ภาษาเสาราษฏร์ (อักษรเสาราษฏร์: ꢱꣃꢬꢵꢰ꣄ꢜ꣄ꢬ ꢩꢵꢰꢵ, อักษรทมิฬ: சௌராட்டிர மொழி, อักษรเทวนาครี: सौराष्ट्र भाषा) เป็นภาษากลุ่มอินโด-อารยันที่มีผู้พูดหลักเป็นใน
ภาษาเสาราษฏร์ | |
---|---|
ꢱꣃꢬꢵꢰ꣄ꢜ꣄ꢬ ꢩꢵꢰꢵ சௌராஷ்டிர மொழி సౌరాష్ట్ర భాష सौराष्ट्र भाषा ಸೌರಾಷ್ಟ್ರ ಭಾಷೆ | |
วลี "เสาราษฏร์" ในอักษรเสาราษฏร์ | |
ประเทศที่มีการพูด | อินเดีย |
ภูมิภาค | รัฐทมิฬนาฑู, รัฐอานธรประเทศ, รัฐกรณาฏกะ |
ชาติพันธุ์ | |
จำนวนผู้พูด | 247,702 (2011 census) |
ตระกูลภาษา | อินโด-ยูโรเปียน
|
รูปแบบก่อนหน้า |
|
ภาษาถิ่น | ภาษาเสาราษฏร์ถิ่นเหนือ ภาษาเสาราษฏร์ถิ่นใต้ |
ระบบการเขียน | อักษรเสาราษฏร์ (พราหมี) อักษรทมิฬ อักษรเตลูกู อักษรเทวนาครี อักษรละติน |
รหัสภาษา | |
ISO 639-3 | saz |
ครั้งหนึ่งภาษาเสาราษฏร์ ซึ่งเป็นภาษาที่แยกจาก มีผู้พูดในในรัฐคุชราต ปัจจุบันมีผู้พูดทั่วรัฐทมิฬนาฑู
ภาษานี้มีอักษรของตนเองที่มีชื่อเดียวกัน แต่บางส่วนยังเขียนด้วยอักษรทมิฬ, อักษรเตลูกู และอักษรเทวนาครี อักษรเสาราษฏร์สืบต้นตอจากอักษรพราหมี ที่มีต้นตอจากตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน ซึ่งต่างจากภาษารอบ ๆ ที่มีต้นตอจากตระกูลภาษาดราวิเดียน ผู้พูดภาษานี้บางส่วนโต้เถียงว่าอักษรไหนเหมาะสำหรับภาษานี้มากที่สุด สำมะโนอินเดียจัดให้ภาษานี้อยู่ในกลุ่ม โดยมีจำนวนผู้พูดภาษานี้อย่างเป็นทางการที่ 247,702 คน (สำมะโน ค.ศ. 2011)
การแพร่กระจายทางภูมิศาสตร์
ชาวเสาราษฏร์ส่วนใหญ่อยู่ในเมืองมุนดาไร ทางใต้ของรัฐทมิฬนาฑูและมีแพร่กระจายอยู่ในเมืองอื่น ๆ ด้วย มีผู้พูดในรัฐอานธรประเทศซึ่งคาดว่าย้ายไปจากรัฐทมิฬนาฑู ภาษาของชาวเสาราษฏร์ในอานธรประเทศใกล้เคียงกับในทมิฬนาฑูเพียงแต่เพิ่มอิทธิพลของภาษาเตลูกูเข้ามา
ประวัติ
หลักฐานทางประวัติศาสตร์ส่วนใหญ่ชี้ให้เห็นว่าชาวเสาราษฏร์เดิมอยู่ในเขตเสาราษฏร์ รัฐคุชราต ทางตะวันตกของอินเดีย หลักฐานจากเพลงพื้นบ้านและงานวิจัยทางพันธุกรรมสนับสนุนข้อเสนอนี้ แต่ภาษาเสาราษฏร์มีความใกล้เคียงกับภาษามราฐีและภาษากอนกานีที่เป็นภาษากลุ่มอินโด-อารยันทางตะวันตกของอินเดียมากกว่าภาษาคุชราตที่เป็นภาษาหลักของรัฐคุชราตในปัจจุบัน นักภาษาศาสตร์อธิบายว่าทั้งภาษาเสาราษฏร์และภาษาคุชราตแตกกิ่งมาจากภาษาเดียวกันแต่มีพัฒนาการต่างกัน ภาษาคุชราตได้รับอิทธิพลจากภาษาฮินดี ภาษาเปอร์เซีย และภาษาอาหรับ ในขณะที่ผู้พูดภาษาเสาราษฏร์อพยพออกไปก่อนที่อิทธิพลของมุสลิมจะเข้ามาในคุชราต ได้รับอิทธิพลจากภาษากอนกานี ภาษามราฐี ภาษากันนาดา ภาษาทมิฬและภาษาเตลุกุ เป็นที่ทราบกันดีแล้วว่าภาษาเปอร์เซียและภาษาอาหรับมีอิทธิพลต่อภาษากอนกานีและภาษามราฐีน้อย ทำให้ทั้งสองภาษายังคงคำศัพท์และลักษณะทางไวยากรณ์จากภาษาสันสกฤตไว้ได้มาก
การอพยพลงใต้ของชาวเสาราษฏร์น่าจะได้รับอิทธิพลจากการรุกรานของมุสลิมแต่ไม่มีรายละเอียดว่าอพยพเมื่อใดและเป็นจำนวนเท่าใด พวกเขาเข้ามาในอาณาจักรวิชยนคร ซึ่งมีเมืองหลวงอยู่ในรัฐการณตกะในปัจจุบัน ที่นีมีภาษาเตลุกุและภาษากันนาดาเป็นภาษาหลัก และมีการใช้ภาษาสันสกฤตกับภาษาทมิฬด้วย ยุคนี้จึงเป็นยุคที่ภาษาเสาราษฏร์รับอิทธิพลจากภาษาเตลุกุและกันนาดา
เมื่อวิชยนครแผ่อำนาจลงใต้ยึดเมืองมุนดาไรและ ฐันชวุระเข้ารวมกับอาณาจักรได้จึงจัดให้ชาวเสาราษฏร์บางส่วนลงไปในบริเวณดังกล่าว อีก 200 ปีต่อมา อาณาจักรวิชยนครเสื่อมสลายไปเมื่อ พ.ศ. 2103 หลังจากสุลต่านแห่งเดคคันชนะสงครามตาลิโกตา เปิดอินเดียใต้เข้ารับการติดต่อกับมุสลิม
เมื่อเปลี่ยนศูนย์อำนาจการปกครองใหม่ทำให้ชาวเสาราษฏร์อพยพลงใต้อีกครั้ง ทำให้ภาษาของพวกเขาได้รับอิทธิพลจากภาษาทมิฬจนกลายเป็นภาษาในปัจจุบัน มีผู้พูดภาษามราฐีกลุ่มหนึ่งในฐันชวุระ ซึ่งไม่ใช่ชาวเสาราษฏร์
ระบบการเขียน
ภาษาเสาราษฏร์มีอักษรเป็นของตนเองมานานกว่า 100 เรียกว่าอักษรเสาราษฏร์ ภาษานี้มีการใช้เป็นภาษาพูดมากกว่า ผู้พูดภาษานี้ใช้ภาษาเตลุกุหรือภาษาทมิฬเป็นภาษาที่สองและมักใช้ภาษาที่สองเป็นภาษาเขียน ปัจจุบันมีการเขียนภาษาเสาราษฏร์สี่ระบบคือ
- อักษรทมิฬโดยเพิ่มเครื่องหมายแสดงเสียงที่ไม่มีในภาษาทมิฬ
- อักษรเทวนาครี เหมาะกับเสียงในภาษาเสาราษฏร์ แต่มีคนใช้น้อย
- อักษรเสาราษฏร์ มีความพยายามฟื้นฟูขึ้นมาอีกครั้ง หลังจากเลิกใช้ไปเป็นเวลานาน
- อักษรละติน นิยมใช้ในคนรุ่นใหม่เพราะใช้แทนเสียงได้ครบ แต่ยังมีความรู้สึกแปลกแยกว่าเป็นอักษรของต่างชาติ
อักษรเสาราษฏร์
ในอดีต ภาษาเสาราษฏร์เคยเป็นภาษาที่ถ่ายทอดด้วยการพูด และไม่มีอักษรเป็นของตนเอง ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 17 ถึง 18 มีบางส่วนพยายามเขียนด้วยอักษรเตลูกู จากนั้นจึงมีการประดิษฐ์ตัวอักษรขึ้นในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 19 ต่อมาในช่วงครึ่งหลังของคริสต์ศตวรรษที่ 19 มีความพยายามที่จะฟื้นฟูอักษรด้วยการตัดตัวเชื่อมที่ซับซ้อนส่วนใหญ่ทิ้ง
สระ
พยัญชนะ
คำประสม
ตัวเลข
อักษรเทวนาครี
ปัจจุบัน เริ่มนำอักษรเทวนาครีมาใช้งานแล้ว ตารางอักษรประกอบด้วยสระ, พยัญชนะ และคำประสมในอักษรเทวนาครีดังนี้:
อ้างอิง
- "Statement 1: Abstract of speakers' strength of languages and mother tongues – 2011". www.censusindia.gov.in. Office of the Registrar General & Census Commissioner, India. สืบค้นเมื่อ 7 July 2018.
- Paul John, Vijaysinh Parmar (2016). "Gujaratis who settled in Madurai centuries ago brought with them a unique language – Times of India". The Times of India. สืบค้นเมื่อ 15 April 2018.
- "Saurashtra". Ethnologue (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 8 June 2018.
- "Script Description [Saurashtra]". ScriptSource. สืบค้นเมื่อ 16 April 2018. Material was copied from this source, which is available under a Creative Commons Attribution-ShareAlike 3.0 Unported license.
- "Statement 1: Abstract of speakers' strength of languages and mother tongues – 2011". www.censusindia.gov.in. Office of the Registrar General & Census Commissioner, India. สืบค้นเมื่อ 7 July 2018.
- R. V, SOWLEE (2003). "The Hindu : Saurashtra dictionary". www.thehindu.com. สืบค้นเมื่อ 11 June 2018.
- Venkatesh, Karthik (10 June 2017). "Of little-known Indian languages and scripts". Livemint. สืบค้นเมื่อ 27 September 2018.
แหล่งข้อมูลอื่น
- Sourashtra World 2022-02-05 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
phasaesarastr xksresarastr ꢱ ꢬ ꢰ ꢜ ꢬ ꢩ ꢰ xksrthmil ச ர ட ட ர ம ழ xksrethwnakhri स र ष ट र भ ष epnphasaklumxinod xarynthimiphuphudhlkepninphasaesarastrꢱ ꢬ ꢰ ꢜ ꢬ ꢩ ꢰ ச ர ஷ ட ர ம ழ స ర ష ట ర భ ష स र ष ट र भ ष ಸ ರ ಷ ಟ ರ ಭ ಷ wli esarastr inxksresarastrpraethsthimikarphudxinediyphumiphakhrththmilnathu rthxanthrpraeths rthkrnatkachatiphnthucanwnphuphud247 702 2011 census trakulphasaxinod yuorepiyn xinod xiereniynxinod xarynphasaesarastrrupaebbkxnhnaphasaesarastrphasathinphasaesarastrthinehnux phasaesarastrthinitrabbkarekhiynxksresarastr phrahmi xksrthmil xksretluku xksrethwnakhri xksrlatinrhsphasaISO 639 3saz khrnghnungphasaesarastr sungepnphasathiaeykcak miphuphudininrthkhuchrat pccubnmiphuphudthwrththmilnathu phasanimixksrkhxngtnexngthimichuxediywkn aetbangswnyngekhiyndwyxksrthmil xksretluku aelaxksrethwnakhri xksresarastrsubtntxcakxksrphrahmi thimitntxcaktrakulphasaxinod yuorepiyn sungtangcakphasarxb thimitntxcaktrakulphasadrawiediyn phuphudphasanibangswnotethiyngwaxksrihnehmaasahrbphasanimakthisud samaonxinediycdihphasanixyuinklum odymicanwnphuphudphasanixyangepnthangkarthi 247 702 khn samaon kh s 2011 karaephrkracaythangphumisastrchawesarastrswnihyxyuinemuxngmundair thangitkhxngrththmilnathuaelamiaephrkracayxyuinemuxngxun dwy miphuphudinrthxanthrpraethssungkhadwayayipcakrththmilnathu phasakhxngchawesarastrinxanthrpraethsiklekhiyngkbinthmilnathuephiyngaetephimxiththiphlkhxngphasaetlukuekhamaprawtihlkthanthangprawtisastrswnihychiihehnwachawesarastredimxyuinekhtesarastr rthkhuchrat thangtawntkkhxngxinediy hlkthancakephlngphunbanaelanganwicythangphnthukrrmsnbsnunkhxesnxni aetphasaesarastrmikhwamiklekhiyngkbphasamrathiaelaphasakxnkanithiepnphasaklumxinod xarynthangtawntkkhxngxinediymakkwaphasakhuchratthiepnphasahlkkhxngrthkhuchratinpccubn nkphasasastrxthibaywathngphasaesarastraelaphasakhuchrataetkkingmacakphasaediywknaetmiphthnakartangkn phasakhuchratidrbxiththiphlcakphasahindi phasaepxresiy aelaphasaxahrb inkhnathiphuphudphasaesarastrxphyphxxkipkxnthixiththiphlkhxngmuslimcaekhamainkhuchrat idrbxiththiphlcakphasakxnkani phasamrathi phasaknnada phasathmilaelaphasaetluku epnthithrabkndiaelwwaphasaepxresiyaelaphasaxahrbmixiththiphltxphasakxnkaniaelaphasamrathinxy thaihthngsxngphasayngkhngkhasphthaelalksnathangiwyakrncakphasasnskvtiwidmak karxphyphlngitkhxngchawesarastrnacaidrbxiththiphlcakkarrukrankhxngmuslimaetimmiraylaexiydwaxphyphemuxidaelaepncanwnethaid phwkekhaekhamainxanackrwichynkhr sungmiemuxnghlwngxyuinrthkarntkainpccubn thinimiphasaetlukuaelaphasaknnadaepnphasahlk aelamikarichphasasnskvtkbphasathmildwy yukhnicungepnyukhthiphasaesarastrrbxiththiphlcakphasaetlukuaelaknnada emuxwichynkhraephxanaclngityudemuxngmundairaela thnchwuraekharwmkbxanackridcungcdihchawesarastrbangswnlngipinbriewndngklaw xik 200 pitxma xanackrwichynkhresuxmslayipemux ph s 2103 hlngcaksultanaehngedkhkhnchnasngkhramtaliokta epidxinediyitekharbkartidtxkbmuslim emuxepliynsunyxanackarpkkhrxngihmthaihchawesarastrxphyphlngitxikkhrng thaihphasakhxngphwkekhaidrbxiththiphlcakphasathmilcnklayepnphasainpccubn miphuphudphasamrathiklumhnunginthnchwura sungimichchawesarastrrabbkarekhiynphasaesarastrmixksrepnkhxngtnexngmanankwa 100 eriykwaxksresarastr phasanimikarichepnphasaphudmakkwa phuphudphasaniichphasaetlukuhruxphasathmilepnphasathisxngaelamkichphasathisxngepnphasaekhiyn pccubnmikarekhiynphasaesarastrsirabbkhux xksrthmilodyephimekhruxnghmayaesdngesiyngthiimmiinphasathmil xksrethwnakhri ehmaakbesiynginphasaesarastr aetmikhnichnxy xksresarastr mikhwamphyayamfunfukhunmaxikkhrng hlngcakelikichipepnewlanan xksrlatin niymichinkhnrunihmephraaichaethnesiyngidkhrb aetyngmikhwamrusukaeplkaeykwaepnxksrkhxngtangchatixksresarastr wli esarastr inxksresarastr inxdit phasaesarastrekhyepnphasathithaythxddwykarphud aelaimmixksrepnkhxngtnexng inchwngkhriststwrrsthi 17 thung 18 mibangswnphyayamekhiyndwyxksretluku caknncungmikarpradisthtwxksrkhuninchwngkhriststwrrsthi 19 txmainchwngkhrunghlngkhxngkhriststwrrsthi 19 mikhwamphyayamthicafunfuxksrdwykartdtwechuxmthisbsxnswnihything sra phyychna khaprasm twelkh xksrethwnakhri pccubn erimnaxksrethwnakhrimaichnganaelw tarangxksrprakxbdwysra phyychna aelakhaprasminxksrethwnakhridngni tarangxksresarastrthiephyaephrphrxmkbkhxaenanakhxng CIILxangxing Statement 1 Abstract of speakers strength of languages and mother tongues 2011 www censusindia gov in Office of the Registrar General amp Census Commissioner India subkhnemux 7 July 2018 Paul John Vijaysinh Parmar 2016 Gujaratis who settled in Madurai centuries ago brought with them a unique language Times of India The Times of India subkhnemux 15 April 2018 Saurashtra Ethnologue phasaxngkvs subkhnemux 8 June 2018 Script Description Saurashtra ScriptSource subkhnemux 16 April 2018 Material was copied from this source which is available under a Creative Commons Attribution ShareAlike 3 0 Unported license Statement 1 Abstract of speakers strength of languages and mother tongues 2011 www censusindia gov in Office of the Registrar General amp Census Commissioner India subkhnemux 7 July 2018 R V SOWLEE 2003 The Hindu Saurashtra dictionary www thehindu com subkhnemux 11 June 2018 Venkatesh Karthik 10 June 2017 Of little known Indian languages and scripts Livemint subkhnemux 27 September 2018 aehlngkhxmulxunSourashtra World 2022 02 05 thi ewyaebkaemchchinmikarthdsxb phasaesarastr khxngwikiphiediy thiwikimiediy xinkhiwebetxr