ภาษาบาหลี (Basä Bali) เป็นภาษากลุ่มมาลาโย-โพลีเนเซียที่มีผู้พูด 3.3 ล้านคน (ข้อมูลเมื่อ ค.ศ. 2000) ในเกาะบาหลี รวมทั้งในภาคเหนือของนูซาเปอนีดา ภาคตะวันตกของเกาะลมบก ภาคตะวันออกของเกาะชวา ภาคใต้ของเกาะสุมาตรา และเกาะซูลาเวซี ประเทศอินโดนีเซีย ผู้พูดชาวบาหลีส่วนใหญ่รู้ภาษาอินโดนีเซียด้วย ใน ค.ศ. 2011 สำนักงานวัฒนธรรมบาหลีประมาณจำนวนผู้ที่ยังพูดภาษาบาหลีในชีวิตประจำวันในเกาะบาหลีว่ามีน้อยกว่า 1 ล้านคน จัดให้ภาษานี้มีสถานะ "ไม่อยู่ในภาวะใกล้สูญ"
ภาษาบาหลี | |
---|---|
ᬪᬵᬱᬩᬮᬶ, ᬩᬲᬩᬮᬶ1 Bhāṣa Bali, Basä Bali1 | |
ภูมิภาค | เกาะบาหลี, นูซาเปอนีดา, เกาะลมบก และเกาะชวา ประเทศอินโดนีเซีย |
ชาติพันธุ์ | |
จำนวนผู้พูด | 3.3 ล้านคน (2000) |
ตระกูลภาษา | ออสโตรนีเซียน
|
รูปแบบก่อนหน้า | ภาษาบาหลีเก่า
|
ระบบการเขียน | อักษรละติน อักษรบาหลี |
สถานภาพทางการ | |
ภาษาชนกลุ่มน้อยที่รับรองใน | อินโดนีเซีย |
รหัสภาษา | |
ISO 639-2 | ban |
ISO 639-3 | ban |
การจำแนก
ภาษาบาหลีจัดอยู่ในกลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซียของตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน ภายในกลุ่มมาลาโย-โพลีเนเซีย ภาษานี้เป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มย่อยภาษาบาหลี–ซาซัก–ซุมบาวา ภาษาบาหลีมีวิธภาษาเด่น ๆ 3 วิธภาษา ได้แก่ บาหลีที่สูง บาหลีที่ลุ่ม และนูซาเปอนีดา
ประชากร
จากสำมะโนประชากร ค.ศ. 2000 มีผู้พูดภาษาบาหลีในประเทศอินโดนีเซีย 3.3 ล้านคน ส่วนใหญ่อยู่ในเกาะบาหลีและบริเวณโดยรอบ
ใน ค.ศ. 2011 สำนักงานวัฒนธรรมบาหลีประมาณว่ายังมีผู้คนที่พูดภาษาบาหลีในชีวิตประจำวันในเกาะบาหลีไม่เกิน 1 ล้านคน เพราะในเขตเมือง พ่อแม่ใช้เพียงภาษาอินโดนีเซียหรือแม้แต่ภาษาอังกฤษเป็นภาษาต่างชาติ ในขณะที่บทสนทนาในชีวิตประจำวันหายไปจากสถาบันและสื่อมวลชนแล้ว มีผู้ไม่คุ้นชินกับภาษาเขียนของภาษาบาหลีมากขึ้น และชาวบาหลีส่วนใหญ่ใช้ภาษาบาหลีเฉพาะการสื่อสารด้วยวาจาโดยมีคำจากภาษาอินโดนีเซียปะปนอยู่บ่อยครั้ง แต่ในพื้นที่ที่มีการอพยพข้ามถิ่นนอกเกาะบาหลี กลับมีการใช้ภาษาบาหลีอย่างมากและเชื่อว่ามีบทบาทสำคัญต่อความอยู่รอดของภาษา
สัทวิทยา
สระ
i | u | ||
e | ə | o | |
a |
การสะกดอย่างเป็นทางการใช้รูป a แทนทั้งหน่วยเสียง /a/ และ /ə/ อย่างไรก็ตาม a มักออกเสียงเป็น [ə] เมื่ออยู่ท้ายคำ และ [ə] ยังปรากฏในหน่วยคำเติมหน้า ma-, pa- และ da-
พยัญชนะ
เส้นเสียง | ||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
เสียงนาสิก | m | n | ɲ | ŋ | ||||||
เสียงหยุด/ | p | b | t | d | t͡ʃ | d͡ʒ | k | g | ||
s | h | |||||||||
w | l | j | ||||||||
r |
การเน้นหนัก
คำในภาษาบาหลีจะเน้นเสียงหนักที่พยางค์สุดท้าย
ระบบการเขียน
ภาษาบาหลีมีระบบการเขียน 2 ระบบ คือ อักษรบาหลี และอักษรละตินในปัจจุบัน
อักษรบาหลี
อักษรบาหลี (Aksara Bali, ᬅᬓ᭄ᬱᬭᬩᬮᬶ) ซึ่งเรียงลำดับแบบฮานาจารากา (ᬳᬦᬘᬭᬓ) เป็นอักษรสระประกอบที่พัฒนามาจากอักษรพราหมีในอินเดีย จารึกแรกที่สุดเท่าที่รู้จักสืบได้ถึงคริสต์ศตวรรษที่ 9 ปัจจุบัน มีผู้รู้จักคุ้นเคยกับอักษรบาหลีดั้งเดิมน้อยมาก
อักษรละติน
ในปัจจุบัน โรงเรียนในเกาะบาหลีสอนภาษาบาหลีโดยใช้อักษรละติน (โรมัน) ซึ่งมีชื่อว่า ตูลีซันบาลี (Tulisan Bali)
ภาพ
- ภาษาบาหลี
- ป้ายที่วิหารปูราปูเซะฮ์
- คัมภีร์ไบเบิลที่เขียนด้วยอักษรบาหลี
- ป้ายชื่อถนนที่ซีงาราจา เขียนด้วยอักษรละตินและอักษรบาหลี
- ป้ายที่ว่าการอำเภอกลุงกุง
หมายเหตุ
^1 ในอักษรบาหลี คำยืมจากภาษาสันสกฤตและมีอักขรวิธีที่แตกต่างจากคำบาหลีดั้งเดิม อักษรบาหลีชุดแรกเริ่มได้รับอิทธิพลจากอักขรวิธีภาษาสันสกฤตและ ดังเช่นคำว่า บาซา แผลงมาจากคำภาษาสันสกฤตว่า भाषा (ภาษา) ในขณะเดียวกัน ไม่มีการใช้เครื่องหมายเสริมสัทอักษรในภาษาบาหลีที่เขียนด้วยอักษรละติน ดังนั้น ทั้ง ᬪᬵᬱᬩᬮᬶ และ basa Bali ต่างก็เป็นรูปสะกดมาตรฐาน
ดูเพิ่ม
อ้างอิง
- ภาษาบาหลี ที่ Ethnologue (18th ed., 2015) (ต้องสมัครสมาชิก)
- Ethnologue.
- Clynes, Adrian (1995). Topics in the Phonology and Morphosyntax of Balinese (วิทยานิพนธ์ PhD). Australian National University. doi:10.25911/5d77865d38e15. :1885/10744.
- "Glottolog 4.3 - Balinese". glottolog.org. สืบค้นเมื่อ 2021-04-27.
- Adelaar, K. Alexander (2005). "The Austronesian languages of Asia and Madagascar: a historical perspective". ใน Adelaar, K. Alexander; Himmelmann, Nikolaus (บ.ก.). The Austronesian languages of Asia and Madagascar. London: Routledge. pp. 1–42.
- Ni Komang Erviani (March 30, 2012). "Balinese Language 'Will Never Die'". The Jakarta Post (ภาษาอังกฤษ).
- Spitzing, Günter (2002). Practical Balinese: Phrasebook and Dictionary. Rutland VT: Tuttle Publishing. p. 22.
- Beratha, Ni Luh Sutjiati (1992). Evolution of Verbal Morphology in Balinese (วิทยานิพนธ์ PhD). Australian National University. doi:10.25911/5d7786429c1ff. :1885/109364.
- "Balinese (Basa Bali)". Omniglot. สืบค้นเมื่อ 2021-01-30.
- Eiseman, Fred B., Jr. . Bali Vision. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-08-19.
แหล่งข้อมูลอื่น
- Balinese man speaking Balinese language in different Balinese dialects
- Ager, Simon. "Balinese". Omniglot. จากแหล่งเดิมเมื่อ 9 March 2007. สืบค้นเมื่อ 2007-03-07.
- The Balinese Digital Library.
- Widiadana R. A. & Erviani N. K. (29 January 2011). Ancient ‘lontar’ manuscripts go digital 2011-08-06 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน. .
- Erviani N. K. (14 January 2011). US scholar brings ancient Balinese scripts to digital age. .
- Unicode website
- open access recording of Balinese song.
- 's Blust collection includes materials on Balinese, including RB2-006,RB2-009.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
phasabahli Basa Bali epnphasaklummalaoy ophlienesiythimiphuphud 3 3 lankhn khxmulemux kh s 2000 inekaabahli rwmthnginphakhehnuxkhxngnusaepxnida phakhtawntkkhxngekaalmbk phakhtawnxxkkhxngekaachwa phakhitkhxngekaasumatra aelaekaasulaewsi praethsxinodniesiy phuphudchawbahliswnihyruphasaxinodniesiydwy in kh s 2011 sanknganwthnthrrmbahlipramancanwnphuthiyngphudphasabahliinchiwitpracawninekaabahliwaminxykwa 1 lankhn cdihphasanimisthana imxyuinphawaiklsuy phasabahliᬪ ᬱᬩᬮ ᬩᬲᬩᬮ 1 Bhaṣa Bali Basa Bali 1phumiphakhekaabahli nusaepxnida ekaalmbk aelaekaachwa praethsxinodniesiychatiphnthubahli bahlixaka mlayuololxncanwnphuphud3 3 lankhn 2000 trakulphasaxxsotrniesiyn malaoy ophlienesiy bahli saskphasabahlirupaebbkxnhnaphasabahlieka phasabahlirabbkarekhiynxksrlatin xksrbahlisthanphaphthangkarphasachnklumnxythirbrxngin xinodniesiyrhsphasaISO 639 2banISO 639 3banbthkhwamnimisylksnsthxksrsakl hakrabbkhxngkhunimrxngrbkaraesdngphlthithuktxng khunxacehnprsni klxng hruxsylksnxyangxunaethnthixkkhrayuniokhd source source source phuphudphasabahlikarcaaenkphasabahlicdxyuinklumphasamalaoy ophlienesiykhxngtrakulphasaxxsotrniesiyn phayinklummalaoy ophlienesiy phasaniepnswnhnungkhxngklumyxyphasabahli sask sumbawa phasabahlimiwithphasaedn 3 withphasa idaek bahlithisung bahlithilum aelanusaepxnidaprachakrcaksamaonprachakr kh s 2000 miphuphudphasabahliinpraethsxinodniesiy 3 3 lankhn swnihyxyuinekaabahliaelabriewnodyrxb in kh s 2011 sanknganwthnthrrmbahlipramanwayngmiphukhnthiphudphasabahliinchiwitpracawninekaabahliimekin 1 lankhn ephraainekhtemuxng phxaemichephiyngphasaxinodniesiyhruxaemaetphasaxngkvsepnphasatangchati inkhnathibthsnthnainchiwitpracawnhayipcaksthabnaelasuxmwlchnaelw miphuimkhunchinkbphasaekhiynkhxngphasabahlimakkhun aelachawbahliswnihyichphasabahliechphaakarsuxsardwywacaodymikhacakphasaxinodniesiypapnxyubxykhrng aetinphunthithimikarxphyphkhamthinnxkekaabahli klbmikarichphasabahlixyangmakaelaechuxwamibthbathsakhytxkhwamxyurxdkhxngphasasthwithyasra srabahli i ue e oa karsakdxyangepnthangkarichrup a aethnthnghnwyesiyng a aela e xyangirktam a mkxxkesiyngepn e emuxxyuthaykha aela e yngpraktinhnwykhaetimhna ma pa aela da phyychna phyychnabahli esnesiyngesiyngnasik m n ɲ ŋesiynghyud p b t d t ʃ d ʒ k gs hw l jr karennhnk khainphasabahlicaennesiynghnkthiphyangkhsudthayrabbkarekhiynphasabahlimirabbkarekhiyn 2 rabb khux xksrbahli aelaxksrlatininpccubn xksrbahli rupphyychnabahli hmayehtu xksrchudnieriyngtamladbphyychnachwa xksrbahli Aksara Bali ᬅᬓ ᬱᬭᬩᬮ sungeriyngladbaebbhanacaraka ᬳᬦᬘᬭᬓ epnxksrsraprakxbthiphthnamacakxksrphrahmiinxinediy carukaerkthisudethathirucksubidthungkhriststwrrsthi 9 pccubn miphuruckkhunekhykbxksrbahlidngedimnxymak xksrlatin inpccubn orngeriyninekaabahlisxnphasabahliodyichxksrlatin ormn sungmichuxwa tulisnbali Tulisan Bali phaphphasabahli paythiwiharpurapuesah khmphiribebilthiekhiyndwyxksrbahli paychuxthnnthisingaraca ekhiyndwyxksrlatinaelaxksrbahli paythiwakarxaephxklungkunghmayehtu 1 inxksrbahli khayumcakphasasnskvtaelamixkkhrwithithiaetktangcakkhabahlidngedim xksrbahlichudaerkerimidrbxiththiphlcakxkkhrwithiphasasnskvtaela dngechnkhawa basa aephlngmacakkhaphasasnskvtwa भ ष phasa inkhnaediywkn immikarichekhruxnghmayesrimsthxksrinphasabahlithiekhiyndwyxksrlatin dngnn thng ᬪ ᬱᬩᬮ aela basa Bali tangkepnrupsakdmatrthanduephimmikarthdsxb phasabahli khxngwikiphiediy thiwikimiediy xinkhiwebetxrxangxingphasabahli thi Ethnologue 18th ed 2015 txngsmkhrsmachik Ethnologue Clynes Adrian 1995 Topics in the Phonology and Morphosyntax of Balinese withyaniphnth PhD Australian National University doi 10 25911 5d77865d38e15 1885 10744 Glottolog 4 3 Balinese glottolog org subkhnemux 2021 04 27 Adelaar K Alexander 2005 The Austronesian languages of Asia and Madagascar a historical perspective in Adelaar K Alexander Himmelmann Nikolaus b k The Austronesian languages of Asia and Madagascar London Routledge pp 1 42 Ni Komang Erviani March 30 2012 Balinese Language Will Never Die The Jakarta Post phasaxngkvs Spitzing Gunter 2002 Practical Balinese Phrasebook and Dictionary Rutland VT Tuttle Publishing p 22 Beratha Ni Luh Sutjiati 1992 Evolution of Verbal Morphology in Balinese withyaniphnth PhD Australian National University doi 10 25911 5d7786429c1ff 1885 109364 Balinese Basa Bali Omniglot subkhnemux 2021 01 30 Eiseman Fred B Jr Bali Vision khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2010 08 19 aehlngkhxmulxunwikitaramitarainhwkhx Bali wikithxngethiyw miefrsbuksahrb Balinese wikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb phasabahli Balinese man speaking Balinese language in different Balinese dialects Ager Simon Balinese Omniglot cakaehlngedimemux 9 March 2007 subkhnemux 2007 03 07 The Balinese Digital Library Widiadana R A amp Erviani N K 29 January 2011 Ancient lontar manuscripts go digital 2011 08 06 thi ewyaebkaemchchin Erviani N K 14 January 2011 US scholar brings ancient Balinese scripts to digital age Unicode website open access recording of Balinese song s Blust collection includes materials on Balinese including RB2 006 RB2 009