wa mikaaephngkhxnkritthawrlxmrxb aelamipratuihythislapratu thistawnxxkcrdthnnhlngwdaecng epndanhlngwd txxxkipepnhmubankhnxyuaennhna thisitcrdwdpraduphthnaram epnwdsrangmasmyediywknaebbwdaemwdluksungcaklawtxip thistawntkcrdthnnrachdaenin nkhr thaaeph epndanhnawd thdepnorngeriynsrithrrmrachsuksa khrist thisehnuxcrdthnnwdaecng phthnakar thdepnwithyalyethkhnikhnkhrsrithrrmrach epnthitngmhawithyalymhaculalngkrnrachwithyaly withyaekhtnkhrsrithrrmrach inphrabrmrachupthmph withyaekhtnkhrsrithrrmrach sungepnwithyaekhthnungkhxngmhaculalngkrnrachwithyaly krungethphmhankhr epnthitngsankeriynphrapriytithrrmtwxyang khxngkrmkarsasna krathrwngsuksathikar nkthrrm bali epnthitngorngeriynphrapriytithrrmaephnksamysuksa khxngkrmkarsasna krathrwngsuksathikar epnthitngorngeriynkarsuksaphuihy sahrbkhrawas epnthitngorngeriynphuththsasnawnxathity withyalysngkhphakhthksin epnthitngsanknganmulnithiwithyalysngkhphakhthksin epnthitngsunywthnthrrmekhluxnthiphakhit withyalysngkhphakhthksin epnsthanthibwchaelafukxbrmsamenrphakhvdurxn epnsankeriyntwxyangdiednsthanainxditwdaecng idchuxwa wdaecngmatlxd immikarepliynaeplng thngchawban aelathangrachkareriyktrngkn ehmuxnkbepnxnusrnphrarachwngphraecakrungthnburi khux thangthisehnuxmiwdaecng wdxrunrachwraram ethakbwdaecngemuxngnkhrsrithrrmrachni aelamiwdomliolkyaramxyuthangthisit ethakbwdchaema wdemalihruxomli odywdpradu phthnaram xyutrngklangethakbphrarachwng aeladxkpraduepnsylksnkhxngthhareruxinpccubnpuchniysthanaelapuchniywtthu phayinwd tukkstriy hruxekngcinecaphrayankhr xyuthamklangwdaecng epnthibrrcuxthiecaphrayankhr aelahmxmthxngehniyw sungmiecdiy 2 xngkh xyuintukni milksnapranit swyngammak epnfimuxchangemuxngnkhraeth sungecaphrayankhr phthn idsrangkhuniwemuxpraman ph s 2440 aelatukchnidediywknni xyuinekhtwdpradu epnthibrrcuxthiphraecataksin aelaecaphrayankhr nxy rachoxrskhxngphraecataksin srangodyecaphrayankhr nxyklang butrecaphrayankhrnxy emux ph s 2385 pccubn thanghnwysilpakr nkhrsrithrrmrach idkhunthaebiyniw aelaburnaptisngkhrnepnsthanthithinkthxngethiywkhwripthsnsuksaaehnghnungdwy aelayngmisthanthiekbxthibriwaraelaekhruxyatikhxngecaphrayankhr xikepncanwnmakxyurxbnxktukkstriy obsthmhaxud tngxyuklangsrana khnaniidthakarkxsrangihmepnthieriybrxyaelw ichepnsthanthisrang aelaplukeskekhruxngrangkhxngkhlng thithharniymichinrachkarthph sungepnthicakniddiwaecaphrayankhr nxy nn epnkhunsukkhnsakhykhxngpraethsithythangphakhit aelanxkcakthiwdaecngniaelw obsthmhaxudyngmithiwdekhakhunphnm xaephxphrhmkhiri aelathiwdkaaephngthm xaephxemuxngnkhrsrithrrmrach sungyngruprangepnobsthsmburnkwathiwdaecng phraphuththrupthxngsmvththi pangsmathi khnad 20 niw smykrungsrixyuthyatxntn sungemuxphxkpunsiemnthumiw khnphbaelakraethaaxxkemux ph s 2513 txntngwithyalysngkhphakhthksin thanghnwysilpakrnkhrsrithrrmrachidkhunthaebiyniwaelw phraphuththrup pangmarwichy khnad 52 niw thxngehluxng phraphuththrup pangpthmethsna khnad 36 niw thxngehluxng aelaphraphuththruppangtang nngbang yunbang hlayrupkaredinthangwdaecngxyuiklkborngeriynsrithrrmrachsuksaaelwxyutidkbwdpraduphthnaram edinthangodyichesnthangthnnrachdaenin munghnaipthangfngsnamkilankhrsrithrrmrach khbelywdchaemaipkcaecxwdpraduphthnaramxyuthangdankhwamux aelawdaecngcaxyuthdipcakwdpraduphthnaramecaxawasaetedimimprakthlkthanwamiphuiddarngtaaehnngecaxawas emuxidrbkarburnaptisngkhrnaelw cungidnimntphraethphpyyasuthi phrxm okwioth madarngtaaehnngecaxawasrupaerk pccubnmiphrasirirtnaphrn phisnu rtnoxphaos epnecaxawasxangxingtamhnngsux phngsawdaremuxngnkhrsrithrrmrach thima hnngsuxphrakthinphrarachthan mhawithyalyramkhaaehng phuththskrach 2540 thxd n wdaecng cnghwdnkhrsrithrrmrach 9 phvscikayn ph s 2540 thima echliyw eruxngedch saranukrmwthnthrrmphakhit ph s 2529 elm 2 sngkhla sthabnthksinkhdisuksa mhawithyalysrinkhrinthrwiorth sngkhla 2529 hna 863 hnngsux phngsawdaremuxngnkhrsrithrrmrach