ลำดับคุณค่าของศิลปะ (อังกฤษ: hierarchy of genres) เป็นการจัดประเภทของงานศิลปะ (genre) ตามระดับความสำคัญทางคุณค่าที่วางไว้อย่างเป็นทางการ
ในทางวรรณกรรม มหากาพย์ได้รับการยกย่องว่าเป็นงานที่มีระดับคุณค่าสูงที่สุดในบรรดานักวิพากษ์วรรณกรรม ตามเหตุผลของซามูเอล จอห์นสัน ที่บรรยายใน ชีวิตของจอห์น มิลตัน ว่า: "ตามความเห็นที่พ้องกันของนักวิพากษ์, งานที่สมควรแก่การสรรเสริญในคุณค่าคืองานของนักเขียนผู้เขียนมหากาพย์, เพราการเขียนมหากาพย์ผู้เขียนต้องรวบรวมพลานุภาพทุกด้านที่แต่ละด้านเพียงพอสำหรับสร้างงานเขียนแต่ละชนิด"
การจัดลำดับที่ทราบกันดีที่สุดในงานจิตรกรรมคือมาตรฐานที่สร้างขึ้นโดยสถาบันในยุโรประหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 17 จนถึงสมัยใหม่ ระดับต่างๆ ที่จัดขึ้นสำหรับประเภทของงานศิลปะต่างๆ ได้รับการสนับสนุนโดยราชสถาบันแห่งจิตรกรรมและประติมากรรมแห่งฝรั่งเศสซึ่งเป็นผู้นำในศิลปะสถาบัน
การโต้เถียงที่เกี่ยวกับความงามของจิตรกรรมที่ยังคงเป็นที่นิยมกันมาตั้งแต่ยุคฟื้นฟูศิลปวิทยายังคงเน้นความสำคัญของอุปมานิทัศน์; การใช้องค์ประกอบในงานจิตรกรรมเช่นเส้น และ สีในการสื่อความหมายที่เป็นหัวใจของภาพ ฉะนั้นจึงเป็นสิ่งที่ใช้กันในงานศิลปะ โดยที่รูปทรงตามธรรมชาติเป็นสิ่งที่เห็นโดยทั่วไป ฉะนั้นจึงเป็นรองจากความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของงานศิลปะ ที่มีจุดประสงค์ในการแสวงหาสัจจะโดยการเลียนแบบ "ความงามของธรรมชาติ" แต่นักทฤษฎีที่มีความคิดเห็นแตกต่างออกไปมีความเชื่อมั่นว่าการเน้นการใช้อุปมานิทัศน์เป็นสิ่งที่ไม่ถูกต้อง และอยู่บนพื้นฐานที่ไม่ถูกต้องของความสัมพันธ์ระหว่างศิลปะ และกวีนิพนธ์ที่มาจากบทเขียนของ (Horace) "" ("ในภาพเขียนคือกวีนิพนธ์") []
การจัดลำดับคุณค่าของศิลปะเริ่มขึ้นในปี ค.ศ. 1667 โดย (André Félibien), นักประวัติศาสตร์ศิลป์, สถาปนิก และ นักทฤษฎีว่าด้วยศิลปะคลาสสิกฝรั่งเศส ลำดับคุณค่าของศิลปะถือว่าจิตรกรรมประวัติศาสตร์เป็นลำดับคุณค่าอันดับหนึ่ง หรือ มหาจิตรกรรม (grand genre) จิตรกรรมประวัติศาสตร์รวมจิตรกรรมที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับศาสนา, ตำนานเทพ, ประวัติศาสตร์, วรรณคดี หรืออุปมานิทัศน์—ที่ตีความหมายของชีวิตหรือสื่อความหมายทางจริยธรรมและทางปัญญา เทพเจ้าจากตำนานเทพโบราณเป็นตัวแทนของจิตวิญญาณของมนุษย์ในรูปแบบต่างๆ บุคคลจากศาสนาเป็นตัวแทนของความคิดและปรัชญาต่างๆ และประวัติศาสตร์เป็นตัวแทนของความผันผวนของความคิดและปรัชญา จิตรกรรมประวัติศาสตร์เน้นการเขียนภาพวีรบุรุษที่เป็นชายเปลือยอยู่เป็นเวลานานโดยเฉพาะระหว่างการปฏิวัติฝรั่งเศส แต่ความนิยมนี้ก็เริ่มมาลดถอยลงในคริสต์ศตวรรษที่ 19
รองจากจิตรกรรมประวัติศาสตร์ก็เป็นการเขียนภาพชีวิตประจำวัน (scènes de genre) หรือ จุลจิตรกรรม (petit genre) ที่ตรงกันข้ามกับ มหาจิตรกรรม รองจากนั้นก็เป็นภาพเหมือน, ภาพภูมิทัศน์ และลำดับสุดท้ายคือภาพนิ่ง ตามสูตรดังกล่าวภาพเหล่านี้ถือว่ามีคุณค่าต่ำเพราะเป็นการเขียนที่ปราศจากพลังทางจิตหรือความมีจินตนาการทางศิลปะ การเขียนภาพชีวิตประจำวัน—ซึ่งมิได้มีคุณค่าทางอุดมคติหรือลักษณะ, หรือเป็นหัวข้ออันสูงส่ง—ได้รับการชื่นชมเพราะคุณสมบัติของการเขียนที่มาจากความเชี่ยวชาญ ความเป็นเอกลักษณ์ และความมีอารมณ์ขัน แต่ที่แน่นอนคือไม่ถือว่าเป็น "ศิลปะสูง" นอกจากนั้นการจัดลำดับคุณค่ายังระบุขนาดของภาพของแต่ละระดับด้วย: ภาพขนาดใหญ่สำหรับการเขียนจิตรกรรมประวัติศาสตร์ และ ภาพขนาดเล็กสำหรับการเขียนภาพนิ่ง
กล่าวว่าจิตรกรควรจะเลียนแบบพระเจ้าผู้ที่มีผลงานที่สมบูรณ์แบบที่สุดคือการสร้างมนุษย์ และแสดงภาพกลุ่มคน และ เลือกหัวข้อการเขียนจากประวัติศาสตร์และตำนาน "จิตรกรต้อง," เฟลิเบียงเขียน "เช่นเดียวกับนักประวัติศาสตร์, เขียนงานที่เป็นงานที่เกี่ยวกับเหตุการณ์สำคัญ และเช่นเดียวกับกวีที่เขียนสิ่งที่ทำให้เป็นที่ชื่นชม และต้องมีความเชี่ยวชาญยิ่งไปกว่านั้นในการมีความเชี่ยวชาญในการแฝงความหมายโดยการใช้ตำนานในการสื่อคุณค่าของบุคคลสำคัญ และคุณค่าอันสูงสุดอันเป็นที่สรรเสริญอันลึกลับของมนุษย์"
จิตรกรชาวอังกฤษโจชัว เรย์โนลด์สระหว่างคริสต์ทศวรรษ 1770 ถึง 1780 ย้ำในคุณค่าของภาพนิ่งว่าเป็นระดับต่ำที่สุดในบรรดางานจิตรกรรมประเภทต่างๆ ด้วยเหตุผลที่ว่าเป็นงานเขียนที่ทำให้จิตรกรไม่สามารถเข้าถึงหัวใจของรูปทรงหลักได้ จิตรกรรมที่ยังถือกันว่ามีคุณค่าสูงสุดคือจิตรกรรมประวัติศาสตร์ แม้ว่าเรย์โนลด์สจะเห็นด้วยกับการจัดระดับของเฟลิเบียง แต่เรย์โนลด์เชื่อว่างานที่ดีที่สุดของแต่ละประเภทก็ยังสามารถสร้างได้โดยผู้มีพรสวรรค์
แม้ว่าสถาบันศิลปะของยุโรปจะใช้การจัดลำดับคุณค่า แต่ศิลปินหลายคนก็สามารถคิดค้นประเภทงานศิลปะใหม่ที่เป็นเอกลักษณ์ ที่ทำให้ยกฐานะของหัวเรื่องขึ้นให้มามีความสำคัญพอกับจิตรกรรมประวัติศาสตร์ได้ เรย์โนลด์สเองก็สามารถทำได้โดยการเขียนภาพเหมือนแนวใหม่ที่เรียกว่า "" ที่เป็นการเขียนที่ส่งเสริมผู้เป็นแบบโดยการเขียนเป็นเชิงเทพในตำนาน ฌอง อองตวน วัตโตว์ เป็นผู้ริเริ่มประเภทงานเขียนใหม่ที่เรียกว่า "" ซึ่งเป็นการเขียนฉากความสนุกสำราญของราชสำนักที่เกิดขึ้นในบรรยากาศธรรมชาติ ที่มีลักษณะที่มีทั้งอรรถรสและคุณค่าทางอุปมานิทัศน์ที่ถือว่าเป็นการแสดงความสูงส่ง (Claude Lorrain) ริเริ่มประเภทงานเขียนใหม่ที่เรียกว่า "" (ideal landscape) ที่องค์ประกอบของภาพมีรากฐานมาจากธรรมชาติบ้างเล็กน้อยโดยมีซากปรักหักพังของสถาปัตยกรรมคลาสสิกอยู่ประปรายที่เป็นฉากของภาพทางศาสนาและประวัติศาสตร์ การเขียนลักษณะนี้เป็นการรวมการเขียนภาพภูมิทัศน์กับการเขียนภาพประวัติศาสตร์ซึ่งทำให้การเขียนภาพภูมิทัศน์ลักษณะนี้ได้รับการยกระดับคุณค่าขึ้น ซึ่งทำให้ได้ชื่อว่าเป็น "จิตรกรรมภูมิทัศน์ประวัติศาสตร์" และได้รัการยอมรับโดยสถาบันฝรั่งเศสเมื่อมีการก่อตั้งปรีซ์เดอโรมขึ้นในปี ค.ศ. 1817 และสุดท้าย (Jean-Baptiste-Siméon Chardin) สามารถยกระดับการเขียนภาพนิ่งที่ถือกันว่ามีทั้งเสนห์และความงามพอที่จะมีคุณค่าเคียงข้างกับศิลปะอุปมานิทัศน์ชั้นเอกได้ เมื่อทราบถึงความสำคัญของการจัดระดับคุณค่า ชาร์แดงก็เริ่มสอดแทรกบุคคลเข้าไปในภาพราวปี ค.ศ. 1730 ที่ส่วนใหญ่เป็นเด็กและสตรี
จิตรกรสตรีไม่สามารถเขียนภาพประวัติศาสตร์ได้มาจนกระทั่งถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 19 เพราะไม่ได้รับการอนุญาตให้เข้าร่วมในการฝึกการเป็นจิตรกรขั้นสุดท้ายซึ่งคือการฝึกหัดการเขียนจากตัวแบบจริง เพื่อเป็นการป้องกันจากความอับอาย สตรีฝึกการเขียนได้จากภาพนูน ภาพพิมพ์ งานหล่อ หรือจากงานของศิลปินชั้นครู ได้แต่ไม่ได้รับโอกาสให้ได้รับการฝึกการเขียนจากแบบเปลือย นอกจากนั้นก็ยังได้รับการหว่านล้อมให้เลือกเขียนงานที่งานที่ถือว่ามีระดับคุณค่าที่ต่ำเช่นการเขียนภาพเหมือน ภาพภูมิทัศน์ หรือภาพชีวิตประจำวัน ซึ่งถือว่าเป็นงานเขียนสำหรับสตรีเพราะเป็นงานเขียนที่มีความชวนเชิญทางตาไม่ใช่ทางความสติปัญญา
เมื่อมาถึงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 จิตรกรและนักวิจารณ์ศิลปะก็เริ่มประท้วงกฎต่างๆ ของสถาบันศิลปะที่รวมทั้งความลำเอียงในความนิยมจิตรกรรมประวัติศาสตร์ ขบวนการทางศิลปะใหม่ๆ ที่รวมทั้ง และ อิมเพรสชันนิสม์ ที่แสวงหาการสื่อเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในชั่วขณะในปัจจุบัน และการเขียนภาพชีวิตประจำวันที่พบเห็นโดยทั่วไปที่แยกจากความสำคัญทางประวัติศาสตร์ จิตรกรสัจนิยมมักจะเลือกเขียนภาพชีวิตประจำวันและภาพนิ่ง ส่วนจิตรกรอิมเพรสชันนิสม์จะเลือกเขียนภูมิทัศน์ ความนิยมในการเขียนจิตรกรรมประวัติศาสตร์ก็เริ่มลดถอยลง และเริ่มหันไปเป็นการเขียนลักษณะอื่นเช่นการเขียนศิลปะแบบญี่ปุ่น และอื่นๆ ที่ตามมา
อ้างอิง
- Colta F. Ives, "The Great Wave: The Influence of Japanese Woodcuts on French Prints", 1974, The Metropolitan Museum of Art,
ดูเพิ่ม
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamnixangxingkhristskrach khristthswrrs khriststwrrs sungepnsarasakhykhxngenuxha ladbkhunkhakhxngsilpa xngkvs hierarchy of genres epnkarcdpraephthkhxngngansilpa genre tamradbkhwamsakhythangkhunkhathiwangiwxyangepnthangkarA citrkrrmprawtisastr Christian Albrecht von Benzon khwamtaykhxngkhanuthphuskdisiththi kh s 1843phaphchiwitpracawn xaedriyn fan oxsetd khnkhaypla kh s 1660 1670 sinamnbnimoxkh 29 26 5 sm phaphehmuxn Konrad Krzyzanowski phaphehmuxnkhxngoyesf philsudski kh s 1920 wxrsxwcitrkrrmphumithsn ethmisotekhils fxn exkhekhnebrkhekhxr phumithsnkhxng Laerdalsoren thi sinamnbnphaib kh s 1901phaphning Heinrich Uhl phaphningkbklxngxymni aewnduxuprakr thungmux aelachxdxkim sinamnbnphaib 50 x 60 sm inthangwrrnkrrm mhakaphyidrbkarykyxngwaepnnganthimiradbkhunkhasungthisudinbrrdankwiphakswrrnkrrm tamehtuphlkhxngsamuexl cxhnsn thibrryayin chiwitkhxngcxhn miltn wa tamkhwamehnthiphxngknkhxngnkwiphaks nganthismkhwraekkarsrresriyinkhunkhakhuxngankhxngnkekhiynphuekhiynmhakaphy ephrakarekhiynmhakaphyphuekhiyntxngrwbrwmphlanuphaphthukdanthiaetladanephiyngphxsahrbsrangnganekhiynaetlachnid karcdladbthithrabkndithisudinngancitrkrrmkhuxmatrthanthisrangkhunodysthabninyuorprahwangkhriststwrrsthi 17 cnthungsmyihm radbtang thicdkhunsahrbpraephthkhxngngansilpatang idrbkarsnbsnunodyrachsthabnaehngcitrkrrmaelapratimakrrmaehngfrngesssungepnphunainsilpasthabn karotethiyngthiekiywkbkhwamngamkhxngcitrkrrmthiyngkhngepnthiniymknmatngaetyukhfunfusilpwithyayngkhngennkhwamsakhykhxngxupmanithsn karichxngkhprakxbinngancitrkrrmechnesn aela siinkarsuxkhwamhmaythiepnhwickhxngphaph channcungepnsingthiichkninngansilpa odythirupthrngtamthrrmchatiepnsingthiehnodythwip channcungepnrxngcakkhwamepnxnhnungxnediywknkhxngngansilpa thimicudprasngkhinkaraeswnghasccaodykareliynaebb khwamngamkhxngthrrmchati aetnkthvsdithimikhwamkhidehnaetktangxxkipmikhwamechuxmnwakarennkarichxupmanithsnepnsingthiimthuktxng aelaxyubnphunthanthiimthuktxngkhxngkhwamsmphnthrahwangsilpa aelakwiniphnththimacakbthekhiynkhxng Horace inphaphekhiynkhuxkwiniphnth ngankhnkhwatnchbb karcdladbkhunkhakhxngsilpaerimkhuninpi kh s 1667 ody Andre Felibien nkprawtisastrsilp sthapnik aela nkthvsdiwadwysilpakhlassikfrngess ladbkhunkhakhxngsilpathuxwacitrkrrmprawtisastrepnladbkhunkhaxndbhnung hrux mhacitrkrrm grand genre citrkrrmprawtisastrrwmcitrkrrmthimienuxhaekiywkbsasna tananethph prawtisastr wrrnkhdi hruxxupmanithsn thitikhwamhmaykhxngchiwithruxsuxkhwamhmaythangcriythrrmaelathangpyya ethphecacaktananethphobranepntwaethnkhxngcitwiyyankhxngmnusyinrupaebbtang bukhkhlcaksasnaepntwaethnkhxngkhwamkhidaelaprchyatang aelaprawtisastrepntwaethnkhxngkhwamphnphwnkhxngkhwamkhidaelaprchya citrkrrmprawtisastrennkarekhiynphaphwirburusthiepnchayepluxyxyuepnewlananodyechphaarahwangkarptiwtifrngess aetkhwamniymnikerimmaldthxylnginkhriststwrrsthi 19 rxngcakcitrkrrmprawtisastrkepnkarekhiynphaphchiwitpracawn scenes de genre hrux culcitrkrrm petit genre thitrngknkhamkb mhacitrkrrm rxngcaknnkepnphaphehmuxn phaphphumithsn aelaladbsudthaykhuxphaphning tamsutrdngklawphaphehlanithuxwamikhunkhataephraaepnkarekhiynthiprascakphlngthangcithruxkhwammicintnakarthangsilpa karekhiynphaphchiwitpracawn sungmiidmikhunkhathangxudmkhtihruxlksna hruxepnhwkhxxnsungsng idrbkarchunchmephraakhunsmbtikhxngkarekhiynthimacakkhwamechiywchay khwamepnexklksn aelakhwammixarmnkhn aetthiaennxnkhuximthuxwaepn silpasung nxkcaknnkarcdladbkhunkhayngrabukhnadkhxngphaphkhxngaetlaradbdwy phaphkhnadihysahrbkarekhiyncitrkrrmprawtisastr aela phaphkhnadelksahrbkarekhiynphaphning klawwacitrkrkhwrcaeliynaebbphraecaphuthimiphlnganthismburnaebbthisudkhuxkarsrangmnusy aelaaesdngphaphklumkhn aela eluxkhwkhxkarekhiyncakprawtisastraelatanan citrkrtxng efliebiyngekhiyn echnediywkbnkprawtisastr ekhiynnganthiepnnganthiekiywkbehtukarnsakhy aelaechnediywkbkwithiekhiynsingthithaihepnthichunchm aelatxngmikhwamechiywchayyingipkwanninkarmikhwamechiywchayinkaraefngkhwamhmayodykarichtananinkarsuxkhunkhakhxngbukhkhlsakhy aelakhunkhaxnsungsudxnepnthisrresriyxnluklbkhxngmnusy citrkrchawxngkvsocchw eryonldsrahwangkhristthswrrs 1770 thung 1780 yainkhunkhakhxngphaphningwaepnradbtathisudinbrrdangancitrkrrmpraephthtang dwyehtuphlthiwaepnnganekhiynthithaihcitrkrimsamarthekhathunghwickhxngrupthrnghlkid citrkrrmthiyngthuxknwamikhunkhasungsudkhuxcitrkrrmprawtisastr aemwaeryonldscaehndwykbkarcdradbkhxngefliebiyng aeteryonldechuxwanganthidithisudkhxngaetlapraephthkyngsamarthsrangidodyphumiphrswrrkh aemwasthabnsilpakhxngyuorpcaichkarcdladbkhunkha aetsilpinhlaykhnksamarthkhidkhnpraephthngansilpaihmthiepnexklksn thithaihykthanakhxnghweruxngkhunihmamikhwamsakhyphxkbcitrkrrmprawtisastrid eryonldsexngksamarththaidodykarekhiynphaphehmuxnaenwihmthieriykwa thiepnkarekhiynthisngesrimphuepnaebbodykarekhiynepnechingethphintanan chxng xxngtwn wtotw epnphurierimpraephthnganekhiynihmthieriykwa sungepnkarekhiynchakkhwamsnuksaraykhxngrachsankthiekidkhuninbrryakasthrrmchati thimilksnathimithngxrrthrsaelakhunkhathangxupmanithsnthithuxwaepnkaraesdngkhwamsungsng Claude Lorrain rierimpraephthnganekhiynihmthieriykwa ideal landscape thixngkhprakxbkhxngphaphmirakthanmacakthrrmchatibangelknxyodymisakprkhkphngkhxngsthaptykrrmkhlassikxyuprapraythiepnchakkhxngphaphthangsasnaaelaprawtisastr karekhiynlksnaniepnkarrwmkarekhiynphaphphumithsnkbkarekhiynphaphprawtisastrsungthaihkarekhiynphaphphumithsnlksnaniidrbkarykradbkhunkhakhun sungthaihidchuxwaepn citrkrrmphumithsnprawtisastr aelaidrkaryxmrbodysthabnfrngessemuxmikarkxtngprisedxormkhuninpi kh s 1817 aelasudthay Jean Baptiste Simeon Chardin samarthykradbkarekhiynphaphningthithuxknwamithngesnhaelakhwamngamphxthicamikhunkhaekhiyngkhangkbsilpaxupmanithsnchnexkid emuxthrabthungkhwamsakhykhxngkarcdradbkhunkha charaedngkerimsxdaethrkbukhkhlekhaipinphaphrawpi kh s 1730 thiswnihyepnedkaelastri citrkrstriimsamarthekhiynphaphprawtisastridmacnkrathngthungklangkhriststwrrsthi 19 ephraaimidrbkarxnuyatihekharwminkarfukkarepncitrkrkhnsudthaysungkhuxkarfukhdkarekhiyncaktwaebbcring ephuxepnkarpxngkncakkhwamxbxay strifukkarekhiynidcakphaphnun phaphphimph nganhlx hruxcakngankhxngsilpinchnkhru idaetimidrboxkasihidrbkarfukkarekhiyncakaebbepluxy nxkcaknnkyngidrbkarhwanlxmiheluxkekhiynnganthinganthithuxwamiradbkhunkhathitaechnkarekhiynphaphehmuxn phaphphumithsn hruxphaphchiwitpracawn sungthuxwaepnnganekhiynsahrbstriephraaepnnganekhiynthimikhwamchwnechiythangtaimichthangkhwamstipyya emuxmathungplaykhriststwrrsthi 19 citrkraelankwicarnsilpakerimprathwngkdtang khxngsthabnsilpathirwmthngkhwamlaexiynginkhwamniymcitrkrrmprawtisastr khbwnkarthangsilpaihm thirwmthng aela ximephrschnnism thiaeswnghakarsuxehtukarnthiekidkhuninchwkhnainpccubn aelakarekhiynphaphchiwitpracawnthiphbehnodythwipthiaeykcakkhwamsakhythangprawtisastr citrkrscniymmkcaeluxkekhiynphaphchiwitpracawnaelaphaphning swncitrkrximephrschnnismcaeluxkekhiynphumithsn khwamniyminkarekhiyncitrkrrmprawtisastrkerimldthxylng aelaerimhnipepnkarekhiynlksnaxunechnkarekhiynsilpaaebbyipun aelaxun thitammaxangxingColta F Ives The Great Wave The Influence of Japanese Woodcuts on French Prints 1974 The Metropolitan Museum of Art ISBN 0 87099 098 5duephimcitrkrrmprawtisastr phaphchiwitpracawn phaphehmuxn citrkrrmphumithsn phaphning prawtisastrkhxngcitrkrrm citrkrchnkhru