บทความนี้อาจต้องการตรวจสอบต้นฉบับ ในด้านไวยากรณ์ รูปแบบการเขียน การเรียบเรียง คุณภาพ หรือการสะกด คุณสามารถช่วยพัฒนาบทความได้ |
พิทาวาสแตติน (Pitavastatin; โดยทั่วไปอยู่ในรูปแบบเกลือแคลเซียม) เป็นยาในกลุ่มยาลดไขมันในกระแสเลือดกลุ่มสแตติน ซึ่งวางขายในตลาดประเทศสหรัฐอเมริกาภายใต้ชื่อการค้า ลิวาโล (Livalo) ซึ่งพิทาวาสแตตินนี้มีกลไกการออกฤทธิ์เช่นเดียวกันกับยากลุ่มสแตตินชนิดอื่นๆ คือ ออกฤทธิ์ยับยั้งการทำงานของเอนไซม์ HMG-CoA reductase ซึ่งเป็นเอนไซม์ตัวเร่งปฏิกิริยาตัวแรกในขั้นตอนของกระบวนการการสร้างคอเลสเตอรอล นอกจากนี้พิทาวาสแตตินยังถูกใช้เพื่อป้องกันการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด โดยป้องกันไม่ให้เกิดการแตกหรือฉีกขาดของคราบไขมันที่เกาะอยู่บนผนังหลอดเลือด ซึ่งเป็นสาเหตุหลักที่ทำให้เกิดลิ่มเลือดอุดกั้นตามเส้นเลือด และทำให้เกิดโรคหลอดเลือดหัวใจได้ในที่สุด
ข้อมูลทางคลินิก | |
---|---|
ชื่อทางการค้า | Livalo |
/ | โมโนกราฟ |
a610018 | |
ข้อมูลทะเบียนยา |
|
ระดับความเสี่ยงต่อทารกในครรภ์ |
|
กฏหมาย | |
สถานะตามกฏหมาย |
|
ข้อมูลเภสัชจลนศาสตร์ | |
ชีวประสิทธิผล | 60% |
96% | |
การเปลี่ยนแปลงยา | CYP2C9 เล็กน้อย |
ครึ่งชีวิตทางชีวภาพ | 11 ชั่วโมง |
การขับออก | อุจจาระ |
ตัวบ่งชี้ | |
| |
เลขทะเบียน CAS |
|
(PubChem) CID |
|
| |
ChemSpider |
|
| |
| |
| |
100.171.153 | |
ข้อมูลทางกายภาพและเคมี | |
สูตร | C25H24FNO4 |
421.461 g·mol−1 | |
แบบจำลอง 3D () |
|
| |
| |
7 (verify) | |
พิทาวาสแตตินมีจำหน่ายครั้งแรกที่ประเทศญี่ปุ่นตั้งแต่ปี ค.ศ. 2003 จากนั้นมีการขยายฐานการตลาดออกไปในประเทศเกาหลีใต้และอินเดียในเวลาต่อมาไม่นานนัก โดยคาดว่ายาชนิดนี้อาจจะได้รับการรับรองให้มีการใช้ในประเทศต่างๆนอกเหนือจากประเทศในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เช่นกัน สำหรับในสหรัฐอเมริกานั้น พิทาวาสแตตินได้รับการรับรองจากองค์การอาหารและยา (Food and Drug Administration; FDA) ในปี ค.ศ. 2009 โดยมีบริษัท โควะ ฟาร์มาซิวติคอลส์ (Kowa Pharmaceuticals) เป็นผู้ถือลิขสิทธิ์การผลิตและจัดจำหน่ายยาพิทาวาสแตตินในสหรัฐอเมริกา
ข้อบ่งใช้
เช่นเดียวกันกับยากลุ่มสแตตินชนิดอื่นๆ พิทาวาสแตตินมีข้อบ่งใช้สำหรับภาวะที่มีระดับคอเลสเตอรอลในกระแสเลือดสูง (hypercholesterolaemia) และใช้เพื่อป้องกันการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจ (cardiovascular disease)
ในปี ค.ศ. 2009 การศึกษาทางคลินิกที่มีชื่อว่า "LIVES" ซึ่งทำการศึกษาในผู้ป่วยที่ได้รับพิทาวาสแตตินมากถึง 20,000 คน เพื่อประเมินถึงประสิทธิภาพและความปลอดภัยของยาดังกล่าวหลังจากการวางตลาด โดยติดตามเป็นระยะเวลาทั้งสิ้น 104 สัปดาห์ พบว่า พิทาวาสแตตินมีผลเพิ่มระดับคอเลสเตอรอลชนิดความหนาแน่นสูง (High density lipoprotein cholesterol; HDL-C) และลดระดับไตรกลีเซอไรด์ (Triglyceride; TG) ในกระแสเลือด โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยที่มีระดับ HDL-C ต่ำกว่า 400 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร ซึ่งจะมีระดับ HDL-C เพิ่มขึ้นได้มากถึง 24.6% จากค่า HDL-C พื้นฐานเดิมของผู้ป่วย และมีการลดลงของ TG เฉลี่ย 19.9% จากค่า TG พื้นฐานเดิมของผู้ป่วย นอกจากนี้แล้ว ยังพบว่าพิทาวาสแตตินมีความสัมพันธ์กับการลดลงของระดับคอเลสเตอรอลชนิดความหนาแน่นต่ำ (Low density lipoprotein cholesterol; LDL-C) ในกระแสเลือดลงได้มากถึง 29.1% จากค่า LDL-C พื้นฐานเดิมของผู้ป่วย หลังจากระยะเวลา 4 สัปดาห์นับจากเริ่มการรักษา โดยระดับ HDL-C ที่เพิ่มขึ้นนี้สามารถพบการเกิดขึ้นได้ในผู้ป่วยที่เปลี่ยนจากสแตตินชนิดอื่นมาเป็นพิทาวาสแตติน สอดคล้องกับการศึกษาเชิงสังเกตที่มีชื่อว่า CIRCLE observational study ซึ่งทำการศึกษาเพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพของยากลุ่มสแตตินชนิดต่างๆ ทำการศึกษาในผู้ป่วยชาวญี่ปุ่นจำนวน 743 คน ในช่วง ค.ศ. 2001-2008 โดยติดตามผู้ป่วยที่ได้รับยาพิทาวาสแตตินเป็นระยะเวลา 70 เดือน พบว่ายาดังกล่าวสามารถเพิ่มระดับ HDL-C ได้มากกว่าอะโทวาสแตติน และเป็นยากลุ่มสแตตินเพียงชนิดเดียวที่สามารถเพิ่มระดับ HDL-C ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติเมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มที่ไม่ได้รับยาสแตติน ส่วนผลการป้องกันการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดนั้นพบว่าพิทาวาสแตตินมีประสิทธิภาพมากที่สุดในการป้องกันการเกิดอุบัติการณ์ดังกล่าว เมื่อเปรียบเทียบกับยากลุ่มสแตตินชนิดอื่นๆ
ส่วนผลของพิทาวาสแตตินต่อระดับน้ำตาลในเลือดนั้นอาจส่งผลดีต่อการควบคุมระดับในเลือดของผู้ป่วย ดังนั้นพิทาวาสแตตินจึงดูเหมือนว่ามีความเหมาะสมที่จะใช้ในผู้ป่วยที่เป็นโรคทางเมทาบอลิค อย่างเช่น โรคเบาหวาน ร่วมกับมีระดับ LDL-C ที่สูงแต่มีระดับ HDL-C ในเลือดต่ำ โดยผลการวิเคราะห์แบบกลุ่มย่อยของการศึกษา "LIVES" ที่ได้กล่าวไปดังข้างต้นพบว่า ผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ที่ใช้พิทาวาสแตตินเป็นระยะเวลาต่อเนื่องมีการลดลงของระดับ HbA1C และมีการเพิ่มขึ้นของ eGFR อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติในผู้ป่วยที่มีภาวะไตวายเรื้อรังร่วมด้วย
อาการไม่พึงประสงค์
อาการไม่พึงประสงค์ทั่วไปที่มีความสัมพันธ์กับการใช้ยากลุ่มสแตติน เช่น ปวดศีรษะ, คลื่นไส้, อาเจียน, ผลการตรวจเอนไซม์ตับผิดปกติ และเกิดตะคริวได้ เช่นเดียวกันกับพิทาวาสแตตินที่เกิดอาการข้างเคียงเหล่านี้ได้เช่นกัน และเนื่องจากพิทาวาสแตตินนั้นละลายในน้ำได้ดีซึ่งแตกต่างไปจากยาในกลุ่มสแตตินชนิดอื่นซึ่งส่วนใหญ่มักละลายในไขมันได้ดี ทำให้ดูเหมือนพิทาวาสแตตินว่าจะมีอาการข้างเคียงต่อกล้ามเนื้อน้อยกว่ายาชนิดอื่นๆในกลุ่มเดียวกัน มีการศึกษาทางคลินิกที่ผ่านมาค้นพบว่าโคเอนไซม์คิวเท็น (coenzyme Q10) ในผู้ที่ใช้พิทาวาสแตตินนั้นไม่ได้ลดลงมากเท่ากับผู้ที่ใช้ยาอื่นในกลุ่มเดียวกัน ซึ่งการลดลงของโคเอนไซม์คิวเท็นดังข้างต้นนั้นมักมีความสัมพันธ์กับการเกิดอาการข้างเคียงทางกล้ามเนื้อในกลุ่มผู้ที่ใช้ยาสแตตินในระยะยาว
ในทางตรงกันข้าม พิทาวาสแตตินนั้นดูเหมือนว่าจะมีส่วนช่วยในการปรับสมดุลของระดับน้ำตาลในกระแสเลือดให้ดีขึ้นได้ ซึ่งแตกต่างจากยาสแตตินชนิดอื่นๆ
นอกจากนี้แล้ว ยังพบรายงานการเกิดภาวะกรดยูริกในกระแสเลือดสูง (Hyperuricemia) ในผู้ที่ใช้พิทาวาสแตตินอีกด้วย
การเปลี่ยนแปลงยาในร่างกาย และการเกิดอันตรกิริยาระหว่างยา
ยากลุ่มสแตตินโดยส่วนใหญ่นั้นมักถูกเปลี่ยนแปลงในร่างกายโดยกลุ่มเอนไซม์ Cytochrome P450 ที่ตับ โดยแตกต่างกันไปตามแต่ละชนิดของยา และเนื่องด้วยยาชนิดอื่นส่วนใหญ่ก็มักเกิดถูกเปลี่ยนแปลงโดยกลุ่มเอนไซม์ดังกล่าวในร่างกายเช่นกัน ดังนั้นจึงทำให้ยากลุ่มสแตตินนี้สามารถเกิดอันตรกิริยาระหว่างยากับยาชนิดอื่นๆได้มาก รวมไปถึงการเกิดอันตรกิริยากับอาหารบางชนิด เช่น grapefruit juice แต่พิทาวาสแตตินมีข้อแตกต่างไปจากยาสแตตินชนิดอื่น คือ ยาดังกล่าวเกิดการเปลี่ยนแปลงโดยเอนไซม์ CYP2C9 เป็นหลัก ขณะที่สแตตินชนิดอื่นนั้นเกิดการเปลี่ยนแปลงที่ CYP3A4 เป็นหลัก (เอนไซม์ CYP3A4 ที่ตับนั้นทำหน้าที่ในการเปลี่ยนแปลงยาหลายชนิด ซึ่งมากกว่า 80% ของยาที่มีในปัจจุบันเกิดการเปลี่ยนแปลงในร่างกายโดยเอนไซม์นี้) ทำให้พิทาวาสแตตินมีโอกาสที่จะเกิดอันตรกิริยาระหว่างยาได้น้อยกว่ายาอื่นในกลุ่มเดียวกัน ดังนั้นพิทาวาสแตตินอาจมีความสำคัญในกลุ่มผู้ป่วยสูงอายุที่มีโรคหลายชนิด ซึ่งต้องรับประทานยาหลายชนิดตามไปด้วย (การรับประทานยาหลายชนิดร่วมกัน ทำให้มีความเสี่ยงต่อการเกิดอันตรกิริยาระหว่างยามากขึ้น)
ประวัติการค้นพบ
พิทาวาสแตติน (หรือที่รู้จักกันก่อนหน้านี้ในชื่อ ไอทาวาสแตติน (itavastatin), ไอทาบาวาสแตติน (itabavastin), นิสวาสแตติน (nisvastatin), เอ็นเค-104 (NK-104) หรือ เอ็นเคเอส-104 (NKS-104) ถูกค้นพบในประเทศญี่ปุ่นโดยบริษัท นิสสัน เคมิคอล อินดัสทรีส์ (Nissan Chemical Industries) และต่อมาถูกพัฒนาโดยบริษัทยาในโตเกียวที่มีชื่อว่า โควะ ฟาร์มาซูติคอลส์ (Kowa Pharmaceuticals) พิทาวาสแตตินได้รับการรับรองให้ใช้ในสหรัฐอเมริกาโดยองค์การและยาเมื่อวันที่ 8 มีนาคม ค.ศ. 2009 ภายใต้ชื่อการค้า ลิวาโล (Livalo) และได้รับการรับรองจาก องค์การควบคุมยาและผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ (Medicines and Healthcare products Regulatory Agency: MHRA) ของสหราชอาณาจักรในวันที่ 17 สิงหาคม ค.ศ. 2010
ดูเพิ่ม
อ้างอิง
- Kajinami, K; Takekoshi, N; Saito, Y (2003).
- Lacy FC, Armstrong LL, Goldman PM, Lance LL, editors. Drug Information Handbook with international trade name index. 18th edition, New Tork, Lexi-Comp®, 2014, p. 585-588,
- Dariche Nehdi (July 12, 2012). "The Seventh Statin—Pitavastatin, Part 1: Clinical Studies". Cultu rEbene. สืบค้นเมื่อ December 9, 2015.
- . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-09-26. สืบค้นเมื่อ 2015-12-09.
- Mukhtar, R. Y. A.; Reid, J.; Reckless, J. P. D. (2005).
- U.S. Food and Drug Administration (April 4, 2013). "FDA Approves New Cholesterol-Lowering Drug". สืบค้นเมื่อ December 10, 2015.
- "Effects of pitavastatin (LIVALO Tablet) on high density lipoprotein cholesterol (HDL-C) in hypercholesterolemia". J Atheroscler Thromb. 16: 654–61. Oct 2009. doi:10.5551/jat.1719. PMID 19907105.
- Teramoto, T. (2011). "Pitavastatin: clinical effects from the LIVES Study". Atheroscler Suppl. 12 (3): 285–288.
- Maruyama, T.; Takada, M.; Nishibori, Y.; Fujita, K.; Miki, K.; Masuda, S.; Horimatsu, T.; Hasuike, T. (2011). "Comparison of preventive effect on cardiovascular events with different statins. -The CIRCLE study-". Circ J. 75 (8): 1951–9. doi:10.1038/sj.clpt.6100396. PMID 21673458.
- "Pitavastatin in cardiometabolic disease: therapeutic profile". Cardiovasc Diabetol. 12 Suppl 1: S2. May 30, 2013. doi:10.1186/1475-2840-12-S1-S2. PMID 23819752.
- ScienceDaily (11 May 2013). "Alternative Cholesterol-Lowering Drug for Patients Who Can't Tolerate Statins". ScienceDaily.
- Kawashiri, MA; Nohara, A; Tada, H; Mori, M; Tsuchida, M; Katsuda, S; Inazu, A; Kobayashi, J; Koizumi, J; Mabuchi, H; Yamagishi, M (May 2008). "Comparison of effects of pitavastatin and atorvastatin on plasma coenzyme Q10 in heterozygous familial hypercholesterolemia: results from a crossover study". Clin Pharmacol Ther. 83 (5): 731–9. doi:10.1038/sj.clpt.6100396. PMID 17957184.
- Ogata, N.; Fujimori, S.; Oka, Y.; Kaneko, K. (2010). "Effects of Three Strong Statins (Atorvastatin, Pitavastatin, and Rosuvastatin) on Serum Uric Acid Levels in Dyslipidemic Patients". Nucleosides, Nucleotides and Nucleic Acids. 29 (4–6): 321. doi:10.1080/15257771003741323.
- PRNewswire (August 17, 2010). "Kowa Announces First EU Marketing Authorisation for Pitavastatin Granted in the UK". PRNewswire.com. สืบค้นเมื่อ December 10, 2015.
- Kowa Pharmaceuticals Europe (November, 2013). (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2016-03-04. สืบค้นเมื่อ December 9, 2015.
{{}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|date=
((help))
แหล่งข้อมูลอื่น
- FDA approval history
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamnixactxngkartrwcsxbtnchbb indaniwyakrn rupaebbkarekhiyn kareriyberiyng khunphaph hruxkarsakd khunsamarthchwyphthnabthkhwamid phithawasaettin Pitavastatin odythwipxyuinrupaebbekluxaekhlesiym epnyainklumyaldikhmninkraaeseluxdklumsaettin sungwangkhayintladpraethsshrthxemrikaphayitchuxkarkha liwaol Livalo sungphithawasaettinnimiklikkarxxkvththiechnediywknkbyaklumsaettinchnidxun khux xxkvththiybyngkarthangankhxngexnism HMG CoA reductase sungepnexnismtwerngptikiriyatwaerkinkhntxnkhxngkrabwnkarkarsrangkhxelsetxrxl nxkcakniphithawasaettinyngthukichephuxpxngknkarekidorkhhwicaelahlxdeluxd odypxngknimihekidkaraetkhruxchikkhadkhxngkhrabikhmnthiekaaxyubnphnnghlxdeluxd sungepnsaehtuhlkthithaihekidlimeluxdxudkntamesneluxd aelathaihekidorkhhlxdeluxdhwicidinthisudphithawasaettinkhxmulthangkhlinikchuxthangkarkhaLivalo omonkrafa610018khxmulthaebiynyaTH Pitavastatin US PitavastatinradbkhwamesiyngtxtharkinkhrrphAU D US X mixntray kthmaysthanatamkthmayAU txngichibsngya CA UK Prescription only US khxmulephschclnsastrchiwprasiththiphl60 96 karepliynaeplngyaCYP2C9 elknxykhrungchiwitthangchiwphaph11 chwomngkarkhbxxkxuccaratwbngchichuxtamrabb IUPAC 3R 5S 6E 7 2 cyclopropyl 4 4 fluorophenyl quinolin 3 yl 3 5 dihydroxyhept 6 enoic acidelkhthaebiyn CAS147511 69 1 NPubChem CID52824523035ChemSpider4445604 YM5681Q5F9PCHEBI 32020 NCHEMBL1201753 N100 171 153khxmulthangkayphaphaelaekhmisutrC 25H 24F N O 4421 461 g mol 1aebbcalxng 3D Interactive imageO C O C C H O C C H O C C c1c c3ccccc3nc1C2CC2 c4ccc F cc4InChI 1S C25H24FNO4 c26 17 9 7 15 8 10 17 24 20 3 1 2 4 22 20 27 25 16 5 6 16 21 24 12 11 18 28 13 19 29 14 23 30 31 h1 4 7 12 16 18 19 28 29H 5 6 13 14H2 H 30 31 b12 11 t18 19 m1 s1 YKey VGYFMXBACGZSIL MCBHFWOFSA N Y 7 Y verify saranukrmephschkrrm phithawasaettinmicahnaykhrngaerkthipraethsyipuntngaetpi kh s 2003 caknnmikarkhyaythankartladxxkipinpraethsekahliitaelaxinediyinewlatxmaimnannk odykhadwayachnidnixaccaidrbkarrbrxngihmikarichinpraethstangnxkehnuxcakpraethsinaethbexechiytawnxxkechiyngitechnkn sahrbinshrthxemrikann phithawasaettinidrbkarrbrxngcakxngkhkarxaharaelaya Food and Drug Administration FDA inpi kh s 2009 odymibristh okhwa farmasiwtikhxls Kowa Pharmaceuticals epnphuthuxlikhsiththikarphlitaelacdcahnayyaphithawasaettininshrthxemrikakhxbngichechnediywknkbyaklumsaettinchnidxun phithawasaettinmikhxbngichsahrbphawathimiradbkhxelsetxrxlinkraaeseluxdsung hypercholesterolaemia aelaichephuxpxngknkarekidorkhhlxdeluxdhwic cardiovascular disease inpi kh s 2009 karsuksathangkhlinikthimichuxwa LIVES sungthakarsuksainphupwythiidrbphithawasaettinmakthung 20 000 khn ephuxpraeminthungprasiththiphaphaelakhwamplxdphykhxngyadngklawhlngcakkarwangtlad odytidtamepnrayaewlathngsin 104 spdah phbwa phithawasaettinmiphlephimradbkhxelsetxrxlchnidkhwamhnaaennsung High density lipoprotein cholesterol HDL C aelaldradbitrkliesxird Triglyceride TG inkraaeseluxd odyechphaaxyangyinginphupwythimiradb HDL C takwa 400 millikrmtxedsilitr sungcamiradb HDL C ephimkhunidmakthung 24 6 cakkha HDL C phunthanedimkhxngphupwy aelamikarldlngkhxng TG echliy 19 9 cakkha TG phunthanedimkhxngphupwy nxkcakniaelw yngphbwaphithawasaettinmikhwamsmphnthkbkarldlngkhxngradbkhxelsetxrxlchnidkhwamhnaaennta Low density lipoprotein cholesterol LDL C inkraaeseluxdlngidmakthung 29 1 cakkha LDL C phunthanedimkhxngphupwy hlngcakrayaewla 4 spdahnbcakerimkarrksa odyradb HDL C thiephimkhunnisamarthphbkarekidkhunidinphupwythiepliyncaksaettinchnidxunmaepnphithawasaettin sxdkhlxngkbkarsuksaechingsngektthimichuxwa CIRCLE observational study sungthakarsuksaephuxepriybethiybprasiththiphaphkhxngyaklumsaettinchnidtang thakarsuksainphupwychawyipuncanwn 743 khn inchwng kh s 2001 2008 odytidtamphupwythiidrbyaphithawasaettinepnrayaewla 70 eduxn phbwayadngklawsamarthephimradb HDL C idmakkwaxaothwasaettin aelaepnyaklumsaettinephiyngchnidediywthisamarthephimradb HDL C idxyangminysakhythangsthitiemuxepriybethiybkbklumthiimidrbyasaettin swnphlkarpxngknkarekidorkhhwicaelahlxdeluxdnnphbwaphithawasaettinmiprasiththiphaphmakthisudinkarpxngknkarekidxubtikarndngklaw emuxepriybethiybkbyaklumsaettinchnidxun swnphlkhxngphithawasaettintxradbnatalineluxdnnxacsngphlditxkarkhwbkhumradbineluxdkhxngphupwy dngnnphithawasaettincungduehmuxnwamikhwamehmaasmthicaichinphupwythiepnorkhthangemthabxlikh xyangechn orkhebahwan rwmkbmiradb LDL C thisungaetmiradb HDL C ineluxdta odyphlkarwiekhraahaebbklumyxykhxngkarsuksa LIVES thiidklawipdngkhangtnphbwa phupwyebahwanchnidthi 2 thiichphithawasaettinepnrayaewlatxenuxngmikarldlngkhxngradb HbA1C aelamikarephimkhunkhxng eGFR xyangminysakhythangsthitiinphupwythimiphawaitwayeruxrngrwmdwyxakarimphungprasngkhxakarimphungprasngkhthwipthimikhwamsmphnthkbkarichyaklumsaettin echn pwdsirsa khlunis xaeciyn phlkartrwcexnismtbphidpkti aelaekidtakhriwid echnediywknkbphithawasaettinthiekidxakarkhangekhiyngehlaniidechnkn aelaenuxngcakphithawasaettinnnlalayinnaiddisungaetktangipcakyainklumsaettinchnidxunsungswnihymklalayinikhmniddi thaihduehmuxnphithawasaettinwacamixakarkhangekhiyngtxklamenuxnxykwayachnidxuninklumediywkn mikarsuksathangkhlinikthiphanmakhnphbwaokhexnismkhiwethn coenzyme Q10 inphuthiichphithawasaettinnnimidldlngmakethakbphuthiichyaxuninklumediywkn sungkarldlngkhxngokhexnismkhiwethndngkhangtnnnmkmikhwamsmphnthkbkarekidxakarkhangekhiyngthangklamenuxinklumphuthiichyasaettininrayayaw ladbkarkhnphbyaklumsaettin inthangtrngknkham phithawasaettinnnduehmuxnwacamiswnchwyinkarprbsmdulkhxngradbnatalinkraaeseluxdihdikhunid sungaetktangcakyasaettinchnidxun nxkcakniaelw yngphbrayngankarekidphawakrdyurikinkraaeseluxdsung Hyperuricemia inphuthiichphithawasaettinxikdwykarepliynaeplngyainrangkay aelakarekidxntrkiriyarahwangyayaklumsaettinodyswnihynnmkthukepliynaeplnginrangkayodyklumexnism Cytochrome P450 thitb odyaetktangkniptamaetlachnidkhxngya aelaenuxngdwyyachnidxunswnihykmkekidthukepliynaeplngodyklumexnismdngklawinrangkayechnkn dngnncungthaihyaklumsaettinnisamarthekidxntrkiriyarahwangyakbyachnidxunidmak rwmipthungkarekidxntrkiriyakbxaharbangchnid echn grapefruit juice aetphithawasaettinmikhxaetktangipcakyasaettinchnidxun khux yadngklawekidkarepliynaeplngodyexnism CYP2C9 epnhlk khnathisaettinchnidxunnnekidkarepliynaeplngthi CYP3A4 epnhlk exnism CYP3A4 thitbnnthahnathiinkarepliynaeplngyahlaychnid sungmakkwa 80 khxngyathimiinpccubnekidkarepliynaeplnginrangkayodyexnismni thaihphithawasaettinmioxkasthicaekidxntrkiriyarahwangyaidnxykwayaxuninklumediywkn dngnnphithawasaettinxacmikhwamsakhyinklumphupwysungxayuthimiorkhhlaychnid sungtxngrbprathanyahlaychnidtamipdwy karrbprathanyahlaychnidrwmkn thaihmikhwamesiyngtxkarekidxntrkiriyarahwangyamakkhun prawtikarkhnphbphithawasaettin hruxthiruckknkxnhnaniinchux ixthawasaettin itavastatin ixthabawasaettin itabavastin niswasaettin nisvastatin exnekh 104 NK 104 hrux exnekhexs 104 NKS 104 thukkhnphbinpraethsyipunodybristh nissn ekhmikhxl xindsthris Nissan Chemical Industries aelatxmathukphthnaodybristhyainotekiywthimichuxwa okhwa farmasutikhxls Kowa Pharmaceuticals phithawasaettinidrbkarrbrxngihichinshrthxemrikaodyxngkhkaraelayaemuxwnthi 8 minakhm kh s 2009 phayitchuxkarkha liwaol Livalo aelaidrbkarrbrxngcak xngkhkarkhwbkhumyaaelaphlitphnthephuxsukhphaph Medicines and Healthcare products Regulatory Agency MHRA khxngshrachxanackrinwnthi 17 singhakhm kh s 2010duephimxaothwasaettin fluwasaettin olwasaettin prawasaettin orsuwasaettin simwasaettin esxwiwasaettin emwasaettinxangxingKajinami K Takekoshi N Saito Y 2003 Lacy FC Armstrong LL Goldman PM Lance LL editors Drug Information Handbook with international trade name index 18th edition New Tork Lexi Comp 2014 p 585 588 ISBN 978 1 59195 255 8 Dariche Nehdi July 12 2012 The Seventh Statin Pitavastatin Part 1 Clinical Studies Cultu rEbene subkhnemux December 9 2015 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2017 09 26 subkhnemux 2015 12 09 Mukhtar R Y A Reid J Reckless J P D 2005 U S Food and Drug Administration April 4 2013 FDA Approves New Cholesterol Lowering Drug subkhnemux December 10 2015 Effects of pitavastatin LIVALO Tablet on high density lipoprotein cholesterol HDL C in hypercholesterolemia J Atheroscler Thromb 16 654 61 Oct 2009 doi 10 5551 jat 1719 PMID 19907105 Teramoto T 2011 Pitavastatin clinical effects from the LIVES Study Atheroscler Suppl 12 3 285 288 Maruyama T Takada M Nishibori Y Fujita K Miki K Masuda S Horimatsu T Hasuike T 2011 Comparison of preventive effect on cardiovascular events with different statins The CIRCLE study Circ J 75 8 1951 9 doi 10 1038 sj clpt 6100396 PMID 21673458 Pitavastatin in cardiometabolic disease therapeutic profile Cardiovasc Diabetol 12 Suppl 1 S2 May 30 2013 doi 10 1186 1475 2840 12 S1 S2 PMID 23819752 ScienceDaily 11 May 2013 Alternative Cholesterol Lowering Drug for Patients Who Can t Tolerate Statins ScienceDaily Kawashiri MA Nohara A Tada H Mori M Tsuchida M Katsuda S Inazu A Kobayashi J Koizumi J Mabuchi H Yamagishi M May 2008 Comparison of effects of pitavastatin and atorvastatin on plasma coenzyme Q10 in heterozygous familial hypercholesterolemia results from a crossover study Clin Pharmacol Ther 83 5 731 9 doi 10 1038 sj clpt 6100396 PMID 17957184 Ogata N Fujimori S Oka Y Kaneko K 2010 Effects of Three Strong Statins Atorvastatin Pitavastatin and Rosuvastatin on Serum Uric Acid Levels in Dyslipidemic Patients Nucleosides Nucleotides and Nucleic Acids 29 4 6 321 doi 10 1080 15257771003741323 PRNewswire August 17 2010 Kowa Announces First EU Marketing Authorisation for Pitavastatin Granted in the UK PRNewswire com subkhnemux December 10 2015 Kowa Pharmaceuticals Europe November 2013 PDF khlngkhxmulekaekbcakaehlngedim PDF emux 2016 03 04 subkhnemux December 9 2015 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite web title aemaebb Cite web cite web a trwcsxbkhawnthiin date help aehlngkhxmulxunFDA approval history