ยานอวกาศมาริเนอร์ 10 เป็นยานอวกาศลำเดียวที่ไปสำรวจดาวพุธ และเป็นยานอวกาศลำแรกที่สำรวจดาวเคราะห์มากกว่าหนึ่งดวง ระหว่างทางไปดาวพุธได้ถ่ายภาพเมฆบนดาวศุกร์ หลังจากนั้น ก็ไปโคจรรอบดวงอาทิตย์ ทำให้สามารถผ่านใกล้ดาวพุธ 3 ครั้ง ใน ค.ศ. 1974 และ 1975 และบันทึกภาพแล้วส่งกลับมายังโลกได้ 2,700 ภาพ ครอบคลุมพื้นผิว 1 ใน 3 ของดาวพุธ นอกจากนี้ ยังได้ตรวจวัดสนามแม่เหล็ก และของดาวพุธ
มาริเนอร์ 10 | |
---|---|
ภาพยาน มาริเนอร์ 10 | |
ประเภทภารกิจ | สำรวจดาวเคราะห์ |
ผู้ดำเนินการ | NASA / JPL |
COSPAR ID | 1973-085A |
SATCAT no. | 6919 |
ระยะภารกิจ | 1 ปี, 4 เดือน, 21 วัน |
ข้อมูลยานอวกาศ | |
ผู้ผลิต | |
มวลขณะส่งยาน | 502.9 กิโลกรัม (1,109 ปอนด์) |
กำลังไฟฟ้า | 820 วัตต์ (ตอนอยู่ที่ดาวศุกร์) |
เริ่มต้นภารกิจ | |
วันที่ส่งขึ้น | November 3, 1973, 05:45:00 | UTC
จรวดนำส่ง | |
ฐานส่ง | Cape Canaveral |
สิ้นสุดภารกิจ | |
การกำจัด | ถูกปลด |
ปิดการทำงาน | |
บินผ่านดาวศุกร์ | |
เข้าใกล้สุด | 5 กุมภาพันธ์ ค.ศ.1974 |
ระยะทาง | 5,768 กิโลเมตร (3,584 ไมล์) |
บินผ่านดาวพุธ | |
เข้าใกล้สุด | 29 มีนาคม ค.ศ.1974 |
ระยะทาง | 704 กิโลเมตร (437 ไมล์) |
บินผ่านดาวพุธ | |
เข้าใกล้สุด | 21 กันยายน ค.ศ.1974 |
ระยะทาง | 48,069 กิโลเมตร (29,869 ไมล์) |
บินผ่านดาวพุธ | |
เข้าใกล้สุด | 16 มีนาคม ค.ศ.1975 |
ระยะทาง | 327 กิโลเมตร (203 ไมล์) |
อ้างอิง
- "Mariner 10". National Space Science Data Center. National Aeronautics and Space Administration. สืบค้นเมื่อ 7 September 2013.
ภารกิจก่อนหน้า: มาริเนอร์ 9 | ภารกิจต่อไป: วอยเอเจอร์ 1 | |
| | | | | | | มาริเนอร์ 9 | มาริเนอร์ 10 |
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
yanxwkasmarienxr 10 epnyanxwkaslaediywthiipsarwcdawphuth aelaepnyanxwkaslaaerkthisarwcdawekhraahmakkwahnungdwng rahwangthangipdawphuthidthayphaphemkhbndawsukr hlngcaknn kipokhcrrxbdwngxathity thaihsamarthphanikldawphuth 3 khrng in kh s 1974 aela 1975 aelabnthukphaphaelwsngklbmayngolkid 2 700 phaph khrxbkhlumphunphiw 1 in 3 khxngdawphuth nxkcakni yngidtrwcwdsnamaemehlk aelakhxngdawphuthmarienxr 10phaphyan marienxr 10praephthpharkicsarwcdawekhraahphudaeninkarNASA JPLCOSPAR ID1973 085ASATCAT no 6919rayapharkic1 pi 4 eduxn 21 wnkhxmulyanxwkasphuphlitmwlkhnasngyan502 9 kiolkrm 1 109 pxnd kalngiffa820 wtt txnxyuthidawsukr erimtnpharkicwnthisngkhunNovember 3 1973 05 45 00 1973 11 03UTC05 45Z UTCcrwdnasngthansngCape Canaveralsinsudpharkickarkacdthukpldpidkarthanganbinphandawsukrekhaiklsud5 kumphaphnth kh s 1974rayathang5 768 kiolemtr 3 584 iml binphandawphuthekhaiklsud29 minakhm kh s 1974rayathang704 kiolemtr 437 iml binphandawphuthekhaiklsud21 knyayn kh s 1974rayathang48 069 kiolemtr 29 869 iml binphandawphuthekhaiklsud16 minakhm kh s 1975rayathang327 kiolemtr 203 iml marienxr 9 xangxing Mariner 10 National Space Science Data Center National Aeronautics and Space Administration subkhnemux 7 September 2013 pharkickxnhna marienxr 9 pharkictxip wxyexecxr 1 marienxr 9 marienxr 10 bthkhwamdarasastrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhk