ภาวะเสียการรับรู้สัณฐานโดยคลำ (อังกฤษ: Astereognosis หรือเรียกว่า tactile agnosia ถ้าเป็นเพียงแค่มือเดียว) เป็นความไม่สามารถที่จะระบุวัตถุโดยการลูบคลำด้วยมืออย่างเดียว โดยไม่ใช้ความรู้สึกทางอื่น ๆ เช่นทางตาช่วย บุคคลมีภาวะนี้ ไม่สามารถระบุวัตถุต่าง ๆ โดยเพียงแค่จับต้องได้ แม้ว่า ความรู้สึกที่มือจะเป็นปกติ คือ ถ้าปิดตา คนไข้ไม่สามารถระบุสิ่งที่อยู่ในมือได้ นี้ตรงข้ามกับ ภาวะเสียการระลึกรู้ทางตา (visual agnosia) ซึ่งคนไข้ไม่สามารถระบุวัตถุโดยใช้สายตาเพียงอย่างเดียวได้
ภาวะเสียการระลึกรู้สัณฐานโดยคลำ (Astereognosis) | |
---|---|
สาขาวิชา | ประสาทวิทยา |
ส่วนคนไข้ภาวะ tactile agnosia (แปลว่าไม่รู้สัมผัส) อาจจะสามารถระบุชื่อ ประโยชน์ และความเป็นมาของวัตถุที่อยู่ในมือข้างซ้าย แต่บอกไม่ได้ด้วยมือข้างขวา หรือว่าในนัยตรงข้าม หรือว่าไม่สามารถบอกได้ด้วยทั้งสองมือ ภาวะเสียการรับรู้สัณฐานโดยคลำ (astereognosis) มุ่งหมายเอาคนไข้เหล่านั้นที่ไม่สามารถระบุวัตถุด้วยมือทั้งสอง แม้ว่า คนไข้อาจจะสามารถระบุรูปร่างทั่วไปเช่น เป็นรูปพีระมิด เป็นรูปร่างกลม ๆ แม้ว่าอาจจะมีความยากลำบากบ้าง แต่ก็จะไม่สามารถระบุวัตถุสามัญว่าคืออะไรโดยสัมผัส แม้ว่าวัตถุนั้นอาจมีลักษณะที่รู้ได้ง่ายและไม่เหมือนวัตถุอื่นเช่นซี่ของส้อม แต่คนไข้อาจจะแจ้งความรู้สึกถึงวัตถุโลหะยาวมีซี่หลายซี่แยกออกมาจากฐานเดียวกันในทิศทางเดียวกัน แต่ไม่สามารถระบุวัตถุว่าคือส้อม อาการต่าง ๆ เหล่านี้บอกเป็นนัยว่า มีส่วนในสมองโดยเฉพาะที่ทำความสัมพันธ์ระหว่างตัวกระตุ้นทางสัมผัสต่าง ๆ กับหน้าที่หรือความเกี่ยวข้องต่อกันและกันของตัวกระตุ้นเหล่านั้น เพราะมีความเป็นไปที่เฉพาะเจาะจงอย่างนี้ และเพราะความที่สภาวะนี้มีผลเสียหายค่อนข้างน้อยต่อคุณภาพชีวิตของคนไข้ จึงเป็นเหตุให้ไม่ค่อยมีรายงานและงานวิจัยเกี่ยวกับคนไข้ที่มีภาวะนี้
ภาวะเสียการรับรู้สัณฐานโดยคลำมีความสัมพันธ์กับรอยโรคในสมองกลีบข้าง (parietal lobe), หรือ , หรือส่วนสมองที่อยู่ติดกันของสมองกลีบข้าง สมองกลีบขมับ (temporal lobe) และ (occipital lobe) ที่เป็นจุดเชื่อมที่เรียกว่า เขตสัมพันธ์ด้านหลัง (posterior association areas) ในซีกสมองซีกใดซีกหนึ่ง
เชิงอรรถและอ้างอิง
- "ศัพท์บัญญัติอังกฤษ-ไทย, ไทย-อังกฤษ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (คอมพิวเตอร์) รุ่น ๑.๑", ให้ความหมายของ stereognosis ว่า "การรับรู้สัณฐานโดยคลำ"
- O'Sullivan, S.B.; Schmitz, T.J. (2007). Physical Rehabilitation (5th ed.). Philadelphia: F.A. Davis Company. pp. 1180–1181.
- Gerstmann, J. (2001). Pure Tactile Agnosia Cognitive Neuropsychology. pp. 267–274.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
phawaesiykarrbrusnthanodykhla xngkvs Astereognosis hruxeriykwa tactile agnosia thaepnephiyngaekhmuxediyw epnkhwamimsamarththicarabuwtthuodykarlubkhladwymuxxyangediyw odyimichkhwamrusukthangxun echnthangtachwy bukhkhlmiphawani imsamarthrabuwtthutang odyephiyngaekhcbtxngid aemwa khwamrusukthimuxcaepnpkti khux thapidta khnikhimsamarthrabusingthixyuinmuxid nitrngkhamkb phawaesiykarralukruthangta visual agnosia sungkhnikhimsamarthrabuwtthuodyichsaytaephiyngxyangediywidphawaesiykarralukrusnthanodykhla Astereognosis sakhawichaprasathwithya swnkhnikhphawa tactile agnosia aeplwaimrusmphs xaccasamarthrabuchux praoychn aelakhwamepnmakhxngwtthuthixyuinmuxkhangsay aetbxkimiddwymuxkhangkhwa hruxwainnytrngkham hruxwaimsamarthbxkiddwythngsxngmux phawaesiykarrbrusnthanodykhla astereognosis munghmayexakhnikhehlannthiimsamarthrabuwtthudwymuxthngsxng aemwa khnikhxaccasamarthraburuprangthwipechn epnrupphiramid epnruprangklm aemwaxaccamikhwamyaklabakbang aetkcaimsamarthrabuwtthusamywakhuxxairodysmphs aemwawtthunnxacmilksnathiruidngayaelaimehmuxnwtthuxunechnsikhxngsxm aetkhnikhxaccaaecngkhwamrusukthungwtthuolhayawmisihlaysiaeykxxkmacakthanediywkninthisthangediywkn aetimsamarthrabuwtthuwakhuxsxm xakartang ehlanibxkepnnywa miswninsmxngodyechphaathithakhwamsmphnthrahwangtwkratunthangsmphstang kbhnathihruxkhwamekiywkhxngtxknaelaknkhxngtwkratunehlann ephraamikhwamepnipthiechphaaecaacngxyangni aelaephraakhwamthisphawanimiphlesiyhaykhxnkhangnxytxkhunphaphchiwitkhxngkhnikh cungepnehtuihimkhxymiraynganaelanganwicyekiywkbkhnikhthimiphawani phawaesiykarrbrusnthanodykhlamikhwamsmphnthkbrxyorkhinsmxngklibkhang parietal lobe hrux hruxswnsmxngthixyutidknkhxngsmxngklibkhang smxngklibkhmb temporal lobe aela occipital lobe thiepncudechuxmthieriykwa ekhtsmphnthdanhlng posterior association areas insiksmxngsikidsikhnungechingxrrthaelaxangxing sphthbyytixngkvs ithy ithy xngkvs chbbrachbnthitysthan khxmphiwetxr run 1 1 ihkhwamhmaykhxng stereognosis wa karrbrusnthanodykhla O Sullivan S B Schmitz T J 2007 Physical Rehabilitation 5th ed Philadelphia F A Davis Company pp 1180 1181 Gerstmann J 2001 Pure Tactile Agnosia Cognitive Neuropsychology pp 267 274 bthkhwamaephthysastrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhk