รัฐประหารในประเทศพม่า เมื่อวันที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2505 เป็นจุดเริ่มต้นของการปกครองแบบสังคมนิยมและการครอบงำการเมืองของกองทัพพม่า เป็นระยะเวลา 26 ปี ระบบการเมืองที่เป็นผลสืบเนื่องดำเนินมากระทั่งวันที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2531 เมื่อกองทัพยึดอำนาจในฐานะสภาฟื้นฟูกฎหมายและระเบียบแห่งรัฐ (ภายหลังเปลี่ยนชื่อเป็น สภาสันติภาพและการพัฒนาแห่งรัฐ) หลังการก่อการกำเริบ 8888 ทั่วประเทศ รัฐประหาร พ.ศ. 2505 นำโดยพลเอก เนวี่น และสภาปฏิวัติสังคมนิยม ซึ่งมีสมาชิก 24 คน ในระยะเวลา 12 ปีถัดจากนี้ กระทั่ง พ.ศ. 2517 พม่าปกครองด้วยกฎอัยการศึก และมีการขยายบทบาทของทหารอย่างสำคัญในเศรษฐกิจ การเมืองและรัฐการพม่า นโยบายและอุดมการณ์ของรัฐบาลหลังรัฐประหารตั้งอยู่บนแนวคิด (Burmese Way to Socialism) ซึ่งมีการประกาศต่อสาธารณะหนึ่งเดือนหลังรัฐประหารและเสริมด้วยการจัดตังพรรคโครงการสังคมนิยมพม่า
รัฐประหารในประเทศพม่า พ.ศ. 2505 | |||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|
ส่วนหนึ่งของ ความขัดแย้งภายในพม่า | |||||||
| |||||||
คู่สงคราม | |||||||
กองทัพพม่า | สาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า | ||||||
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ | |||||||
เนวี่น (ประธาน) | วี่น-มอง (ประธานาธิบดีพม่า) อู้นุ (นายกรัฐมนตรีพม่า) | ||||||
หน่วยที่เกี่ยวข้อง | |||||||
กองกำลังทหารพม่า | ตำรวจ. ที่เหลือเป็นกลาง | ||||||
ความสูญเสีย | |||||||
1 - 2 คน |
ภูมิหลัง
หลังจากพม่าได้รับเอกราช มีความตึงเครียดทางการทหารและการลุกฮือของชนกลุ่มน้อย ใน พ.ศ. 2491 เนวินขึ้นมามีอำนาจในกองทัพ ต่อมา ในวันที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2492 เนวินได้เป็นผู้บัญชาการทหารและเข้าควบคุมทหารทั้งหมดแทนนายพลสมิท ดุนที่เป็นชาวกะเหรี่ยง ทำให้เนวินได้จัดระเบียบกองทัพใหม่ ต่อมา อู้นุได้ร้องขอให้เนวินเป็นนายกรัฐมนตรีเฉพาะกาลเมื่อ 28 ธันวาคม พ.ศ. 2501 หลังจากที่สันนิบาตเสรีชนต่อต้านฟาสซิสต์แตกออกเป็นสองส่วน และอู้นุเกือบไม่ได้รับการไว้วางใจจากรัฐสภา เนวินได้ฟื้นฟูกฎระเบียบใหม่ในระหว่างที่เขาเป็นนายกรัฐมนตรีเฉพาะกาล การเลือกตั้งใหม่ใน เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2503 นั้นอู้นุเป็นฝ่ายชนะ และได้จัดตั้งรัฐบาลเมื่อ 4 เมษายน พ.ศ. 2503
รัฐประหาร
ต่อมาเมื่อ 2 มีนาคม พ.ศ. 2505 เนวินขึ้นสู่อำนาจอีกครั้งโดยการก่อรัฐประหาร ตัวเขาเองมีสถานะเป็นประมุขรัฐ ในฐานะประธานสภาปฏิวัติสหภาพ และเป็นนายกรัฐมนตรีด้วย เขาได้จับกุมอู้นุ เจ้าส่วยแต้กและคนอื่น ๆ อีกหลายคน และประกาศจัดตั้งรัฐสังคมนิยม เซาเมียะ เทียก บุตรชายของเจ้าส่วยแต้กถูกยิงเสียชีวิตหลังการวิจารณ์รัฐประหาร หายตัวไปอย่างลึกลับหลังจากหยุดที่จุดตรวจใกล้ตองจี
หลังจากมีการลุกฮือที่มหาวิทยาลัยย่างกุ้งในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2505 ได้มีการส่งทหารเข้าไปจัดระเบียบใหม่ มีการเผาผู้ประท้วงและทำลายอาคารสหภาพนักศึกษา หลังจากนั้น มหาวิทยาลัยทั่วประเทศถูกสั่งปิดเป็นเวลา 2 ปี จนถึงเดือนกันยายน พ.ศ. 2507 ใน พ.ศ. 2531 อีก 26 ปีต่อมา เนวินปฏิเสธความเกี่ยวข้องกับการทำลายอาคารสหภาพนักศึกษา โดยกล่าวว่าเป็นคำสั่งของอองจี้
หลังจากนั้นและผลกระทบ
รัฐประหารได้เปลี่ยนพม่าจากสหภาพที่มีหลายพรรคการเมืองไปเป็นรัฐที่มีพรรคการเมืองเดียวคือพรรคโครงการสังคมนิยมพม่า การลงทุนของเอกชนโดยเฉพาะที่ไม่ใช่ของพม่าถูกยึดเป็นของรัฐ บริษัทต่างชาติต่างถอนตัวออกไป และปกครองประเทศด้วยกฎอัยการศึกจนถึง พ.ศ. 2517 จึงได้ประกาศใช้รัฐธรรมนูญใหม่ ใช้ชื่อประเทศว่าสาธารณรัฐสังคมแห่งสหภาพพม่าได้ใช้ธงชาติที่มีสัญลักษณ์ของสังคมนิยม ผลของรัฐประหารทำให้การพัฒนาเศรษฐกิจของพม่าหยุดชะงักจนกลายเป็นประเทศด้อยพัฒนาใน พ.ศ. 2530
อ้างอิง
- Schock, Kurt (1999). "People Power and Political Opportunities: Social Movement Mobilization and Outcomes in the Philippines and Burma". Soc. Probs. 46: 358.
- Smith, Martin (1991). Burma — Insurgency and the Politics of Ethnicity. London and New Jersey: Zed Books.
- Boudreau, Vincent (2004) Resisting Dictatorship: Repression and Protest in Southeast Asia , Cambridge, U.K., pp. 37-39, 50-51 2011-05-11 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน,
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
rthpraharinpraethsphma emuxwnthi 2 minakhm ph s 2505 epncuderimtnkhxngkarpkkhrxngaebbsngkhmniymaelakarkhrxbngakaremuxngkhxngkxngthphphma epnrayaewla 26 pi rabbkaremuxngthiepnphlsubenuxngdaeninmakrathngwnthi 18 knyayn ph s 2531 emuxkxngthphyudxanacinthanasphafunfukdhmayaelaraebiybaehngrth phayhlngepliynchuxepn sphasntiphaphaelakarphthnaaehngrth hlngkarkxkarkaerib 8888 thwpraeths rthprahar ph s 2505 naodyphlexk enwin aelasphaptiwtisngkhmniym sungmismachik 24 khn inrayaewla 12 pithdcakni krathng ph s 2517 phmapkkhrxngdwykdxykarsuk aelamikarkhyaybthbathkhxngthharxyangsakhyinesrsthkic karemuxngaelarthkarphma noybayaelaxudmkarnkhxngrthbalhlngrthprahartngxyubnaenwkhid Burmese Way to Socialism sungmikarprakastxsatharnahnungeduxnhlngrthpraharaelaesrimdwykarcdtngphrrkhokhrngkarsngkhmniymphmarthpraharinpraethsphma ph s 2505swnhnungkhxng khwamkhdaeyngphayinphmawnthi2 minakhm kh s 1962sthanthiyangkung phmaphlsatharnrthrabbrthsphathuklmelik kxtngrabxbsngkhmniymthharkhusngkhramkxngthphphmasatharnrthaehngshphaphphmaphubngkhbbychaaelaphunaenwin prathan win mxng prathanathibdiphma xunu naykrthmntriphma hnwythiekiywkhxngkxngkalngthharphmatarwc thiehluxepnklangkhwamsuyesiy1 2 khnphumihlnghlngcakphmaidrbexkrach mikhwamtungekhriydthangkarthharaelakarlukhuxkhxngchnklumnxy in ph s 2491 enwinkhunmamixanacinkxngthph txma inwnthi 31 mkrakhm ph s 2492 enwinidepnphubychakarthharaelaekhakhwbkhumthharthnghmdaethnnayphlsmith dunthiepnchawkaehriyng thaihenwinidcdraebiybkxngthphihm txma xunuidrxngkhxihenwinepnnaykrthmntriechphaakalemux 28 thnwakhm ph s 2501 hlngcakthisnnibatesrichntxtanfassistaetkxxkepnsxngswn aelaxunuekuxbimidrbkariwwangiccakrthspha enwinidfunfukdraebiybihminrahwangthiekhaepnnaykrthmntriechphaakal kareluxktngihmin eduxnkumphaphnth ph s 2503 nnxunuepnfaychna aelaidcdtngrthbalemux 4 emsayn ph s 2503rthprahartxmaemux 2 minakhm ph s 2505 enwinkhunsuxanacxikkhrngodykarkxrthprahar twekhaexngmisthanaepnpramukhrth inthanaprathansphaptiwtishphaph aelaepnnaykrthmntridwy ekhaidcbkumxunu ecaswyaetkaelakhnxun xikhlaykhn aelaprakascdtngrthsngkhmniym esaemiya ethiyk butrchaykhxngecaswyaetkthukyingesiychiwithlngkarwicarnrthprahar haytwipxyangluklbhlngcakhyudthicudtrwcikltxngci hlngcakmikarlukhuxthimhawithyalyyangkungineduxnkrkdakhm ph s 2505 idmikarsngthharekhaipcdraebiybihm mikarephaphuprathwngaelathalayxakharshphaphnksuksa hlngcaknn mhawithyalythwpraethsthuksngpidepnewla 2 pi cnthungeduxnknyayn ph s 2507 in ph s 2531 xik 26 pitxma enwinptiesthkhwamekiywkhxngkbkarthalayxakharshphaphnksuksa odyklawwaepnkhasngkhxngxxngcihlngcaknnaelaphlkrathbrthpraharidepliynphmacakshphaphthimihlayphrrkhkaremuxngipepnrththimiphrrkhkaremuxngediywkhuxphrrkhokhrngkarsngkhmniymphma karlngthunkhxngexkchnodyechphaathiimichkhxngphmathukyudepnkhxngrth bristhtangchatitangthxntwxxkip aelapkkhrxngpraethsdwykdxykarsukcnthung ph s 2517 cungidprakasichrththrrmnuyihm ichchuxpraethswasatharnrthsngkhmaehngshphaphphmaidichthngchatithimisylksnkhxngsngkhmniym phlkhxngrthpraharthaihkarphthnaesrsthkickhxngphmahyudchangkcnklayepnpraethsdxyphthnain ph s 2530xangxingSchock Kurt 1999 People Power and Political Opportunities Social Movement Mobilization and Outcomes in the Philippines and Burma Soc Probs 46 358 Smith Martin 1991 Burma Insurgency and the Politics of Ethnicity London and New Jersey Zed Books Boudreau Vincent 2004 Resisting Dictatorship Repression and Protest in Southeast Asia Cambridge U K pp 37 39 50 51 2011 05 11 thi ewyaebkaemchchin ISBN 0 521 83989 0