ภาวะเสียการระลึกรู้ หรือ ภาวะไม่รู้ (อังกฤษ: Agnosia มาจากภาษากรีกโบราณว่า ἀγνωσία ซึ่งแปลว่า ความไม่รู้ หรือ ความปราศจากความรู้, คำว่า gnosis ที่ไม่มี a ข้างหน้า แปลว่า ความรู้ความเข้าใจในเรื่องลี้ลับเช่นจิตวิญญาณเป็นต้น) เป็นการสูญเสียความสามารถในการรู้จำวัตถุ บุคคล เสียง รูปร่าง หรือกลิ่น ในขณะที่การรับรู้ทางประสาทเฉพาะอย่างๆ ไม่มีความเสียหาย และไม่มีการสูญเสียความทรงจำเป็นสำคัญ เป็นภาวะที่ปกติมีความเกี่ยวข้องกับ หรือ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง หลังจากเกิดความเสียหายใน เขตบร็อดแมนน์ 37 คือช่วงต่อระหว่างสมองกลีบท้ายทอยและสมองกลีบขมับ (occipitotemporal area) ซึ่งเป็นส่วนของทางสัญญาณด้านล่างของระบบการเห็น
ภาวะเสียการระลึกรู้ (Agnosia) | |
---|---|
ภาวะเสียการระลึกรู้เป็นเหตุให้คนไข้เสียความสามารถในการรู้จำหรือเข้าใจความหมายของวัตถุ แม้ว่าประสาทรับความรู้สึกจะเป็นปกติ | |
บัญชีจำแนกและลิงก์ไปภายนอก | |
ICD-10 | F80.2, F88.0 and R48.1 |
ICD- | 784.69 |
agnosia/ | |
MeSH | D000377 |
ภาวะไม่รู้จะมีผลกับการรับรู้ทางประสาทอย่างเดียวเท่านั้น เช่นการเห็นหรือการได้ยิน
ประเภท
ชื่อ | คำอธิบาย |
ภาวะบอดความเคลื่อนไหว (Akinetopsia) | หรือรู้จักกันว่า ภาวะบอดความเคลื่อนไหวเหตุสมอง (Cerebral akinetopsia) เป็นความไม่สามารถเห็นความเคลื่อนไหว เหตุอย่างหนึ่งของภาวะนี้คือรอยโรคในคอร์เทกซ์สายตานอกคอร์เทกซ์ลาย |
ภาวะเสียสำนึกความพิการ (Anosognosia) | เป็นภาวะที่ไม่สามารถเข้าถึงข้อมูลป้อนกลับ (feedback) เกี่ยวกับภาวะของตน และบางครั้งสับสนกับความไม่มีความเข้าใจ แต่ความจริงเกิดขึ้นจากปัญหาในกลไกเกี่ยวกับข้อมูลป้อนกลับในสมอง เกิดขึ้นจากความเสียหายทางประสาท และสามารถเกิดขึ้นร่วมกับความบกพร่องทางประสาทอย่างอื่นๆ โดยมากแล้ว ตรวจพบในคนไข้ที่ส่งไปหาแพทย์ในกรณีอัมพาตเพราะโรคลมปัจจุบัน (stroke) ผู้มีภาวะนี้พร้อมกับความบกพร่องอย่างอื่นๆ อาจจะรับรู้ความบกพร่องบางอย่างของตน แต่ไม่สามารถรับรู้ความบกพร่องทุกอย่างโดยสิ้นเชิง |
ภาวะเสียการระลึกรู้ทางตาแบบวิสัญชาน (apperceptive visual agnosia) | คือคนไข้ไม่สามารถจำแนกรูปร่างต่างๆ ทางตา และมีปัญหาในการรู้จำ การลอกแบบรูปภาพ และการแยกแยะระหว่างตัวกระตุ้นต่างๆ ทางตา โดยที่ต่างจากคนไข้ภาวะเสียการระลึกรู้ทางตาแบบสัมพันธ์ (associative visual agnosia) คนไข้แบบวิสัญชานไม่สามารถลอกแบบรูปภาพต่างๆ ได้เลย |
ภาวะเสียการระลึกรู้ทางตาแบบสัมพันธ์ (associative visual agnosia) | คือคนไข้สามารถพรรณนาถึงทัศนียภาพทางตาและประเภทต่างๆ ของวัตถุได้ แต่ไม่สามารถรู้จำวัตถุเหล่านั้นได้ (คือไม่รู้ว่าเป็นอะไร) ตัวอย่างเช่น คนไข้อาจจะรู้ว่าซ่อมนั้นเอาไว้ใช้ทานอาหาร แต่อาจจะสับสนซ่อมโดยเห็นว่าเป็นช้อน คนไข้มีภาวะนี้สามารถลอกแบบรูปภาพได้ |
Astereognosis | หรือรู้จักกันว่า ภาวะเสียการระลึกรู้ความรู้สึกทางกาย (Somatosensory agnosia) เป็นภาวะที่เกี่ยวข้องกับความรู้สึกสัมผัส คนไข้อาจจะมีปัญหาในการรู้จำวัตถุโดยการสัมผัสที่ใช้เพื่อจะรู้เนื้อของวัตถุ (texture) ขนาด และน้ำหนัก แต่ว่า อาจจะสามารถพรรณนาถึงวัตถุโดยคำพูด หรือรู้จำวัตถุนั้นโดยภาพ และสามารถวาดรูปวัตถุนั้นได้ มีการสันนิษฐานว่า เป็นภาวะเกิดจากรอยโรคหรือความเสียหายในคอร์เทกซ์รับความรู้สึกทางกาย (somatosensory cortex) |
(Auditory agnosia) | เป็นภาวะที่รู้จักกันมาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1877 คนไข้ภาวะนี้มีปัญหาในการแยกแยะเสียงในสิ่งแวดล้อมและคำพูด รวมทั้งปัญหาการแยกแยะเสียงพูดและเสียงที่ไม่ใช่คำพูดแม้ว่าการได้ยินจะเป็นปกติ ภาวะนี้มี 2 ประเภท คือ แบบสัมพันธ์ความหมาย (semantic associative) และแบบแยกแยะ (discriminative) แบบสัมพันธ์ความหมาย มีความเกี่ยวข้องกับรอยโรคในสมองซีกซ้าย เปรียบเทียบกับ แบบแยกแยะซึ่งมีความเกี่ยวข้องกับรอยโรคในสมองซีกขวา |
(Auditory verbal agnosia) | หรือรู้จักกันว่า ภาวะหนวกคำล้วนๆ (Pure Word Deafness) เป็นภาวะที่มีความหนวกในความหมายของคำ คือ การได้ยินไม่มีปัญหาอะไร แต่มีปัญหาอย่างสำคัญในการรู้จำคำพูดว่ามีความหมายอะไร |
เกี่ยวกับความไม่สามารถเปลี่ยนทิศทางของอวัยวะในร่างกาย และมักเกิดขึ้นเพราะรอยโรคในสมองกลีบข้าง | |
(Cerebral achromatopsia) | หรือรู้จักกันอีกอย่างหนึ่งว่า (Color agnosia) ซึ่งเกี่ยวข้องกับการแยกประเภทของสีด้วย เกี่ยวกับการรู้จำสีด้วย ภาวะนี้มักจะเกิดเพราะความเสียหายทางประสาท มีเขต 2 เขตในสมองที่มีกิจเฉพาะในการรู้จำสี คือเขตสายตา V4 และ ถ้ามีรอยโรคข้างเดียวในเขต V4 ก็จะเกิดการสูญเสียการรับรู้สีซึ่งเรียกว่า hemiachromatopsia (ภาวะบอดสีข้างเดียว) |
(Cortical deafness) | หมายถึงคนไข้ผู้ไม่สามารถรับรู้ข้อมูลทางหู แม้ว่าอวัยวะคือหูจะไม่ปรากฏว่ามีปัญหา |
ภาวะไม่รู้สิ่งแวดล้อม (Environmental Agnosia) | เป็นความไม่สามารถบ่งบอกตำแหน่งของห้องหรืออาคารที่มีความคุ้นเคย และความไม่สามารถบอกเส้นทางไปยังสถานที่แห่งหนึ่ง คนไข้ภาวะนี้มีปัญหาในการเรียนรู้เส้นทาง มักเกี่ยวข้องกับรอยโรคในสมองทั้งสองซีกหรือซีกขวาซีกเดียวทางด้านหลัง และยังมีความเกี่ยวข้องกับภาวะบอดใบหน้า (prosopagnosia) และโรคพาร์กินสัน |
(Finger agnosia) | เป็นความไม่สามารถที่จะแยกแยะนิ้วมือทั้งของตนและของผู้อื่นได้ มีเหตุคือรอยโรคในสมองกลีบข้างในด้านซีกสมองที่เป็นใหญ่ (คือคนถนัดขวาจะมีสมองซีกซ้ายเป็นใหญ่) และเป็นองค์ประกอบอย่างหนึ่งของ |
ภาวะไม่รู้รูปร่าง (Form agnosia) | คนไข้รับรู้ได้แต่รายละเอียดเป็นส่วนๆ แต่ไม่สามารถรับรู้วัตถุโดยองค์รวมทั้งวัตถุได้ |
โดยปกติแล้วคนไข้ภาวะเสียการระลึกรู้มักจะเป็นแบบสัมพันธ์ (associative) หรือแบบวิสัญชาน (appreceptive) แต่ว่าในแบบ integrative คนไข้มีความสามารถระดับที่อยู่ในระหว่างแบบสัมพันธ์ และแบบวิสัญชาน คือามารถรู้จำองค์ประกอบของวัตถุได้ แต่ไม่สามารถประสานองค์ประกอบเหล่านั้นให้เป็นวัตถุโดยองค์รวมเพื่อที่จะรู้จำได้ | |
ภาวะเสียการระลึกรู้ความเจ็บปวด (Pain agnosia) | บางครั้งเรียกว่า คนไข้มีปัญหาในการรับรู้และประมวลผลเกี่ยวกับความเจ็บปวด มีสันนิษฐานว่า เป็นภาวะที่เป็นมูลฐานของการทำร้ายตัวเองบางประเภท |
เป็นความไม่สามารถรู้จำเสียงที่คุ้นเคยได้ แม้ว่าผู้ฟังจะสามารถเข้าใจคำที่พูดได้ | |
ภาวะบอดใบหน้า (Prosopagnosia) | คนไข้ไม่สามารถรู้จำใบหน้าที่คุ้นเคยได้ด้วยจิตใต้สำนึก และในบางกรณีแม้แต่จะเป็นใบหน้าของตน บางครั้งสับสนกับความไม่สามารถจำชื่อ |
(Pure alexia) | เป็นความไม่สามารถในการรู้จำหนังสือ คนไข้ภาวะนี้บ่อยครั้งมีความเสียหายใน corpus callosum และต่อเขตสายตาสัมพันธ์ของสมองซีกซ้าย ภาวะนี้เป็นความไม่สามารถในการอ่านหนังสือ แต่ยังเขียนหนังสือได้ คนไข้มักจะอ่านคำในหนังสือทีละอักษร แต่ว่า ความปรากฏบ่อยๆ ของคำ มีผลต่อการอ่าน คนไข้สามารถอ่านคำที่ปรากฏบ่อยได้ดีกว่าและเร็วกว่าคำที่เกิดขึ้นไม่บ่อย |
ภาวะเสียการระลึกรู้ความหมาย (Semantic agnosia) | คนไข้ภาวะนี้ "บอดวัตถุ" คือไม่เข้าใจว่าวัตถุที่เห็นคืออะไร มีประโยชน์อะไร และต้องใช้ระบบประสาทอื่นๆ นอกจากการเห็นเพื่อจะรู้จำวัตถุ ตัวอย่างเช่นต้องลูบคลำ แตะเบาๆ ดมกลิ่น หรือเขย่าวัตถุนั้น ซึ่งอาจจะทำให้เข้าใจวัตถุนั้นว่าคืออะไร |
บางครั้งเรียกว่า Expressive Agnosia เป็นภาวะเสียการระลึกรู้ประเภทที่คนไข้ไม่สามารถรับรู้สีหน้า ภาษากาย และน้ำเสียง ทำให้ไม่สามารถรับรู้อารมณ์ความรู้สึกของคนอื่นที่ไม่ได้สื่อโดยคำพูดได้ กีดกันคนไข้จากการเข้าสังคมเพราะเหตุนั้น | |
คือความไม่สามารถในการประมวลข้อมูลทางสายตาให้เป็นองค์รวม แทนที่จะทำอย่างนั้นได้ คนไข้ประมวลใบหน้า ร่างกาย วัตถุ ห้อง สถานที่ และรูปภาพทีละอย่างๆ เมื่อมองดูภาพ คนไข้สามารถกล่าวถึงส่วนต่างๆ ของภาพนั้น แต่มีความยากลำบากในการเข้าใจภาพโดยองค์รวม ภาวะนี้เป็นส่วนหนึ่งของ แต่ก็อาจจะเกิดขึ้นเพราะความบาดเจ็บในสมอง | |
ภาวะเสียการระลึกรู้โดยสัมผัส (Tactile agnosia) | เป็นความเสียหายในความสามารถที่จะรู้จำวัตถุโดยการจับต้องเพียงอย่างเดียว |
ภาวะเสียการระลึกรู้เวลา (Time agnosia) | คือการสูญเสียความเข้าใจในลำดับและช่วงเวลาของเหตุการณ์ต่างๆ |
(ภาวะงุนงนสับสนภูมิประเทศ) | รู้จักอีกอย่างหนึ่งว่า Topographical agnosia (ภาวะเสียการระลึกรู้ภูมิประเทศ) หรือ Topographagnosia ซึ่งเป็นภาวะเสียการระลึกรู้ทางตาแบบหนึ่งที่คนไข้ไม่สามารถอาศัยสิ่งที่เห็นทางตาเพื่อจะนำทางไปได้ เนื่องจากความไม่สามารถที่จะรู้จำวัตถุ แต่ว่า คนไข้อาจจะมีความสามารถที่เยี่ยมในการพรรณนาถึงแผนผังของสถานที่เดียวกัน คนไข้ภาวะนี้มีความสามารถในการอ่านแผนที่ แต่จะหลงทางแม้ในสิ่งแวดล้อมที่คุ้นเคย |
เป็นการสูญเสียความรู้สึกว่า "อยู่ที่ไหน" เกี่ยวกับตำแหน่งของตัวเองกับสิ่งแวดล้อม หรือของวัตถุกับวัตถุ ภาวะนี้มักจะมีความสัมพันธ์กับ | |
ภาวะเสียการระลึกรู้ทางตา (Visual agnosia) | เป็นภาวะที่สัมพันธ์กับรอยโรคในสมองกลีบท้ายทอยซีกซ้ายและสมองกลีบขมับ ภาวะนี้มีหลายประเภทที่เกี่ยวข้องกับความไม่สามารถในการรู้จำวัตถุ |
ภาวะเสียการระลึกรู้ทางตา
ภาวะเสียการระลึกรู้ทางตา (Visual agnosia) เป็นกลุ่มของภาวะต่างๆ ที่คนไข้มีความบกพร่องในการรู้จำวัตถุทางตา ภาวะนี้สามารถแบ่งออกเป็นประเภทย่อย 2 อย่างคือ แบบวิสัญชาน (apperceptive visual agnosia) และแบบสัมพันธ์ (associative visual agnosia)
คนไข้แบบวิสัญชานสามารถเห็นเส้นรูปร่างของวัตถุ แต่มีปัญหาถ้าต้องแยกประเภทวัตถุ เป็นภาวะที่เกี่ยวข้องกับความเสียหายในสมองซีกหนึ่ง โดยเฉพาะในส่วนหลังของซีกขวา เปรียบเทียบกับคนไข้แบบสัมพันธ์ ผู้มีปัญหาในการบอกชื่อของวัตถุและมีความเสียหายในทั้งสมองซีกซ้ายทั้งซีกขวา ที่จุดเชื่อมของสมองกลีบท้ายทอยและสมองกลีบขมับ.
รูปแบบอย่างหนึ่งของแบบสัมพันธ์ก็คือ ภาวะบอดใบหน้า (Prosopagnosia) ซึ่งเป็นความไม่สามารถรู้จำใบหน้า ยกตัวอย่างเช่น คนไข้อาจมีปัญหาในการรู้จำเพื่อนๆ สมาชิกในครอบครัว และเพื่อนร่วมทำงาน ถึงอย่างนั้น คนไข้ภาวะนี้ยังสามารถรู้จำวัตถุอื่นๆ ทางตาได้
การตรวจโรค
เพื่อจะตรวจว่าคนไข้มีภาวะนี้หรือไม่ ต้องตรวจว่า คนไข้ไม่ได้มีการสูญเสียความรู้สึกทางประสาท และว่า ทั้งความสามารถต่างๆ ในเรื่องภาษาและในเชาวน์ปัญญา ไม่มีความเสียหาย เพื่อจะวินิจฉัยว่ามีภาวะเสียการระลึกรู้ คนไข้ต้องมีความบกพร่องในประสาททางเดียว (มีทางตาหรือหูเป็นต้น)
แยกแยะระหว่างแบบวิสัญชานกับแบบสัมพันธ์
เพื่อจะทำการวินิจฉัย ต้องแยกว่า เป็นภาวะแบบวิสัญชานหรือแบบสัมพันธ์ ซึ่งสามารถทำได้โดยให้คนไข้ทำข้อทดสอบในการลอกรูปแบบและจับคู่รูปแบบ ถ้าคนไข้มีภาวะแบบวิสัญชาน ก็จะไม่สามารถจับคู่รูปแบบที่เหมือนกัน
ในขณะเดียวกัน คนไข้มีภาวะแบบสัมพันธ์ ก็จะไม่สามารถจับคู่ตัวกระตุ้นตัวเดียวกันที่ปรากฏต่างๆ กัน ยกตัวอย่างเช่น คนไข้ที่ถูกวินิจฉัยว่ามีภาวะนี้ทางตาอย่างเดียว ก็จะไม่สามารถจับคู่รูปของโน้ตบุ๊กที่เปิดอยู่กับที่ปิดอยู่ได้
วินิจฉัยภาวะบอดใบหน้า
คนไข้ภาวะบอดใบหน้า มักจะรับการตรวจสอบโดยแสดงรูปของใบหน้ามนุษย์ที่มีความคุ้นเคย เช่นของดารา นักร้อง นักการเมืองที่มีชื่อเสียง และของสมาชิกในครอบครัว รูปที่ใช้จะเป็นรูปที่เหมาะสมต่อวัยและวัฒนธรรม คนตรวจจะถามคนไข้ให้บอกชื่อของแต่ละใบหน้า ถ้าคนไข้ไม่สามารถบอกชื่อของใบหน้าในรูปภาพ คนตรวจอาจจะถามคำถามที่ช่วยในการรู้จำใบหน้าในรูปภาพ
เหตุ
ภาวะเสียการระลึกรู้อาจจะเกิดจากโรคลมปัจจุบัน ภาวะสมองเสื่อม หรืออย่างอื่นๆ และก็อาจจะเกิดจากความบาดเจ็บที่ศีรษะ การอักเสบในสมอง หรือพันธุกรรม นอกจากนั้นแล้ว ประเภทบางอย่างของภาวะนี้ อาจจะเกิดจากโรคในช่วงพัฒนาการ (developmental disorder) ความเสียหายที่จะทำให้เกิดภาวะนี้ได้ มักจะเกิดที่สมองกลีบท้ายทอยหรือสมองกลีบข้าง แม้ว่าการระลึกรู้ทางประสาททางหนึ่งอาจจะมีปัญหา (เช่นทางตา) แต่ว่าความสามารถในการรับรู้ต่างๆ อย่างอื่นจะไม่มีปัญหา
พบว่า คนไข้ที่ได้คืนการเห็นจากความบอดอย่างไม่คาดคิด จะมีภาวะเสียการระลึกรู้อย่างสำคัญ หรืออย่างบริบูรณ์
การรักษา
โดยแนวการปฏิบัติ ไม่มีวิธีรักษาโดยตรงสำหรับผู้มีภาวะนี้ คนไข้อาจจะกระเตื้องขึ้นถ้าแสดงตัวกระตุ้นให้ทางประสาทอื่นที่ไม่ได้เสียหาย การบำบัดบางอย่างอาจช่วยบรรเทาอาการต่างๆ ของภาวะนี้ ในบางกรณี กิจกรรมบำบัดหรือ (speech therapy) สามารถทำภาวะนี้ให้ดีขึ้น โดยขึ้นอยู่กับสมุฏฐานของโรค
ในเบื้องต้น คนไข้หลายท่านที่มีภาวะเสียการระลึกรู้บางประเภท อาจจะไม่รู้ถึงระดับขอบเขตของความบกพร่องในการรับรู้หรือการรู้จำของตน ซึ่งอาจเป็นเพราะมีภาวะเสียสำนึกความพิการ (Anosognosia) ที่คนไข้ปราศจากการรับรู้ความบกพร่องนั้น และทำให้คนไข้ปฏิเสธหรือต่อต้านการช่วยเหลือและการรักษา
มีวิธีหลายอย่างที่สามารถช่วยคนไข้ให้รู้ถึงความเสียหายในการรับรู้หรือการรู้จำที่มี เช่น แสดงตัวกระตุ้นเพียงแต่ในทางประสาทที่คนไข้มีปัญหาเท่านั้น เพื่อช่วยเพิ่มความรู้สึกตัวถึงความบกพร่องของตน หรืออีกวิธีหนึ่งโดยเฉพาะสำหรับกิจกรรมที่คนไข้มีปัญหา คือให้แยกกิจกรรมนั้นเป็นส่วนย่อยๆ เพื่อชี้ให้คนไข้เห็นว่า มีปัญหาอยู่ที่ส่วนไหน
เมื่อคนไข้ยอมรับว่ามีความบกพร่องทางการรับรู้หรือการรู้จำ จึงอาจแนะนำการรักษาแบบใดแบบหนึ่ง กลวิธีการรักษาที่สามารถช่วยได้นั้นมีหลายอย่าง เช่น กลวิธีการทดแทนโดยใช้ทางประสาทอื่น กลวิธีคำพูด กลวิธีตัวช่วยอย่างอื่น หรือกลวิธีการจัดระเบียบ
กลวิธีการทดแทนโดยใช้ทางประสาทอื่น
กลวิธีทดแทนโดยใช้ทางประสาทอื่น คือการใช้ทางประสาทที่ไม่เสียหายเพื่อทดแทนทางประสาทที่เสียหาย ยกตัวอย่างเช่น คนไข้ภาวะเสียการระลึกรู้ทางตาอาจจะใช้ข้อมูลสัมผัสแทนที่ข้อมูลทางตา หรือว่า คนไข้ภาวะบอดใบหน้าอาจใช้ข้อมูลทางหูเพื่อทดแทนข้อมูลทางตา ตัวอย่างเช่น คนไข้ภาวะบอดใบหน้าสามารถรอให้บุคคลเป้าหมายพูด เพื่อที่จะรู้จำบุคคลนั้นได้จากการพูด
กลวิธีคำพูด
กลวิธีคำพูดอาจช่วยผู้มีภาวะเสียการระลึกรู้บางอย่าง คนไข้ภาวะบอดใบหน้าอาจได้ประโยชน์ในการฟังคำพรรณนาถึงเพื่อนๆ และสมาชิกในครอบครัว แล้วรู้จำบุคคลเหล่านั้นด้วยลักษณะต่างๆ ในคำพรรณนานั้น ซึ่งอาจง่ายกว่าการสังเกตลักษณะอื่นๆ เองทางตา
กลวิธีตัวช่วยอย่างอื่น
กลวิธีตัวช่วยอย่างอื่นอาจจะมีประโยชน์อย่างยิ่งสำหรับผู้มีภาวะไม่รู้สิ่งแวดล้อม (Environmental Agnosia) หรือภาวะบอดใบหน้า ตัวช่วยสำหรับผู้มีภาวะไม่รู้สิ่งแวดล้อมอาจจะเป็นสีหรือตัวช่วยทางสัมผัส ที่เป็นสัญลักษณ์สำหรับห้องใหม่ๆ หรือเขตและพื้นที่เพื่อช่วยกระตุ้นความทรงจำ ส่วนตัวช่วยสำหรับคนไข้ภาวะบอดใบหน้ามีลักษณะที่ไม่ทั่วไปเป็นต้นว่า แผลเป็นบนใบหน้าหรือฟันที่คด เพื่อจะช่วยให้รู้จำบุคคลนั้นได้
กลวิธีการจัดระเบียบ
กลวิธีการจัดระเบียบอาจจะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งสำหรับคนไข้ภาวะเสียการระลึกรู้ทางตา (visual agnosia) ตัวอย่างเช่น จัดระเบียบเสื้อผ้าโดยใช้ที่แขวนที่แตกต่างกันเพื่อเป็นตัวช่วยทางสัมผัส ทำให้ง่ายในการหาเสื้อผ้าบางชนิด เปรียบเทียบกับการอาศัยเพียงแต่ตัวช่วยทางตาเท่านั้น
ประวัติ
ศัพท์ว่า "agnosia" (ภาวะเสียการระลึกรู้) ถูกใช้เป็นครั้งแรกโดยซิกมันด์ ฟรอยด์ ในปี ค.ศ. 1891 ว่า
สำหรับความปั่นป่วนในการรู้จำวัตถุต่างๆ ซึ่งฟิงเกลน์เบอร์กได้จัดเป็นประเภท asymbolia (ไม่รู้เครื่องหมาย) ข้าพเจ้าขอเสนอศัพท์ว่า agnosia
ก่อนการเสนอศัพท์นี้ของฟรอยด์ ความคิดเรื่องภาวะเสียการระลึกรู้มาจากเวอร์นิเก (ผู้ค้นพบ ในสมอง) ผู้ตั้งทฤษฎีเกี่ยวกับ (receptive aphasia) ขึ้นในปี ค.ศ. 1874 ซึ่งตั้งข้อสังเกตว่า คนไข้ภาวะเสียการสื่อความด้านรับ ไม่สามารถเข้าใจคำพูดหรือกล่าวตามคำต่างๆ ได้ เวอร์นิเกเชื่อว่า ภาวะเสียการสื่อความด้านรับเกิดจากรอยโรคในส่วน 1/3 ท้ายของ รอยนูนกลีบขมับบน (superior temporal gyrus) และเพราะรอยโรคเหล่านี้ จึงเชื่อว่า คนไข้เหล่านี้มีความหนวกแบบจำกัดสำหรับเสียงบางอย่างและความถี่เสียงบางระดับในคำพูด
หลังจากเวอร์นิเก ในปี ค.ศ. 1877 กุสมอล์ได้พยายามอธิบายเหตุของ (Auditory verbal agnosia) ที่เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ภาวะหนวกศัพท์ (word deafness) แต่โดยไม่เหมือนกับคำอธิบายของเวอร์นิเก กุสมอล์เชื่อว่า ภาวะนี้เกิดจากความเสียหายอย่างสำคัญต่อ "ส่วนแรก" ซีกซ้าย และได้ออกความคิดเห็นเกี่ยวกับการกำเนิดของ (Alexia) ซึ่งรู้จักอีกอย่างหนึ่งว่า ภาวะบอดศัพท์ (word blindness) ว่า เกิดจากรอยโรคที่รอยนูนแองกูลาร์ (angular gyrus) และที่ Supramarginal gyrus ซีกซ้าย
ส่วนเฮ็นริค ลิสเซาร์ ได้ให้ความคิดของเขาเกี่ยวกับภาวะเสียการระลึกรู้หลังเวอร์นิเกและกุสมอล์ ในปี ค.ศ. 1890 เขาได้ตั้งทฤษฎีขึ้นว่า มี 2 แบบ ที่การรู้จำวัตถุสามารถเกิดความเสียหายได้ คือ มีความเสียหายต่อการประมวลผลเพื่อการรับรู้ในระยะต้น หรือว่า มีความเสียหายต่อตัวแทนของวัตถุ (object representation) นั้น ถ้าตัวแทนวัตถุมีความเสียหาย วัตถุนั้นจะไม่สามารถบันทึกลงในความทรงจำทางตาได้ และดังนั้น บุคคลนั้นก็จะไม่สามารถรู้จำวัตถุนั้นได้
ในสมัยของเวอร์นิเก กุสมอล์ และลิสเซาร์ พวกเขายังไม่มีความรู้เกี่ยวกับเปลือกสมอง แต่ในปัจจุบันนี้ ด้วยเทคนิคการสร้างภาพประสาท (neuroimaging) ต่างๆ เราสามารถที่จะเพิ่มพูนความรู้เกี่ยวกับภาวะเสียการระลึกรู้ได้อย่างกว้างขวาง
กรณีศึกษา
ดีเอ็ฟ
คนไข้ชื่อว่าดีเอ็ฟมีความเสียหายในสมองในทางสัญญาณด้านล่างของระบบการเห็น แต่ว่าทางสัญญาณด้านหลังของดีเอ็ฟไม่เป็นอะไร ความเสียหายทางสัญญาณด้านล่างทำให้ดีเอ็ฟเกิดภาวะเสียการระลึกรู้ทางตา ดีเอ็ฟมีปัญหาในการรู้จำทางตา ไม่สามารถรู้จำวัตถุง่ายๆ และไม่สามารถแยกแยะวัตถุต่างๆ จากกันได้ นอกจากนั้นแล้ว ดีเอ็ฟไม่สามารถบอกทิศทางหรือความกว้างของวัตถุ
แต่ว่า ดีเอ็ฟสามารถสามารถลอกแบบทิศทางของเส้นหนึ่งๆ ได้ เมื่อมีเวลาไม่จำกัด ในอีกการทดสอบหนึ่ง ผู้ทดสอบให้ดีเอ็ฟมองดูสี่เหลี่ยมจัตุรัสและรูปกลมรี แล้วถามว่า วัตถุไหนเป็นสี่เหลี่ยมจัตุรัสและวัตถุไหนเป็นรูปกลมรี ในกรณีที่ดีเอ็ฟสามารถหยิบวัตถุนั้นขึ้นมาได้ เธอก็จะสามารถบอกได้ว่า วัตถุไหนเป็นอะไร แต่ถ้าไม่สามารถ เธอก็ไม่สามารถบอกความแตกต่างของวัตถุเหล่านั้นได้
ดร.พี
โอลิเวอร์ แซคส์ ผู้เป็นนักประสาทวิทยา ได้กล่าวถึงคนไข้ที่น่าสนใจของเขาผู้ชื่อว่า ดร.พี ดร.พีเป็นบุคคลทั่วๆ ไปผู้เป็นครูสอนดนตรีในระดับมหาวิทยาลัย ที่ในปัจจุบันรู้จักกันว่า "ชายผู้สับสนภรรยาของตนว่าเป็นหมวก" เขามีปัญหาในการรู้จำนักศึกษาผู้เข้ามาหาเขา ต่อเมื่อนักศึกษาเหล่านั้นพูด เขาจึงจะสามารถบอกว่านักศึกษาเหล่านั้นเป็นใคร ดร.พีไม่สามารถเห็นภาพโดยองค์รวมและสามารถเพียงแต่สังเกตดูลักษณะเฉพาะอย่างๆ ของรูปภาพ หรือส่วนเล็กๆ ของภาพเท่านั้น
ยกตัวอย่างเช่น ในรูปที่แสดงทิวทัศน์หลายอย่างรวมทั้งทะเลสาบ ภูเขา และป่าไม้ เขาสามารถที่จะสังเกตดูเพียงแค่ภูเขาเท่านั้น หลังจากการนัดเจอกับคุณหมอแซคส์ครั้งหนึ่ง ดร.พีลุกขึ้นและพยายามที่จะยกเอาศีรษะของภรรยาของตนขึ้นเพราะคิดว่า ศีรษะของเธอเป็นหมวกของเขา ดร.พีมีภาวะเสียการระลึกรู้ทางตาประเภทหนึ่ง แต่โดยเฉพาะเจาะจงก็คือภาวะบอดใบหน้า นอกจากนั้นแล้ว เขายังมีกลุ่มอาการละเลย (neglect syndrome) รูปแบบหนึ่ง ซึ่งแสดงให้เห็นเมื่อให้เขาจินตนาการเดินไปตามทางระเบียง เขาก็จะพรรณนาแต่ด้านขวาของทางเดินเท่านั้นและละเลยด้านซ้าย
ดู
- ภาวะเสียการระลึกรู้ทางตา (Visual agnosia)
- ภาวะเสียการสื่อความ (Aphasia)
- (Apraxia)
- (Auditory agnosia)
- (Auditory verbal agnosia) หรือเรียกว่า ภาวะหนวกคำล้วนๆ
หมายเหตุและอ้างอิง
- http://dictionary.webmd.com/terms/agnosia
- http://dictionary.reference.com/browse/agnosia
- http://brainmind.com/Agnosia.html
- Kolb & Whishaw: Fundamentals of Human Neuropsychology, 2003
- Burns, MS (2004). "Clinical management of agnosia". Top Stroke Rehabil. 11 (1): 1–9. doi:10.1310/N13K-YKYQ-3XX1-NFAV. PMID 14872395. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-01-28. สืบค้นเมื่อ 2013-10-07.
- . National Institute of Neurological Disorders and Stroke. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-04-08. สืบค้นเมื่อ 28 March 2012.
- Zeki, S (1991). "Cerebral akinetopsia (visual motion blindness)". Brain. 114: 811–824.
- Riddoch MJ, Humphreys GW (May 2003). "Visual agnosia". Neurol Clin. 21 (2): 501–20. PMID 12916489.
- Goldstein, Marvin N. (1974). "Auditory agnosia for speech ("pure word-deafness")". Brain and Language. 1 (2): 195–204. doi:10.1016/0093-934X(74)90034-0. ISSN 0093-934X.
- Vignolo, L. A (1982). "Auditory Agnosia". Biological Sciences. 298: 49–57.
- Cowey A, Alexander I, Heywood C, Kentridge R (August 2008). "Pupillary responses to coloured and contourless displays in total cerebral achromatopsia". Brain. 131 (Pt 8): 2153–60. doi:10.1093/brain/awn110. PMID 18550620.
{{}}
: CS1 maint: multiple names: authors list () - Woodward, T. S; M. J Dixon; K. T Mullen; K. M Christensen; D. N. Bub (1999). "Analysis of errors in color agnosia: A single case study". Neurocase. 5: 95–108.
- Van Lancker DR, Cummings JL, Kreiman J, Dobkin BH (June 1988). "Phonagnosia: a dissociation between familiar and unfamiliar voices". Cortex. 24 (2): 195–209. PMID 3416603.
{{}}
: CS1 maint: multiple names: authors list () - Cherney LR (2004). "Aphasia, alexia, and oral reading". Top Stroke Rehabil. 11 (1): 22–36. doi:10.1310/VUPX-WDX7-J1EU-00TB. PMID 14872397.
- Sakurai, Y (2004). "Varieties of alexia from fusiform, posterior inferior temporal and posterior occipital gyrus". Behavioural Neurology. 15: 35–50.
- Magnié MN, Ferreira CT, Giusiano B, Poncet M (January 1999). "Category specificity in object agnosia: preservation of sensorimotor experiences related to objects". Neuropsychologia. 37 (1): 67–74. doi:10.1016/S0028-3932(98)00045-1. PMID 9920472.
{{}}
: CS1 maint: multiple names: authors list () - Coslett HB, Saffran E (August 1991). "Simultanagnosia. To see but not two see". Brain. 114 ( Pt 4): 1523–45. doi:10.1093/brain/114.4.1523. PMID 1884165.
- Rizzo M, Vecera SP (February 2002). "Psychoanatomical substrates of Bálint's syndrome". J. Neurol. Neurosurg. Psychiatr. 72 (2): 162–78. doi:10.1136/jnnp.72.2.162. PMC 1737727. PMID 11796765.
- Reed CL, Caselli RJ, Farah MJ (June 1996). "Tactile agnosia. Underlying impairment and implications for normal tactile object recognition". Brain. 119 (3): 875–88. doi:10.1093/brain/119.3.875. PMID 8673499.
{{}}
: CS1 maint: multiple names: authors list () - Mendez, Mario F; Cherrier, Monique M (2003). "Agnosia for scenes in topographagnosia". Neuropsychologia. 41 (10): 1387–1395. doi:10.1016/S0028-3932(03)00041-1.
- Cogan DG (September 1979). "Visuospatial dysgnosia". AM. J. Ophthalmol. 88 (3 Pt 1): 361–368. PMID 225955.
- Greene JD (December 2005). "Apraxia, agnosias, and higher visual function abnormalities". J. Neurol. Neurosurg. Psychiatr. 76 (Suppl 5): v25–34. doi:10.1136/jnnp.2005.081885. PMC 1765708. PMID 16291919.
- Galotti, Kathleen M. (2010). Cognitive psychology : in and out of the laboratory (1st Canadian ed.). Canada: Nelson. ISBN .
- Silverman, Jay Friedenberg, Gordon. Cognitive science : an introduction to the study of mind (2nd ed.). Thousand Oaks, Calif.: SAGE. ISBN .
- "The New Yorker: From the Archives: Content". จากแหล่งเดิมเมื่อ 2006-08-31. สืบค้นเมื่อ 2010-05-05.
mentally blind, or agnosic—able to see but not to decipher what he was seeing.
- Freud, Sigmund, Zur Auffassung der Aphasien, Vienna, 1891, p. 80
- Vecera, P. S; Gilds, S. K (1998). "What processing is impaired in appreceptive agnosia? Evidence from normal subjects". Journal of Cognitive Neuroscience. 10 (5): 568–580. doi:10.1162/089892998562979. PMID 9802990.
- Schenk, T (2006). "An allocentric rather than perceptual deficit in patient D.F". Nature Neuroscience. 11 (9): 1369–1370. doi:10.1038/nn1784.
- Milner, D (1998). "Streams and consciousness: visual awareness and the brain". Trends in Cognitive Sciences. 2 (1): 25–30. doi:10.1016/S1364-6613(97)01116-9. PMID 21244959.
- Pinel, John P.J. Biopsychology (8th ed.). Boston: Allyn & Bacon. ISBN .
แหล่งข้อมูลอื่น
- Types and brain areas 2005-12-18 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- Total Recall: Memory Requires More than the Sum of Its Parts (accessdate 2007-06-05)
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
phawaesiykarralukru hrux phawaimru xngkvs Agnosia macakphasakrikobranwa ἀgnwsia sungaeplwa khwamimru hrux khwamprascakkhwamru khawa gnosis thiimmi a khanghna aeplwa khwamrukhwamekhaicineruxnglilbechncitwiyyanepntn epnkarsuyesiykhwamsamarthinkarrucawtthu bukhkhl esiyng ruprang hruxklin inkhnathikarrbruthangprasathechphaaxyang immikhwamesiyhay aelaimmikarsuyesiykhwamthrngcaepnsakhy epnphawathipktimikhwamekiywkhxngkb hrux odyechphaaxyangying hlngcakekidkhwamesiyhayin ekhtbrxdaemnn 37 khuxchwngtxrahwangsmxngklibthaythxyaelasmxngklibkhmb occipitotemporal area sungepnswnkhxngthangsyyandanlangkhxngrabbkarehnphawaesiykarralukru Agnosia phawaesiykarralukruepnehtuihkhnikhesiykhwamsamarthinkarrucahruxekhaickhwamhmaykhxngwtthu aemwaprasathrbkhwamrusukcaepnpktibychicaaenkaelalingkipphaynxkICD 10F80 2 F88 0 and R48 1ICD 784 69agnosia MeSHD000377rupaesdngthangsyyandanhlng siekhiyw aelathangsyyandanlang simwng thangsyyanthngsxngnnerimtnmacakthiediywkninkhxrethkssayta phawaesiykarralukruekidcakkhwamesiyhaykhxngthangsyyandanlang phawaimrucamiphlkbkarrbruthangprasathxyangediywethann echnkarehnhruxkaridyinpraephthchux khaxthibayphawabxdkhwamekhluxnihw Akinetopsia hruxruckknwa phawabxdkhwamekhluxnihwehtusmxng Cerebral akinetopsia epnkhwamimsamarthehnkhwamekhluxnihw ehtuxyanghnungkhxngphawanikhuxrxyorkhinkhxrethkssaytanxkkhxrethkslayphawaesiysanukkhwamphikar Anosognosia epnphawathiimsamarthekhathungkhxmulpxnklb feedback ekiywkbphawakhxngtn aelabangkhrngsbsnkbkhwamimmikhwamekhaic aetkhwamcringekidkhuncakpyhainklikekiywkbkhxmulpxnklbinsmxng ekidkhuncakkhwamesiyhaythangprasath aelasamarthekidkhunrwmkbkhwambkphrxngthangprasathxyangxun odymakaelw trwcphbinkhnikhthisngiphaaephthyinkrnixmphatephraaorkhlmpccubn stroke phumiphawaniphrxmkbkhwambkphrxngxyangxun xaccarbrukhwambkphrxngbangxyangkhxngtn aetimsamarthrbrukhwambkphrxngthukxyangodysinechingphawaesiykarralukruthangtaaebbwisychan apperceptive visual agnosia khuxkhnikhimsamarthcaaenkruprangtang thangta aelamipyhainkarruca karlxkaebbrupphaph aelakaraeykaeyarahwangtwkratuntang thangta odythitangcakkhnikhphawaesiykarralukruthangtaaebbsmphnth associative visual agnosia khnikhaebbwisychanimsamarthlxkaebbrupphaphtang idelyphawaesiykarralukruthangtaaebbsmphnth associative visual agnosia khuxkhnikhsamarthphrrnnathungthsniyphaphthangtaaelapraephthtang khxngwtthuid aetimsamarthrucawtthuehlannid khuximruwaepnxair twxyangechn khnikhxaccaruwasxmnnexaiwichthanxahar aetxaccasbsnsxmodyehnwaepnchxn khnikhmiphawanisamarthlxkaebbrupphaphidAstereognosis hruxruckknwa phawaesiykarralukrukhwamrusukthangkay Somatosensory agnosia epnphawathiekiywkhxngkbkhwamrusuksmphs khnikhxaccamipyhainkarrucawtthuodykarsmphsthiichephuxcaruenuxkhxngwtthu texture khnad aelanahnk aetwa xaccasamarthphrrnnathungwtthuodykhaphud hruxrucawtthunnodyphaph aelasamarthwadrupwtthunnid mikarsnnisthanwa epnphawaekidcakrxyorkhhruxkhwamesiyhayinkhxrethksrbkhwamrusukthangkay somatosensory cortex Auditory agnosia epnphawathiruckknmatngaetpi kh s 1877 khnikhphawanimipyhainkaraeykaeyaesiynginsingaewdlxmaelakhaphud rwmthngpyhakaraeykaeyaesiyngphudaelaesiyngthiimichkhaphudaemwakaridyincaepnpkti phawanimi 2 praephth khux aebbsmphnthkhwamhmay semantic associative aelaaebbaeykaeya discriminative aebbsmphnthkhwamhmay mikhwamekiywkhxngkbrxyorkhinsmxngsiksay epriybethiybkb aebbaeykaeyasungmikhwamekiywkhxngkbrxyorkhinsmxngsikkhwa Auditory verbal agnosia hruxruckknwa phawahnwkkhalwn Pure Word Deafness epnphawathimikhwamhnwkinkhwamhmaykhxngkha khux karidyinimmipyhaxair aetmipyhaxyangsakhyinkarrucakhaphudwamikhwamhmayxairekiywkbkhwamimsamarthepliynthisthangkhxngxwywainrangkay aelamkekidkhunephraarxyorkhinsmxngklibkhang Cerebral achromatopsia hruxruckknxikxyanghnungwa Color agnosia sungekiywkhxngkbkaraeykpraephthkhxngsidwy ekiywkbkarrucasidwy phawanimkcaekidephraakhwamesiyhaythangprasath miekht 2 ekhtinsmxngthimikicechphaainkarrucasi khuxekhtsayta V4 aela thamirxyorkhkhangediywinekht V4 kcaekidkarsuyesiykarrbrusisungeriykwa hemiachromatopsia phawabxdsikhangediyw Cortical deafness hmaythungkhnikhphuimsamarthrbrukhxmulthanghu aemwaxwywakhuxhucaimpraktwamipyhaphawaimrusingaewdlxm Environmental Agnosia epnkhwamimsamarthbngbxktaaehnngkhxnghxnghruxxakharthimikhwamkhunekhy aelakhwamimsamarthbxkesnthangipyngsthanthiaehnghnung khnikhphawanimipyhainkareriynruesnthang mkekiywkhxngkbrxyorkhinsmxngthngsxngsikhruxsikkhwasikediywthangdanhlng aelayngmikhwamekiywkhxngkbphawabxdibhna prosopagnosia aelaorkhpharkinsn Finger agnosia epnkhwamimsamarththicaaeykaeyaniwmuxthngkhxngtnaelakhxngphuxunid miehtukhuxrxyorkhinsmxngklibkhangindansiksmxngthiepnihy khuxkhnthndkhwacamismxngsiksayepnihy aelaepnxngkhprakxbxyanghnungkhxngphawaimruruprang Form agnosia khnikhrbruidaetraylaexiydepnswn aetimsamarthrbruwtthuodyxngkhrwmthngwtthuidodypktiaelwkhnikhphawaesiykarralukrumkcaepnaebbsmphnth associative hruxaebbwisychan appreceptive aetwainaebb integrative khnikhmikhwamsamarthradbthixyuinrahwangaebbsmphnth aelaaebbwisychan khuxamarthrucaxngkhprakxbkhxngwtthuid aetimsamarthprasanxngkhprakxbehlannihepnwtthuodyxngkhrwmephuxthicarucaidphawaesiykarralukrukhwamecbpwd Pain agnosia bangkhrngeriykwa khnikhmipyhainkarrbruaelapramwlphlekiywkbkhwamecbpwd misnnisthanwa epnphawathiepnmulthankhxngkartharaytwexngbangpraephthepnkhwamimsamarthrucaesiyngthikhunekhyid aemwaphufngcasamarthekhaickhathiphudidphawabxdibhna Prosopagnosia khnikhimsamarthrucaibhnathikhunekhyiddwycititsanuk aelainbangkrniaemaetcaepnibhnakhxngtn bangkhrngsbsnkbkhwamimsamarthcachux Pure alexia epnkhwamimsamarthinkarrucahnngsux khnikhphawanibxykhrngmikhwamesiyhayin corpus callosum aelatxekhtsaytasmphnthkhxngsmxngsiksay phawaniepnkhwamimsamarthinkarxanhnngsux aetyngekhiynhnngsuxid khnikhmkcaxankhainhnngsuxthilaxksr aetwa khwampraktbxy khxngkha miphltxkarxan khnikhsamarthxankhathipraktbxyiddikwaaelaerwkwakhathiekidkhunimbxyphawaesiykarralukrukhwamhmay Semantic agnosia khnikhphawani bxdwtthu khuximekhaicwawtthuthiehnkhuxxair mipraoychnxair aelatxngichrabbprasathxun nxkcakkarehnephuxcarucawtthu twxyangechntxnglubkhla aetaeba dmklin hruxekhyawtthunn sungxaccathaihekhaicwtthunnwakhuxxairbangkhrngeriykwa Expressive Agnosia epnphawaesiykarralukrupraephththikhnikhimsamarthrbrusihna phasakay aelanaesiyng thaihimsamarthrbruxarmnkhwamrusukkhxngkhnxunthiimidsuxodykhaphudid kidknkhnikhcakkarekhasngkhmephraaehtunnkhuxkhwamimsamarthinkarpramwlkhxmulthangsaytaihepnxngkhrwm aethnthicathaxyangnnid khnikhpramwlibhna rangkay wtthu hxng sthanthi aelarupphaphthilaxyang emuxmxngduphaph khnikhsamarthklawthungswntang khxngphaphnn aetmikhwamyaklabakinkarekhaicphaphodyxngkhrwm phawaniepnswnhnungkhxng aetkxaccaekidkhunephraakhwambadecbinsmxngphawaesiykarralukruodysmphs Tactile agnosia epnkhwamesiyhayinkhwamsamarththicarucawtthuodykarcbtxngephiyngxyangediywphawaesiykarralukruewla Time agnosia khuxkarsuyesiykhwamekhaicinladbaelachwngewlakhxngehtukarntang phawangunngnsbsnphumipraeths ruckxikxyanghnungwa Topographical agnosia phawaesiykarralukruphumipraeths hrux Topographagnosia sungepnphawaesiykarralukruthangtaaebbhnungthikhnikhimsamarthxasysingthiehnthangtaephuxcanathangipid enuxngcakkhwamimsamarththicarucawtthu aetwa khnikhxaccamikhwamsamarththieyiyminkarphrrnnathungaephnphngkhxngsthanthiediywkn khnikhphawanimikhwamsamarthinkarxanaephnthi aetcahlngthangaeminsingaewdlxmthikhunekhyepnkarsuyesiykhwamrusukwa xyuthiihn ekiywkbtaaehnngkhxngtwexngkbsingaewdlxm hruxkhxngwtthukbwtthu phawanimkcamikhwamsmphnthkbphawaesiykarralukruthangta Visual agnosia epnphawathismphnthkbrxyorkhinsmxngklibthaythxysiksayaelasmxngklibkhmb phawanimihlaypraephththiekiywkhxngkbkhwamimsamarthinkarrucawtthuphawaesiykarralukruthangta phawaesiykarralukruthangta Visual agnosia epnklumkhxngphawatang thikhnikhmikhwambkphrxnginkarrucawtthuthangta phawanisamarthaebngxxkepnpraephthyxy 2 xyangkhux aebbwisychan apperceptive visual agnosia aelaaebbsmphnth associative visual agnosia khnikhaebbwisychansamarthehnesnruprangkhxngwtthu aetmipyhathatxngaeykpraephthwtthu epnphawathiekiywkhxngkbkhwamesiyhayinsmxngsikhnung odyechphaainswnhlngkhxngsikkhwa epriybethiybkbkhnikhaebbsmphnth phumipyhainkarbxkchuxkhxngwtthuaelamikhwamesiyhayinthngsmxngsiksaythngsikkhwa thicudechuxmkhxngsmxngklibthaythxyaelasmxngklibkhmb rupaebbxyanghnungkhxngaebbsmphnthkkhux phawabxdibhna Prosopagnosia sungepnkhwamimsamarthrucaibhna yktwxyangechn khnikhxacmipyhainkarrucaephuxn smachikinkhrxbkhrw aelaephuxnrwmthangan thungxyangnn khnikhphawaniyngsamarthrucawtthuxun thangtaidkartrwcorkhephuxcatrwcwakhnikhmiphawanihruxim txngtrwcwa khnikhimidmikarsuyesiykhwamrusukthangprasath aelawa thngkhwamsamarthtang ineruxngphasaaelainechawnpyya immikhwamesiyhay ephuxcawinicchywamiphawaesiykarralukru khnikhtxngmikhwambkphrxnginprasaththangediyw mithangtahruxhuepntn aeykaeyarahwangaebbwisychankbaebbsmphnth ephuxcathakarwinicchy txngaeykwa epnphawaaebbwisychanhruxaebbsmphnth sungsamarththaidodyihkhnikhthakhxthdsxbinkarlxkrupaebbaelacbkhurupaebb thakhnikhmiphawaaebbwisychan kcaimsamarthcbkhurupaebbthiehmuxnkn inkhnaediywkn khnikhmiphawaaebbsmphnth kcaimsamarthcbkhutwkratuntwediywknthiprakttang kn yktwxyangechn khnikhthithukwinicchywamiphawanithangtaxyangediyw kcaimsamarthcbkhurupkhxngontbukthiepidxyukbthipidxyuid winicchyphawabxdibhna khnikhphawabxdibhna mkcarbkartrwcsxbodyaesdngrupkhxngibhnamnusythimikhwamkhunekhy echnkhxngdara nkrxng nkkaremuxngthimichuxesiyng aelakhxngsmachikinkhrxbkhrw rupthiichcaepnrupthiehmaasmtxwyaelawthnthrrm khntrwccathamkhnikhihbxkchuxkhxngaetlaibhna thakhnikhimsamarthbxkchuxkhxngibhnainrupphaph khntrwcxaccathamkhathamthichwyinkarrucaibhnainrupphaphehtuphawaesiykarralukruxaccaekidcakorkhlmpccubn phawasmxngesuxm hruxxyangxun aelakxaccaekidcakkhwambadecbthisirsa karxkesbinsmxng hruxphnthukrrm nxkcaknnaelw praephthbangxyangkhxngphawani xaccaekidcakorkhinchwngphthnakar developmental disorder khwamesiyhaythicathaihekidphawaniid mkcaekidthismxngklibthaythxyhruxsmxngklibkhang aemwakarralukruthangprasaththanghnungxaccamipyha echnthangta aetwakhwamsamarthinkarrbrutang xyangxuncaimmipyha phbwa khnikhthiidkhunkarehncakkhwambxdxyangimkhadkhid camiphawaesiykarralukruxyangsakhy hruxxyangbriburnkarrksaodyaenwkarptibti immiwithirksaodytrngsahrbphumiphawani khnikhxaccakraetuxngkhunthaaesdngtwkratunihthangprasathxunthiimidesiyhay karbabdbangxyangxacchwybrrethaxakartang khxngphawani inbangkrni kickrrmbabdhrux speech therapy samarththaphawaniihdikhun odykhunxyukbsmutthankhxngorkh inebuxngtn khnikhhlaythanthimiphawaesiykarralukrubangpraephth xaccaimruthungradbkhxbekhtkhxngkhwambkphrxnginkarrbruhruxkarrucakhxngtn sungxacepnephraamiphawaesiysanukkhwamphikar Anosognosia thikhnikhprascakkarrbrukhwambkphrxngnn aelathaihkhnikhptiesthhruxtxtankarchwyehluxaelakarrksa miwithihlayxyangthisamarthchwykhnikhihruthungkhwamesiyhayinkarrbruhruxkarrucathimi echn aesdngtwkratunephiyngaetinthangprasaththikhnikhmipyhaethann ephuxchwyephimkhwamrusuktwthungkhwambkphrxngkhxngtn hruxxikwithihnungodyechphaasahrbkickrrmthikhnikhmipyha khuxihaeykkickrrmnnepnswnyxy ephuxchiihkhnikhehnwa mipyhaxyuthiswnihn emuxkhnikhyxmrbwamikhwambkphrxngthangkarrbruhruxkarruca cungxacaenanakarrksaaebbidaebbhnung klwithikarrksathisamarthchwyidnnmihlayxyang echn klwithikarthdaethnodyichthangprasathxun klwithikhaphud klwithitwchwyxyangxun hruxklwithikarcdraebiyb klwithikarthdaethnodyichthangprasathxun klwithithdaethnodyichthangprasathxun khuxkarichthangprasaththiimesiyhayephuxthdaethnthangprasaththiesiyhay yktwxyangechn khnikhphawaesiykarralukruthangtaxaccaichkhxmulsmphsaethnthikhxmulthangta hruxwa khnikhphawabxdibhnaxacichkhxmulthanghuephuxthdaethnkhxmulthangta twxyangechn khnikhphawabxdibhnasamarthrxihbukhkhlepahmayphud ephuxthicarucabukhkhlnnidcakkarphud klwithikhaphud klwithikhaphudxacchwyphumiphawaesiykarralukrubangxyang khnikhphawabxdibhnaxacidpraoychninkarfngkhaphrrnnathungephuxn aelasmachikinkhrxbkhrw aelwrucabukhkhlehlanndwylksnatang inkhaphrrnnann sungxacngaykwakarsngektlksnaxun exngthangta klwithitwchwyxyangxun klwithitwchwyxyangxunxaccamipraoychnxyangyingsahrbphumiphawaimrusingaewdlxm Environmental Agnosia hruxphawabxdibhna twchwysahrbphumiphawaimrusingaewdlxmxaccaepnsihruxtwchwythangsmphs thiepnsylksnsahrbhxngihm hruxekhtaelaphunthiephuxchwykratunkhwamthrngca swntwchwysahrbkhnikhphawabxdibhnamilksnathiimthwipepntnwa aephlepnbnibhnahruxfnthikhd ephuxcachwyihrucabukhkhlnnid klwithikarcdraebiyb klwithikarcdraebiybxaccaepnpraoychnxyangyingsahrbkhnikhphawaesiykarralukruthangta visual agnosia twxyangechn cdraebiybesuxphaodyichthiaekhwnthiaetktangknephuxepntwchwythangsmphs thaihngayinkarhaesuxphabangchnid epriybethiybkbkarxasyephiyngaettwchwythangtaethannprawtisphthwa agnosia phawaesiykarralukru thukichepnkhrngaerkodysikmnd frxyd inpi kh s 1891 wasahrbkhwampnpwninkarrucawtthutang sungfingeklnebxrkidcdepnpraephth asymbolia imruekhruxnghmay khaphecakhxesnxsphthwa agnosia kxnkaresnxsphthnikhxngfrxyd khwamkhideruxngphawaesiykarralukrumacakewxrniek phukhnphb insmxng phutngthvsdiekiywkb receptive aphasia khuninpi kh s 1874 sungtngkhxsngektwa khnikhphawaesiykarsuxkhwamdanrb imsamarthekhaickhaphudhruxklawtamkhatang id ewxrniekechuxwa phawaesiykarsuxkhwamdanrbekidcakrxyorkhinswn 1 3 thaykhxng rxynunklibkhmbbn superior temporal gyrus aelaephraarxyorkhehlani cungechuxwa khnikhehlanimikhwamhnwkaebbcakdsahrbesiyngbangxyangaelakhwamthiesiyngbangradbinkhaphud hlngcakewxrniek inpi kh s 1877 kusmxlidphyayamxthibayehtukhxng Auditory verbal agnosia thieriykxikxyanghnungwa phawahnwksphth word deafness aetodyimehmuxnkbkhaxthibaykhxngewxrniek kusmxlechuxwa phawaniekidcakkhwamesiyhayxyangsakhytx swnaerk siksay aelaidxxkkhwamkhidehnekiywkbkarkaenidkhxng Alexia sungruckxikxyanghnungwa phawabxdsphth word blindness wa ekidcakrxyorkhthirxynunaexngkular angular gyrus aelathi Supramarginal gyrus siksay swnehnrikh lisesar idihkhwamkhidkhxngekhaekiywkbphawaesiykarralukruhlngewxrniekaelakusmxl inpi kh s 1890 ekhaidtngthvsdikhunwa mi 2 aebb thikarrucawtthusamarthekidkhwamesiyhayid khux mikhwamesiyhaytxkarpramwlphlephuxkarrbruinrayatn hruxwa mikhwamesiyhaytxtwaethnkhxngwtthu object representation nn thatwaethnwtthumikhwamesiyhay wtthunncaimsamarthbnthuklnginkhwamthrngcathangtaid aeladngnn bukhkhlnnkcaimsamarthrucawtthunnid insmykhxngewxrniek kusmxl aelalisesar phwkekhayngimmikhwamruekiywkbepluxksmxng aetinpccubnni dwyethkhnikhkarsrangphaphprasath neuroimaging tang erasamarththicaephimphunkhwamruekiywkbphawaesiykarralukruidxyangkwangkhwangkrnisuksadiexf khnikhchuxwadiexfmikhwamesiyhayinsmxnginthangsyyandanlangkhxngrabbkarehn aetwathangsyyandanhlngkhxngdiexfimepnxair khwamesiyhaythangsyyandanlangthaihdiexfekidphawaesiykarralukruthangta diexfmipyhainkarrucathangta imsamarthrucawtthungay aelaimsamarthaeykaeyawtthutang cakknid nxkcaknnaelw diexfimsamarthbxkthisthanghruxkhwamkwangkhxngwtthu aetwa diexfsamarthsamarthlxkaebbthisthangkhxngesnhnung id emuxmiewlaimcakd inxikkarthdsxbhnung phuthdsxbihdiexfmxngdusiehliymctursaelarupklmri aelwthamwa wtthuihnepnsiehliymctursaelawtthuihnepnrupklmri inkrnithidiexfsamarthhyibwtthunnkhunmaid ethxkcasamarthbxkidwa wtthuihnepnxair aetthaimsamarth ethxkimsamarthbxkkhwamaetktangkhxngwtthuehlannid dr phi oxliewxr aeskhs phuepnnkprasathwithya idklawthungkhnikhthinasnickhxngekhaphuchuxwa dr phi dr phiepnbukhkhlthw ipphuepnkhrusxndntriinradbmhawithyaly thiinpccubnruckknwa chayphusbsnphrryakhxngtnwaepnhmwk ekhamipyhainkarrucanksuksaphuekhamahaekha txemuxnksuksaehlannphud ekhacungcasamarthbxkwanksuksaehlannepnikhr dr phiimsamarthehnphaphodyxngkhrwmaelasamarthephiyngaetsngektdulksnaechphaaxyang khxngrupphaph hruxswnelk khxngphaphethann yktwxyangechn inrupthiaesdngthiwthsnhlayxyangrwmthngthaelsab phuekha aelapaim ekhasamarththicasngektduephiyngaekhphuekhaethann hlngcakkarndecxkbkhunhmxaeskhskhrnghnung dr philukkhunaelaphyayamthicaykexasirsakhxngphrryakhxngtnkhunephraakhidwa sirsakhxngethxepnhmwkkhxngekha dr phimiphawaesiykarralukruthangtapraephthhnung aetodyechphaaecaacngkkhuxphawabxdibhna nxkcaknnaelw ekhayngmiklumxakarlaely neglect syndrome rupaebbhnung sungaesdngihehnemuxihekhacintnakarediniptamthangraebiyng ekhakcaphrrnnaaetdankhwakhxngthangedinethannaelalaelydansayduphawaesiykarralukruthangta Visual agnosia phawaesiykarsuxkhwam Aphasia Apraxia Auditory agnosia Auditory verbal agnosia hruxeriykwa phawahnwkkhalwnhmayehtuaelaxangxinghttp dictionary webmd com terms agnosia http dictionary reference com browse agnosia http brainmind com Agnosia html Kolb amp Whishaw Fundamentals of Human Neuropsychology 2003 Burns MS 2004 Clinical management of agnosia Top Stroke Rehabil 11 1 1 9 doi 10 1310 N13K YKYQ 3XX1 NFAV PMID 14872395 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2013 01 28 subkhnemux 2013 10 07 National Institute of Neurological Disorders and Stroke khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2016 04 08 subkhnemux 28 March 2012 Zeki S 1991 Cerebral akinetopsia visual motion blindness Brain 114 811 824 Riddoch MJ Humphreys GW May 2003 Visual agnosia Neurol Clin 21 2 501 20 PMID 12916489 Goldstein Marvin N 1974 Auditory agnosia for speech pure word deafness Brain and Language 1 2 195 204 doi 10 1016 0093 934X 74 90034 0 ISSN 0093 934X Vignolo L A 1982 Auditory Agnosia Biological Sciences 298 49 57 Cowey A Alexander I Heywood C Kentridge R August 2008 Pupillary responses to coloured and contourless displays in total cerebral achromatopsia Brain 131 Pt 8 2153 60 doi 10 1093 brain awn110 PMID 18550620 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint multiple names authors list lingk Woodward T S M J Dixon K T Mullen K M Christensen D N Bub 1999 Analysis of errors in color agnosia A single case study Neurocase 5 95 108 Van Lancker DR Cummings JL Kreiman J Dobkin BH June 1988 Phonagnosia a dissociation between familiar and unfamiliar voices Cortex 24 2 195 209 PMID 3416603 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint multiple names authors list lingk Cherney LR 2004 Aphasia alexia and oral reading Top Stroke Rehabil 11 1 22 36 doi 10 1310 VUPX WDX7 J1EU 00TB PMID 14872397 Sakurai Y 2004 Varieties of alexia from fusiform posterior inferior temporal and posterior occipital gyrus Behavioural Neurology 15 35 50 Magnie MN Ferreira CT Giusiano B Poncet M January 1999 Category specificity in object agnosia preservation of sensorimotor experiences related to objects Neuropsychologia 37 1 67 74 doi 10 1016 S0028 3932 98 00045 1 PMID 9920472 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint multiple names authors list lingk Coslett HB Saffran E August 1991 Simultanagnosia To see but not two see Brain 114 Pt 4 1523 45 doi 10 1093 brain 114 4 1523 PMID 1884165 Rizzo M Vecera SP February 2002 Psychoanatomical substrates of Balint s syndrome J Neurol Neurosurg Psychiatr 72 2 162 78 doi 10 1136 jnnp 72 2 162 PMC 1737727 PMID 11796765 Reed CL Caselli RJ Farah MJ June 1996 Tactile agnosia Underlying impairment and implications for normal tactile object recognition Brain 119 3 875 88 doi 10 1093 brain 119 3 875 PMID 8673499 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint multiple names authors list lingk Mendez Mario F Cherrier Monique M 2003 Agnosia for scenes in topographagnosia Neuropsychologia 41 10 1387 1395 doi 10 1016 S0028 3932 03 00041 1 Cogan DG September 1979 Visuospatial dysgnosia AM J Ophthalmol 88 3 Pt 1 361 368 PMID 225955 Greene JD December 2005 Apraxia agnosias and higher visual function abnormalities J Neurol Neurosurg Psychiatr 76 Suppl 5 v25 34 doi 10 1136 jnnp 2005 081885 PMC 1765708 PMID 16291919 Galotti Kathleen M 2010 Cognitive psychology in and out of the laboratory 1st Canadian ed Canada Nelson ISBN 9780176440657 Silverman Jay Friedenberg Gordon Cognitive science an introduction to the study of mind 2nd ed Thousand Oaks Calif SAGE ISBN 9781412977616 The New Yorker From the Archives Content cakaehlngedimemux 2006 08 31 subkhnemux 2010 05 05 mentally blind or agnosic able to see but not to decipher what he was seeing Freud Sigmund Zur Auffassung der Aphasien Vienna 1891 p 80 Vecera P S Gilds S K 1998 What processing is impaired in appreceptive agnosia Evidence from normal subjects Journal of Cognitive Neuroscience 10 5 568 580 doi 10 1162 089892998562979 PMID 9802990 Schenk T 2006 An allocentric rather than perceptual deficit in patient D F Nature Neuroscience 11 9 1369 1370 doi 10 1038 nn1784 Milner D 1998 Streams and consciousness visual awareness and the brain Trends in Cognitive Sciences 2 1 25 30 doi 10 1016 S1364 6613 97 01116 9 PMID 21244959 Pinel John P J Biopsychology 8th ed Boston Allyn amp Bacon ISBN 0205832563 aehlngkhxmulxunwikiphcnanukrm mikhwamhmaykhxngkhawa agnosia Types and brain areas 2005 12 18 thi ewyaebkaemchchin Total Recall Memory Requires More than the Sum of Its Parts accessdate 2007 06 05