ลิงอ้ายเงียะ | |
---|---|
ลิงอ้ายเงียะตัวผู้ | |
สถานะการอนุรักษ์ | |
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ | |
อาณาจักร: | Animalia |
ไฟลัม: | Chordata |
ชั้น: | Mammalia |
อันดับ: | Primates |
วงศ์: | Cercopithecidae |
สกุล: | Macaca |
สปีชีส์: | M. assamensis |
สปีชีส์ย่อย: |
|
ชื่อทวินาม | |
Macaca assamensis (, 1840) | |
แผนที่แสดงการกระจายพันธุ์ |
ลิงอ้ายเงียะ, ลิงอัสสัม หรือ ลิงภูเขา (อังกฤษ: Assam macaque; ชื่อวิทยาศาสตร์: Macaca assamensis) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิดหนึ่งที่อยู่ในอันดับวานร (ไพรเมต) มีรูปร่างอ้วนเทอะทะ แขนและขาสั้น ขนตามลำตัวมีสีเหลืองปนเทา บางตัวอาจมีสีเข้มมากจนดูคล้ายสีน้ำตาลดำ ส่วนหัวไหล่ ศีรษะ และแขนจะมีสีอ่อนกว่าสีขนบริเวณอื่น ๆ ของร่างกาย ขนบริเวณหัวและหางมักมีสีเทา ขนที่ไหล่มีความยาวมากกว่า 8.5 เซนติเมตร ในบางฤดูกาลผิวหนังใต้ขนจะเปลี่ยนเป็นสีเทาอมฟ้า มีความยาวลำตัวและหางรวม 51-63.5 เซนติเมตร ความยาวหาง 20-38 เซนติเมตร น้ำหนัก 5-10 กิโลกรัม
มักอาศัยในป่าบนภูเขาสูงหรือตามที่ราบสูงซึ่งมีความสูงจากระดับน้ำทะเลประมาณ 500-3,500 เมตร ใช้เวลาส่วนใหญ่อยู่บนต้นไม้ซึ่งมีเรือนยอดไม้สูงจากพื้นดินประมาณ 10-15 เมตร จากการศึกษาพบว่ามักอาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูงเล็ก ๆ โดยฝูงหนึ่งมีสมาชิกประมาณ 40- 60 ตัว ในระหว่างการหากินจะมีสมาชิกบางตัวทำหน้าที่ระวังภัยให้ฝูง โดยจะนั่งสังเกตการณ์อยู่บนต้นไม้ซึ่งสูงที่สุด และหากมีอันตรายเข้ามาใกล้จะส่งเสียงร้องเตือนให้หลบหนี โดยจะร้องเสียงดัง "ปิ้ว" ลิงอ้ายเงียะจัดเป็นลิงนิสัยดุร้าย สามารถกระดิกหางได้เหมือนสุนัข เริ่มผสมพันธุ์ได้เมื่อมีอายุ 3-4 ปี ระยะตั้งท้องนาน 5-6 เดือน ออกลูกครั้งละ 1 ตัว ในระหว่างเดือนเมษายน-มิถุนายน กินอาหารประกอบไปด้วย ผลไม้ ยอดไม้อ่อน แมลง และสัตว์เลื้อยคลานจำพวกกิ้งก่า เป็นต้น
มีการกระจายพันธุ์พบในเนปาล ภูฏาน สิกขิมและรัฐอัสสัมของอินเดีย ภาคใต้ของจีน ภาคเหนือของพม่า ภาคเหนือของเวียดนาม ภาคตะวันตกและภาคอีสานของไทย แบ่งเป็นชนิดย่อย 2 ชนิดได้แก่ ลิงอ้ายเงียะตะวันออก (M. a. assamensis) และลิงอ้ายเงียะตะวันตก (M. a. pelops) ซึ่งแบ่งตามสองฝั่งของแม่น้ำพรหมบุตร
ลิงอ้ายเงียะในประเทศไทย ปัจจุบันนี้พบได้เพียง 9 แห่งเท่านั้น ได้แก่ วัดถ้ำปลา และวัดถ้ำผาแลนิภาราม จ.เชียงราย, บ้านป่าไม้ จ.เชียงใหม่, เขตห้ามล่าสัตว์ป่าถ้ำผาท่าพล จ.พิษณุโลก, อุทยานแห่งชาติน้ำตกคลองลาน จ.กำแพงเพชร, เขตรักษาพันธ์ป่าอุ้มผาง จ.ตาก, อุทยานแห่งชาติภูเขียว จ.ชัยภูมิ, เขื่อนเขาแหลม และ อุทยานแห่งชาติน้ำตกเอราวัณ จ.กาญจนบุรี และยังมีข้อมูลว่าพบที่อุทยานแห่งชาติถ้ำผาไท จ.ลำปางอีกด้วยซึ่งถือว่าน้อยมาก ปัจจุบัน เป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง ตาม
อ้างอิง
- บัญชีรายชื่อสัตว์ป่าคุ้มครอง 2546, มูลนิธิสืบนาคะเสถียร
- ศูนย์วิจัยไพรเมท จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
แหล่งข้อมูลอื่น
ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ Macaca assamensis ที่วิกิสปีชีส์
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
lingxayengiyalingxayengiyatwphusthanakarxnurksiklthukkhukkham IUCN 2 3 karcaaenkchnthangwithyasastrxanackr Animaliaiflm Chordatachn Mammaliaxndb Primateswngs Cercopithecidaeskul Macacaspichis M assamensisspichisyxy M a assamensis M a pelopschuxthwinamMacaca assamensis 1840 aephnthiaesdngkarkracayphnthu lingxayengiya lingxssm hrux lingphuekha xngkvs Assam macaque chuxwithyasastr Macaca assamensis epnstweliynglukdwynmchnidhnungthixyuinxndbwanr iphremt miruprangxwnethxatha aekhnaelakhasn khntamlatwmisiehluxngpnetha bangtwxacmisiekhmmakcndukhlaysinatalda swnhwihl sirsa aelaaekhncamisixxnkwasikhnbriewnxun khxngrangkay khnbriewnhwaelahangmkmisietha khnthiihlmikhwamyawmakkwa 8 5 esntiemtr inbangvdukalphiwhnngitkhncaepliynepnsiethaxmfa mikhwamyawlatwaelahangrwm 51 63 5 esntiemtr khwamyawhang 20 38 esntiemtr nahnk 5 10 kiolkrm mkxasyinpabnphuekhasunghruxtamthirabsungsungmikhwamsungcakradbnathaelpraman 500 3 500 emtr ichewlaswnihyxyubntnimsungmieruxnyxdimsungcakphundinpraman 10 15 emtr cakkarsuksaphbwamkxasyxyurwmknepnfungelk odyfunghnungmismachikpraman 40 60 tw inrahwangkarhakincamismachikbangtwthahnathirawngphyihfung odycanngsngektkarnxyubntnimsungsungthisud aelahakmixntrayekhamaiklcasngesiyngrxngetuxnihhlbhni odycarxngesiyngdng piw lingxayengiyacdepnlingnisyduray samarthkradikhangidehmuxnsunkh erimphsmphnthuidemuxmixayu 3 4 pi rayatngthxngnan 5 6 eduxn xxklukkhrngla 1 tw inrahwangeduxnemsayn mithunayn kinxaharprakxbipdwy phlim yxdimxxn aemlng aelastweluxykhlancaphwkkingka epntn mikarkracayphnthuphbinenpal phutan sikkhimaelarthxssmkhxngxinediy phakhitkhxngcin phakhehnuxkhxngphma phakhehnuxkhxngewiydnam phakhtawntkaelaphakhxisankhxngithy aebngepnchnidyxy 2 chnididaek lingxayengiyatawnxxk M a assamensis aelalingxayengiyatawntk M a pelops sungaebngtamsxngfngkhxngaemnaphrhmbutr lingxayengiyainpraethsithy pccubnniphbidephiyng 9 aehngethann idaek wdthapla aelawdthaphaaelnipharam c echiyngray banpaim c echiyngihm ekhthamlastwpathaphathaphl c phisnuolk xuthyanaehngchatinatkkhlxnglan c kaaephngephchr ekhtrksaphnthpaxumphang c tak xuthyanaehngchatiphuekhiyw c chyphumi ekhuxnekhaaehlm aela xuthyanaehngchatinatkexrawn c kaycnburi aelayngmikhxmulwaphbthixuthyanaehngchatithaphaith c lapangxikdwysungthuxwanxymak pccubn epnstwpakhumkhrxng tamxangxingbychiraychuxstwpakhumkhrxng 2546 mulnithisubnakhaesthiyr sunywicyiphremth culalngkrnmhawithyalyaehlngkhxmulxunwikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb Macaca assamensis khxmulthiekiywkhxngkb Macaca assamensis thiwikispichis