เวเนรา 3 (รัสเซีย: Венера-3) เป็นยานอวกาศที่ถูกสร้างและปล่อยขึ้นสู่อวกาศโดยสหภาพโซเวียต เพื่อไปสำรวจพื้นผิวของดาวศุกร์ โดยถูกปล่อยเมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2508 จากท่าอวกาศยานบัยโกเงอร์ คาซัคสถาน
เวเนรา 3 | |
---|---|
ประเภทภารกิจ | ยานที่บินผ่านชั้นบรรยากาศดาวศุกร์ |
ผู้ดำเนินการ | OKB-1 |
COSPAR ID | 1965-092A |
SATCAT no. | 1733 |
ระยะภารกิจ | 105 วัน |
ข้อมูลยานอวกาศ | |
ยานอวกาศ | No.1 |
ผู้ผลิต | |
มวลขณะส่งยาน | 960 kg (2,120 lb) |
มวลหลังการลงจอด | 377 kg (831 lb) |
ขนาด | 4.2 × 1.1 m (13.8 × 3.6 ft) |
เริ่มต้นภารกิจ | |
วันที่ส่งขึ้น | 16 November 1965, 04:19 | UTC
จรวดนำส่ง | M |
ฐานส่ง | บัยโกเงอร์ |
ลักษณะวงโคจร | |
ระบบอ้างอิง | |
ระยะใกล้สุด | 0.68 AU |
ระยะไกลสุด | 0.99 AU |
ความเอียง | 4.29° |
คาบการโคจร | 277 วัน |
ปะทะ ดาวศุกร์ (ลงจอดล้มเหลว) | |
วันที่ปะทะ | 1 มีนาคม ค.ศ.1966 |
ตำแหน่งปะทะ | 20°N 80°E / 20°N 80°E |
ภารกิจของยานอวกาศนี้เพื่อลงจอดบนพื้นผิวของดาวศุกร์ โดยลำตัวมีระบบวิทยุสื่อสาร เครื่องมือทางวิทยาศาสตร์ แหล่งพลังงานไฟฟ้าและมีตราแผ่นดินของสหภาพโซเวียต
ยานอวกาศดังกล่าวลงสู่ดาวศุกร์ด้วยการชนกระแทก เมื่อวันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2509 และกลายเป็นยานอวกาศลำแรกที่ลงจอดบนพื้นผิวของดาวเคราะห์ดวงอื่น ด้านที่ตกนั้นเป็นดาวมืดของดาวศุกร์ ซึ่งพิกัดการลงจอดกระแทกน่าจะอยู่ที่พิกัด -20° to 20° N, 60° to 80° E อย่างไรก็ตาม ระบบสื่อสารของยานได้ล้มเหลวก่อนที่จะมีการส่งข้อมูลใด ๆ กลับมายังโลก
เนื่องจากดาวศุกร์ มีอุณหภูมิประมาณ 500 องศาเซลเซียส ตลอดทั้งกลางวันและกลางคืน ทำให้การลงจอดของยานสำรวจเวเนรารุ่นต่อๆไป ก็ยังเป็นอุปสรรค จนกระทั่ง ที่ลำตัวของยานเป็นไททาเนียม สามารถลงจอดที่พื้นผิวอย่างนุ่มนวลได้สำเร็จเป็นลำแรกและส่งข้อมูลกลับมายังโลกได้ 23 นาที
อ้างอิง
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
ewenra 3 rsesiy Venera 3 epnyanxwkasthithuksrangaelaplxykhunsuxwkasodyshphaphosewiyt ephuxipsarwcphunphiwkhxngdawsukr odythukplxyemuxwnthi 16 phvscikayn ph s 2508 cakthaxwkasyanbyokengxr khaskhsthanewenra 3praephthpharkicyanthibinphanchnbrryakasdawsukrphudaeninkarOKB 1COSPAR ID1965 092ASATCAT no 1733rayapharkic105 wnkhxmulyanxwkasyanxwkasNo 1phuphlitmwlkhnasngyan960 kg 2 120 lb mwlhlngkarlngcxd377 kg 831 lb khnad4 2 1 1 m 13 8 3 6 ft erimtnpharkicwnthisngkhun16 November 1965 04 19 1965 11 16UTC04 19Z UTCcrwdnasngMthansngbyokengxrlksnawngokhcrrabbxangxingrayaiklsud0 68 AUrayaiklsud0 99 AUkhwamexiyng4 29 khabkarokhcr277 wnpatha dawsukr lngcxdlmehlw wnthipatha1 minakhm kh s 1966taaehnngpatha20 N 80 E 20 N 80 E 20 80 pharkickhxngyanxwkasniephuxlngcxdbnphunphiwkhxngdawsukr odylatwmirabbwithyusuxsar ekhruxngmuxthangwithyasastr aehlngphlngnganiffaaelamitraaephndinkhxngshphaphosewiyt yanxwkasdngklawlngsudawsukrdwykarchnkraaethk emuxwnthi 1 minakhm ph s 2509 aelaklayepnyanxwkaslaaerkthilngcxdbnphunphiwkhxngdawekhraahdwngxun danthitknnepndawmudkhxngdawsukr sungphikdkarlngcxdkraaethknacaxyuthiphikd 20 to 20 N 60 to 80 E xyangirktam rabbsuxsarkhxngyanidlmehlwkxnthicamikarsngkhxmulid klbmayngolk enuxngcakdawsukr mixunhphumipraman 500 xngsaeslesiys tlxdthngklangwnaelaklangkhun thaihkarlngcxdkhxngyansarwcewenraruntxip kyngepnxupsrrkh cnkrathng thilatwkhxngyanepniththaeniym samarthlngcxdthiphunphiwxyangnumnwlidsaercepnlaaerkaelasngkhxmulklbmayngolkid 23 nathixangxingMark Wade Venera 3MV 3 Austronautix com Retrieved 3 April 2018 Gunter Krebs Venera 3 3MV 3 1 Gunther s Space Page Retrieved 3 April 2018 David Leverington 2000 New cosmic horizons p 74 ISBN 0 521 65833 0 NASA khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2013 03 03 subkhnemux 2019 03 01 bthkhwamniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmul hmayehtu khxaenanaihcdhmwdhmuokhrngihekhakbenuxhakhxngbthkhwam duephimthi wikiphiediy okhrngkarcdhmwdhmuokhrngthiyngimsmburn dkhk