ภาษาเซนายา เป็นภาษาแอราเมอิกตะวันออกหรือภาษาซีเรียคสมัยใหม่ เป็นภาษาของชาวอัสซีเรียที่มีต้นกำเนิดในซานันดัซ ในเคอร์ดิสถานของอิหร่าน ผู้พูดส่วนใหญ่นับถือศาสนาคริสต์นิกายคาทอลิกคัลเดีย
ภาษาเซนายา | |
---|---|
ܣܢܝܐ Senāya, ܣܘܪܝ Soray | |
ออกเสียง | /sɛnɑjɑ/, /soraj/ |
ประเทศที่มีการพูด | อิหร่าน, ยุโรปตะวันตก, ออสเตรเลีย, สหรัฐ |
ภูมิภาค | เตหะราน และ |
จำนวนผู้พูด | 500 คน (ไม่พบวันที่) |
ตระกูลภาษา | แอโฟรเอชีแอติก
|
ระบบการเขียน | อักษรซีเรียค (แบบ Māḏnhāyā) |
รหัสภาษา | |
ISO 639-2 | syr |
ISO 639-3 | syn |
จุดกำเนิด ประวัติศาสตร์และการใช้ในปัจจุบัน
เมืองซานันดัซเป็นบริเวณตะวันออกเฉียงใต้ของบริเวณที่เคยใช้ภาษาแอราเมอิก สำเนียงของภาษาแอราเมอิกใหม่ที่เกิดขึ้นในเมืองนี้ มีสองสำเนียงคือ ของชาวยิวและสำเนียงเซนายาของชาวคริสต์ ซึ่งแตกต่างกัน เช่น เสียง θ (th) ของภาษาแอราเมอิกยุคกลาง เป็นเสียง l ในสำเนียงฮาลัวลา และs ในภาษาเซนายา ตัวอย่างเช่น , mîθa, 'ตาย' เป็น mîsa ในภาษาเซนายาและ mîla ในสำเนียงฮาลัวลา
ผู้พูดภาษานี้ส่วนใหญ่นับถือศาสนาคริสต์นิกายคาทอลิกคัลเดียที่แยกออกมาจากนิกายอัสซีเรียตะวันออกในพุทธศตวรรษที่ 21 และเข้าร่วมในคริสตจักรโรมันคาทอลิก ผุ้พูดภาษานี้ไม่เข้าใจที่ใช้พูดในอิรัก ปัจจุบัน ชุมชนชาวคริสต์ในซานันดัซเริ่มลดลง ส่วนใหญ่อพยพมาอยู่ที่เตหะราน จนไม่มีผู้พูดภาษาเซนายาเป็นภาษาแม่ในซานันดัซ ภาษาในเตหะรานได้รับอิทธิพลจากภาษาแอราเมอิกใหม่อัสซีเรียสำเนียง อูร์เมซนายา (Urmežnāya) ชาวคริสต์กลุ่มนี้ใช้ภาษาซีเรียคเป็นภาษาทางศาสนา ภาษาเซนายาเขียนด้วยอักษรซีเรียคแบบ Madnhāyâ ซึ่งเป็นแบบที่ใช้กับภาษาซีเรียคคลาสสิก
อ้างอิง
- Heinrichs, Wolfhart (ed.) (1990). Studies in Neo-Aramaic. Scholars Press: Atlanta, Georgia. .
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
phasaesnaya epnphasaaexraemxiktawnxxkhruxphasasieriykhsmyihm epnphasakhxngchawxssieriythimitnkaenidinsannds inekhxrdisthankhxngxihran phuphudswnihynbthuxsasnakhristnikaykhathxlikkhlediyphasaesnayaܣܢܝܐ Senaya ܣܘܪܝ Sorayxxkesiyng sɛnɑjɑ soraj praethsthimikarphudxihran yuorptawntk xxsetreliy shrthphumiphakhetharan aelacanwnphuphud500 khn imphbwnthi trakulphasaaexofrexchiaextik phasaklumesmitikphasaklumesmitikklangphasaaexraemxikphasaaexraemxiktawnxxkphasaaexraemxiktawnxxktxnklangphasaaexraemxiktawnxxktxnklangtawnxxkechiyngehnuxphasaesnayarabbkarekhiynxksrsieriykh aebb Maḏnhaya rhsphasaISO 639 2syrISO 639 3syncudkaenid prawtisastraelakarichinpccubnemuxngsanndsepnbriewntawnxxkechiyngitkhxngbriewnthiekhyichphasaaexraemxik saeniyngkhxngphasaaexraemxikihmthiekidkhuninemuxngni misxngsaeniyngkhux khxngchawyiwaelasaeniyngesnayakhxngchawkhrist sungaetktangkn echn esiyng 8 th khxngphasaaexraemxikyukhklang epnesiyng l insaeniynghalwla aelas inphasaesnaya twxyangechn mi8a tay epn misa inphasaesnayaaela mila insaeniynghalwla phuphudphasaniswnihynbthuxsasnakhristnikaykhathxlikkhlediythiaeykxxkmacaknikayxssieriytawnxxkinphuththstwrrsthi 21 aelaekharwminkhristckrormnkhathxlik phuphudphasaniimekhaicthiichphudinxirk pccubn chumchnchawkhristinsanndserimldlng swnihyxphyphmaxyuthietharan cnimmiphuphudphasaesnayaepnphasaaeminsannds phasainetharanidrbxiththiphlcakphasaaexraemxikihmxssieriysaeniyng xuremsnaya Urmeznaya chawkhristklumniichphasasieriykhepnphasathangsasna phasaesnayaekhiyndwyxksrsieriykhaebb Madnhaya sungepnaebbthiichkbphasasieriykhkhlassikxangxingHeinrichs Wolfhart ed 1990 Studies in Neo Aramaic Scholars Press Atlanta Georgia ISBN 1 55540 430 8