สเนเฟอร์คา เป็นฟาโรห์แห่งอียิปต์โบราณในสมัยราชวงศ์ตอนต้น ซึ่งอาจจะทรงปกครองในช่วงปลายราชวงศ์ที่หนึ่ง ไม่ทราบระยะเวลาที่แน่นอนในรัชสมัยของพระองค์ แต่สันนิษฐานว่าสั้นมาก และลำดับตำแหน่งตามเวลาของพระองค์ก็ไม่ชัดเจน
สเนเฟอร์คา | ||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
เนเฟอร์เซคา, เซคาเนเฟอร์, เนเฟอร์คาเอส | ||||||||||||||||||||
ชิ้นส่วนหินชนวนที่ปรากฏพระนามเซเรคของฟาโรห์สเนเฟอร์คาที่ซักกอเราะฮ์ | ||||||||||||||||||||
ฟาโรห์ | ||||||||||||||||||||
รัชกาล | รัชสมัยอันสั้น, ราว 2900 ปีก่อนคริสตกาล | |||||||||||||||||||
ก่อนหน้า | ไม่แน่ชัด, อาจจะเป็นฟาโรห์กาอาหรือฟาโรห์ฮอรัส เบิร์ด | |||||||||||||||||||
ถัดไป | ไม่แน่ชัด, อาจจะเป็นฟาโรห์โฮเทปเซคเอมวีหรือฟาโรห์ฮอรัส เบิร์ด | |||||||||||||||||||
| ||||||||||||||||||||
ราชวงศ์ | การสิ้นสุดของราชวงศ์ที่หนึ่ง |
ที่มาของพระนาม
พระนามเซเรคของฟาโรห์สเนเฟอร์คาเป็นเป้าหมายของการถกเถียงในปัจจุบัน เนื่องจากลำดับการเขียนที่ผิดปกติของสัญลักษณ์อักษรอียิปต์โบราณในพระนามเซเรค ซึ่งนำไปสู่ปัญหาการอ่านที่แตกต่างกันหลายรูปแบบ คือ พระนามของพระองค์จะอ่านว่า เซเนเฟอร์คา, สเนเฟอร์คา, เนเฟอร์เซคา และเซคาเนเฟอร์ พระนามเซเรค "สเนเฟอร์คา" ไดปรากฏบนภาชนะและหินอลาบาสเตอร์หลายชิ้น ซึ่งพบชิ้นแรกในมาสตาบาของเมอร์คา ซึ่งเป็นข้าราชการระดับสูงที่รับใช้ในรัชสมัยของฟาโรห์กาอา ชิ้นที่สองพบในห้องใต้ดินของพีระมิดขั้นบันไดของฟาโรห์ดโจเซอร์ (ราชวงศ์ที่สาม) และชิ้นที่สามถูกพบในมาสตาบาที่ไม่ทราบเจ้าของเช่นกันที่ซักกอเราะฮ์ วัตถุโบราณชิ้นที่สี่ที่ปรากฏพระนามของฟาโรห์สเนเฟอร์คาถูกพบในชุดสะสมส่วนตัวของจอร์จส์-มิคาอิลิดิส แต่นักโบราณคดีและยังคงตั้งคำถามถึงความถูกต้อง เนื่องจากไม่ทราบแหล่งที่มา นอกจากนี้ คำจารึกบนวัตถุของมิคาอิลิดิสยังเป็นเซเรคที่ไม่มีสัญลักษณ์ของฮอรัส หรือนกฟอลคอนเลย ซึ่งถือว่าผิดปกติอย่างมากสำหรับวัตถุโบราณของชาวอียิปต์ในช่วงเวลานั้น
การระบุตัวตน
นอกเหนือจากเซเรคของฟาโรห์สเนเฟอร์คาแล้ว ในคำจารึกยังกล่าวถึงสำนักและสถานที่ต่างๆ ซึ่งระบุช่วงเวลาในช่วงรัชสมัยของฟาโรห์กาอา ที่เรียกว่า กาอู-เนทเจรู (แปลว่า "ความสูงส่งแห่งเทพเจ้า") และ อา-เนทเจรู (แปลว่า "พระราชวังอันศักดิ์สิทธิ์") และปรากฏในจารึกหินหลายชิ้นจากหลุมฝังศพระบรมศพของฟาโรห์กาอาที่อไบดอส นักไอยคุปต์วิทยา เช่น ได้กล่าวโดยสรุปว่าคำจารึกดังกล่าวได้ยืนยันเกี่ยวกับฟาโรห์กาอา หรือพระนาม "สเนเฟอร์คา" ซึ่งเป็นพระนามอีกพระนามของฟาโรห์กาอาที่ทรงใช้ในช่วงเวลาสั้น ๆ
นักไอยคุปต์วิทยาเชื่อว่า ฟาโรห์สเนเฟอร์คาทรงปกครองในช่วงกลางของราชวงศ์ที่สอง และจะเป็นฟาโรห์พระองค์เดียวกันกับฟาโรห์เนเฟอร์คาราที่ 1 ซึ่งได้รับการยืนยันจากแหล่งข้อมูลจากสมัยรามเสส ซึ่งรีฮอล์ตได้ชี้ให้เห็นถึงกรณีที่อาลักษณ์ในช่วงรามเสส มักจะเพิ่มสัญลักษณ์ของดวงอาทิตย์ในพระนามของฟาโรห์ในช่วงราชวงศ์ต้น ๆ โดยไม่สนใจข้อเท็จจริงที่ว่าดวงอาทิตย์ยังไม่ได้เป็นเป้าหมายของการเคารพบูชาจากสวรรค์ในตอนต้นนั้น เพื่อสนับสนุนมุมมองของเขา รีฮอล์ตก็ชี้ไปที่ชืพระนามคาร์ทูชของฟาโรห์ เช่น ฟาโรห์ และฟาโรห์ ซึ่งเป็นฟาโรห์สองพระองค์ในช่วงต้นสมัยราชวงศ์และมีสัญลักษณ์ดวงอาทิตย์ในพระนามที่ขัดแย้งกัน ส่วนนักไอย์คุปต์วิทยา ก็คิดเห็นเหมือนกันและชี้ให้เห็นข้อเท็จจริงที่ว่าเซเรคเกือบทั้งหมดของฟาโรห์สเนเฟอร์คาได้ถูกสร้างขึ้นมา "บนการลบ" จึงจะนำไปสู่ข้อสรุปที่ว่าฟาโรห์สเนเฟอร์คาทรงแย่งชิงภาชนะที่จารึกพระนามของฟาโรห์กาอา ซึ่งการกระทำดังกล่าวเป็นเรื่องปกติสำหรับฟาโรห์ที่ปกครองหลังจากผู้ปกตรองที่เป็นเจ้าของวัตถุโบราณเกล่านั้น ที่จะนำกลับมาใช้ใหม่และจะทรงปกครองในช่วงเวลาสั้นๆ เท่านั้น
การที่อาจจะทรงรบกับฟาโรห์ฮอรัส เบิร์ด
ค้นพบวัตถุโบราณสองชิ้นที่มีต้นกำเนิดต่างกันที่ปรากฏให้เห็นเซเรคของฟาโรห์ ซึ่งพระนามดังกล่าวเป็นที่ถกเถียงกันอย่างมาก เนื่องจากสัญลักษณ์อักษรอียิปต์โบราณที่ใช้เขียนพระนามของฟาโรห์นั้นแทบจะอ่านไม่ออก แต่เนื่องจากมีการระบุเป็นภาพนกได้ ฟาโรห์พระองค์นี้จึงถูกเรียกว่า "ฟาโรห์ฮอรัส เบิร์ด" นักไอยคุปต์วิทยา เช่น และปีเตอร์ คาพลอนีได้เชื่อว่า ฟาโรห์สเนเฟอร์คา และ "ฟาโรห์ฮอรัส เบิร์ด" ทรงรบกันเพื่อให้ได้ซึ่งพระราชบัลลังก์แห่งอียิปต์ การรบดังกล่าวถึงจุดสูงสุดในการปล้นสุสานหลวงในอไบดอส ซึ่งถูกทิ้งร้างไปแล้วนั้น การรบเพื่อชิงพระราชบัลลังก์อาจจะสิ้นสุดลงโดยสถาปนาราชวงศ์ที่สองพระนามว่า โฮเทปเซคเอมวี และปรากฏหลักฐานชิ้นหนึ่งที่สนับสนุนข้อสันนิษฐานนี้คือ พระนามฮอรัสของฟาโรห์โฮเทปเซคเอมวีที่ซึ่งแปลว่า "พลังทั้งสองกลับมาประนีประนอมกัน" และอาจจะเกี่ยวข้องกับการรวมอาณาจักรอียิปต์อีกครั้งหลังจากช่วงเวลาแห่งความวุ่นวาย
อ้างอิง
- & : La Pyramide à Degrés IV. – Inscriptions gravées sur les Vases: Fouilles à Saqqarah., Service des antiquités de l’Égypte, Cairo 1936
- : The Cambridge ancient history, Volume 1-3. Cambridge University Press, 1970, ISBN , page 29.
- Walter Brian Emery: Great tombs of the First Dynasty: Excavations at Saqqara, vol. 3. Egypt exploration society, London/Cairo 1958. page 38.
- Pierre Lacau & Jan-Phillip Lauer: La Pyramide a Degrees IV. - Inscriptions Gravees sur les Vases: Fouilles à Saqqarah. Service des antiquités de l'Égypte, Kairo 1936, page 15–17.
- Toby Wilkinson: Early Dynastic Egypt. Routledge, London 1999, ISBN , page 69.
- Kim Ryholt, in: Journal of Egyptian History; vol.1. BRILL, Leiden 2008, ISSN 1874-1657, page 159–173.
- Aidan Dodson: The Mysterious Second Dynasty In: KMT - A Modern Journal of Ancient Egypt Nr.7. Kmt Communications, San Francisco 1996, ISSN 1053-0827, S. 19-31.
- Peter Kaplony: „Er ist ein Liebling der Frauen“ – Ein „neuer“ König und eine neue Theorie zu den Kronprinzen sowie zu den Staatsgöttinnen (Kronengöttinnen) der 1./2. Dynastie. In: Manfred Bietak: Ägypten und Levante. Verlag der Österreichischen Akademie der Wissenschaften, Wien 2006 ISBN ; page 126–127.
- Dietrich Wildung: Die Rolle ägyptischer Könige im Bewußtsein ihrer Nachwelt. page 36–41.
- Wolfgang Helck: Untersuchungen zur Thinitenzeit. (Ägyptologische Abhandlungen, Vol. 45). Harrassowitz, Wiesbaden 1987, ISBN ; page 117
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
senefxrkha epnfaorhaehngxiyiptobraninsmyrachwngstxntn sungxaccathrngpkkhrxnginchwngplayrachwngsthihnung imthrabrayaewlathiaennxninrchsmykhxngphraxngkh aetsnnisthanwasnmak aelaladbtaaehnngtamewlakhxngphraxngkhkimchdecnsenefxrkhaenefxreskha eskhaenefxr enefxrkhaexschinswnhinchnwnthipraktphranameserkhkhxngfaorhsenefxrkhathiskkxeraahfaorhrchkalrchsmyxnsn raw 2900 pikxnkhristkalkxnhnaimaenchd xaccaepnfaorhkaxahruxfaorhhxrs ebirdthdipimaenchd xaccaepnfaorhohethpeskhexmwihruxfaorhhxrs ebirdphraprmaphiithyphranamhxrshxr senefxrkha Ḥr snfr k3 dwngwiyyankhxngphraxngkhxnswyngam smburnaebbrachwngskarsinsudkhxngrachwngsthihnungthimakhxngphranamphranameserkhkhxngfaorhsenefxrkhaepnepahmaykhxngkarthkethiynginpccubn enuxngcakladbkarekhiynthiphidpktikhxngsylksnxksrxiyiptobraninphranameserkh sungnaipsupyhakarxanthiaetktangknhlayrupaebb khux phranamkhxngphraxngkhcaxanwa esenefxrkha senefxrkha enefxreskha aelaeskhaenefxr phranameserkh senefxrkha idpraktbnphachnaaelahinxlabasetxrhlaychin sungphbchinaerkinmastabakhxngemxrkha sungepnkharachkarradbsungthirbichinrchsmykhxngfaorhkaxa chinthisxngphbinhxngitdinkhxngphiramidkhnbnidkhxngfaorhdocesxr rachwngsthisam aelachinthisamthukphbinmastabathiimthrabecakhxngechnknthiskkxeraah wtthuobranchinthisithipraktphranamkhxngfaorhsenefxrkhathukphbinchudsasmswntwkhxngcxrcs mikhaxilidis aetnkobrankhdiaelayngkhngtngkhathamthungkhwamthuktxng enuxngcakimthrabaehlngthima nxkcakni khacarukbnwtthukhxngmikhaxilidisyngepneserkhthiimmisylksnkhxnghxrs hruxnkfxlkhxnely sungthuxwaphidpktixyangmaksahrbwtthuobrankhxngchawxiyiptinchwngewlannkarrabutwtnnxkehnuxcakeserkhkhxngfaorhsenefxrkhaaelw inkhacarukyngklawthungsankaelasthanthitang sungrabuchwngewlainchwngrchsmykhxngfaorhkaxa thieriykwa kaxu enthecru aeplwa khwamsungsngaehngethpheca aela xa enthecru aeplwa phrarachwngxnskdisiththi aelapraktincarukhinhlaychincakhlumfngsphrabrmsphkhxngfaorhkaxathixibdxs nkixykhuptwithya echn idklawodysrupwakhacarukdngklawidyunynekiywkbfaorhkaxa hruxphranam senefxrkha sungepnphranamxikphranamkhxngfaorhkaxathithrngichinchwngewlasn nkixykhuptwithyaechuxwa faorhsenefxrkhathrngpkkhrxnginchwngklangkhxngrachwngsthisxng aelacaepnfaorhphraxngkhediywknkbfaorhenefxrkharathi 1 sungidrbkaryunyncakaehlngkhxmulcaksmyramess sungrihxltidchiihehnthungkrnithixalksninchwngramess mkcaephimsylksnkhxngdwngxathityinphranamkhxngfaorhinchwngrachwngstn odyimsnickhxethccringthiwadwngxathityyngimidepnepahmaykhxngkarekharphbuchacakswrrkhintxntnnn ephuxsnbsnunmummxngkhxngekha rihxltkchiipthichuphranamkharthuchkhxngfaorh echn faorh aelafaorh sungepnfaorhsxngphraxngkhinchwngtnsmyrachwngsaelamisylksndwngxathityinphranamthikhdaeyngkn swnnkixykhuptwithya kkhidehnehmuxnknaelachiihehnkhxethccringthiwaeserkhekuxbthnghmdkhxngfaorhsenefxrkhaidthuksrangkhunma bnkarlb cungcanaipsukhxsrupthiwafaorhsenefxrkhathrngaeyngchingphachnathicarukphranamkhxngfaorhkaxa sungkarkrathadngklawepneruxngpktisahrbfaorhthipkkhrxnghlngcakphupktrxngthiepnecakhxngwtthuobraneklann thicanaklbmaichihmaelacathrngpkkhrxnginchwngewlasn ethannkarthixaccathrngrbkbfaorhhxrs ebirdkhnphbwtthuobransxngchinthimitnkaenidtangknthipraktihehneserkhkhxngfaorh sungphranamdngklawepnthithkethiyngknxyangmak enuxngcaksylksnxksrxiyiptobranthiichekhiynphranamkhxngfaorhnnaethbcaxanimxxk aetenuxngcakmikarrabuepnphaphnkid faorhphraxngkhnicungthukeriykwa faorhhxrs ebird nkixykhuptwithya echn aelapietxr khaphlxniidechuxwa faorhsenefxrkha aela faorhhxrs ebird thrngrbknephuxihidsungphrarachbllngkaehngxiyipt karrbdngklawthungcudsungsudinkarplnsusanhlwnginxibdxs sungthukthingrangipaelwnn karrbephuxchingphrarachbllngkxaccasinsudlngodysthapnarachwngsthisxngphranamwa ohethpeskhexmwi aelaprakthlkthanchinhnungthisnbsnunkhxsnnisthannikhux phranamhxrskhxngfaorhohethpeskhexmwithisungaeplwa phlngthngsxngklbmapranipranxmkn aelaxaccaekiywkhxngkbkarrwmxanackrxiyiptxikkhrnghlngcakchwngewlaaehngkhwamwunwayxangxing amp La Pyramide a Degres IV Inscriptions gravees sur les Vases Fouilles a Saqqarah Service des antiquites de l Egypte Cairo 1936 The Cambridge ancient history Volume 1 3 Cambridge University Press 1970 ISBN 0 521 07791 5 page 29 Walter Brian Emery Great tombs of the First Dynasty Excavations at Saqqara vol 3 Egypt exploration society London Cairo 1958 page 38 Pierre Lacau amp Jan Phillip Lauer La Pyramide a Degrees IV Inscriptions Gravees sur les Vases Fouilles a Saqqarah Service des antiquites de l Egypte Kairo 1936 page 15 17 Toby Wilkinson Early Dynastic Egypt Routledge London 1999 ISBN 0 415 18633 1 page 69 Kim Ryholt in Journal of Egyptian History vol 1 BRILL Leiden 2008 ISSN 1874 1657 page 159 173 Aidan Dodson The Mysterious Second Dynasty In KMT A Modern Journal of Ancient Egypt Nr 7 Kmt Communications San Francisco 1996 ISSN 1053 0827 S 19 31 Peter Kaplony Er ist ein Liebling der Frauen Ein neuer Konig und eine neue Theorie zu den Kronprinzen sowie zu den Staatsgottinnen Kronengottinnen der 1 2 Dynastie In Manfred Bietak Agypten und Levante Verlag der Osterreichischen Akademie der Wissenschaften Wien 2006 ISBN 978 3 7001 6668 9 page 126 127 Dietrich Wildung Die Rolle agyptischer Konige im Bewusstsein ihrer Nachwelt page 36 41 Wolfgang Helck Untersuchungen zur Thinitenzeit Agyptologische Abhandlungen Vol 45 Harrassowitz Wiesbaden 1987 ISBN 3 447 02677 4 page 117