บทความนี้อาจต้องการตรวจสอบต้นฉบับ ในด้านไวยากรณ์ รูปแบบการเขียน การเรียบเรียง คุณภาพ หรือการสะกด คุณสามารถช่วยพัฒนาบทความได้ |
พหุนิยมทางศาสนา เป็นทฤษฎีหนึ่งที่นักวิชาการและนักเทวะวิทยาตะวันตกที่ได้รับอิทธิพลจากการทัศนะเฉพาะในการให้คำตอบแก่บางคำถามเกี่ยวกับเรื่องความเชื่อและนำเสนอเพื่อแก้ไขปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นในสังคม
พหุนิยมทางศาสนาได้รับความนิยมอย่างมากในช่วงหลายศตวรรษโดยการนำเสนอของในโลกแห่งคริสตจักร เขาเห็นว่าชาวคริสต์จำนวนมากได้รับอิทธิพลจากศาสนาต่างๆ ที่มีคนดีสะอาดบริสุทธิ์เกิดขึ้น เขาจึงกล่าวว่า ดังนั้นเราต้องไม่กล่าวว่าคือพระเจ้า และเฉพาะท่านเท่านั้นที่จะเป็นสื่อให้เข้าสู่สรวงสวรรค์ หากเฉพาะชาวคริสต์เท่านั้นที่จะได้เข้าสวรรค์แล้วความดีงามต่างๆ จากศาสนิกอื่นเล่าจะเป็นเช่นไร?
Pluralism เป็นศัพท์วิชาการที่ได้รับมาจากวัฒนธรรมตะวันตก ที่เริ่มขึ้นในจารีตของคริสตจักร โดยใช้ศัพท์คำนี้เรียกคนที่หลายตำแหน่งในคริสตจักร ปัจจุบันในวัฒนธรรมศาสนาให้ความหมายว่าการมีแนวคิดหนึ่งที่ยอมรับความเชื่อและแนวทางที่หลากหลาย จากตรงนี้เองที่พหุนิยมศาสนาถูกนำมากล่าวถึง ดังนั้นพหุนิยมศาสนาจึงเป็นผลพวงและการค้นพบในยุคสมัยใหม่นั่นเอง
สิ่งจำเป็นของพหุนิยมทางศาสนา
ปัจจุบันพหุนิยมศาสนา ได้ให้ความหมายใหม่ที่แตกต่างไปจากความหมายเดิม นั่นก็คือแก่นแท้อันบริสุทธิ์และทางรอดพ้นไม่ได้ถูกจำกัดอยู่ในศาสนา นิกายใดเท่านั้น ทว่าเชื่อว่าแก่นแท้อันบริสุทธิ์ คือจุดร่วมเดียวกันในศาสนาทั้งหมด ศาสนา นิกาย และหลักปฏิบัติต่างๆที่มีนั้นคือการสำแดงออกมาอย่างหลากหลายจากแก่นแท้อันบริสุทธิ์นั้น ดังนั้นศาสนาและนิกายทั้งหมดคือทางรอดพ้นด้วยกันทั้งสิ้น
จำกัดนิยมและครอบคลุมนิยม
ในโลกตะวันตกนอกจากพหุนิยมศาสนาแล้วยังมีอีกสองแนวคิดในโลกตะวันตก คือจำกัดนิยมและครอบคลุมนิยม จำกัดนิยม หมายถึง ชาวคริสต์เท่านั้นที่ได้รับทางรอดพ้น ไม่ใช่เพราะว่าแก่นแท้อันบริสุทธิ์นั้นมีอยู่ในศาสนาคริสต์เท่านั้น ทว่าเนื่องจากการสำแดงของพระเจ้านั้นถูกเกิดขึ้นเฉพาะในมะซีห์เท่านั้น (ในความเชื่อของชาวคริสต์ อีซาและพระเจ้ามีอาตมันเดียวกัน) และเนื่องจากทางรอดพ้นมีอยู่ในกลุ่มที่ได้รับความโปรดปรานแห่งพระเจ้าจากหนทางของการสำแดงของพระองค์สู่มนุษย์ที่มีเกิดขึ้นเฉพาะกับมะซีห์เท่านั้น ดังนั้นหนทางแห่งการรอดพ้นจึงมีเฉพาะในศาสนาคริสต์เท่านั้น คาร์ล บาร์ธ นักเทวะวิทยาชาวคริสต์ นิกายโปรแตสแตนต์ คือหนึ่งในผู้ที่ยอมรับทฤษฎีนี้
ในมุมมองของครอบคลุมนิยมนั้นเชื่อว่าทางรอดพ้นนั้นมีหนึ่งเดียวเท่านั้น และทางรอดพ้นนี้มีอยู่ในศาสนาเดียวเท่านั้น ทว่าในขณะเดียวกันผู้คนทั้งหมดสามารถที่จะก้าวเข้าสู่หนทางนี้ได้แม้ว่าจะไม่ได้ปฏิบัติตามเงื่อนไขเฉพาะที่มีอยู่ในศาสนานั้นก็ตาม ครอบคลุมนิยมยอมรับหลักการของพหุนิยมว่าเป็นความโปรดปรานของพระเจ้าที่ทรงสำแดงแก่ศาสนิกชนของศาสนาต่างๆ ที่หลากหลาย แต่ละคนสามารถพบกับทางรอดพ้นได้แแม้ว่าเขาจะไม่เคยได้ยินหลักความเชื่อของศาสนาที่สัจธรรมก็ตาม คาร์ล แรนเนอร์ นักเทวะวิทยาชาวคริสต์ นิกายคาทอลิกก็เป็นหนึ่งในผู้ที่ยอมรับทฤษฎีนี้
นิยามของพหุนิยมทางศาสนา
ยังไม่มีนิยามที่สมบูรณ์ที่เป็นมติเอกฉันท์สำหรับพหุนิยมศาสนา แต่เราก็มีข้อมูลเกี่ยวกับการใช้คำนี้ในหลายกรณีดังนี้
1) พหุนิยมทางศาสนา ism ในศาสนาหมายถึงเสริมความปรองดองและ coexistence,เงียบสงบ เพื่อหลีกเลี่ยงสงครามและขัดแย้งกัน ในคำอื่นคือ کثرتها เป็นทางสังคม realities ยอมรับและผลประโยชน์ของสังคม นี่ไม่ใช่เช่นกันที่จะตกแต่ควร coexist ไม่มีอันนั้น ในดินแดนของศาสนาขึ้นนะ สองศาสนารึยังว่า àˆà£àà‡ในเจาะจงและแตกต่างจากกันและกัน ร่วมกันให้เกียรติผมหน่อยแล้วและย่อมกับคนอื่นมาเกี่ยวข้องนี่ยังไม่ใช่ตอนนั้นใครใดๆตัวเองที่ถูกต้องทฤษฎีแล้วที่เหลือปลอมเขารู้แต่ในกซ้อมที่ fraternal ชีวิต
บ้างก็ถือว่าการยืดหยุ่นไม่ใช่เป็นพหุนิยม พวกเขากล่าวว่า ในการยืนหยุ่นมนุษย์มีเสรีภาพและให้เกียรติในสิทธิของผู้อื่นแม้เขาจะเชื่อว่าความจริงแท้ทั้งหมดนั้นมีเพียงเขาเท่านั้นก็ตาม
นิยามนี้ได้อธิบายพหุนิยมไว้สามลักษณะ ได้แก่: หนึ่ง ผู้ที่ยึดมั่นในศาสนาต้องศึกษาค้นคว้าหลักศรัทธาของศาสนาทั้งหมดด้วยหนทางของสติปัญญาอย่างมีตรรกะ ตามหลักญาณวิทยาและตรรกวิทยา เพื่อค้นหาศาสนาที่ถูกต้อง
บางโองการจากอัลกุรอานก็กล่าวไว้ในลักษณะนี้เช่นกัน เช่น โองการที่ 18 อัลกุรอานบท อัซซุมัร ว่า "บรรดาผู้ที่สดับฟังคำกล่าว แล้วปฏิบัติตามที่ดีที่สุดของมัน ชนเหล่านี้คือบรรดาผู้ที่อัลลอฮฺทรงชี้แนะแนวทางที่ถูกต้องแก่พวกเขาและชนเหล่านี้พวกเขาคือผู้ที่มีสติปัญญาใคร่ครวญ" หรือโองการที่ 17 อัลกุรอานบทอัลฮัจญ์ "แท้จริงบรรดาผู้ศรัทธา และบรรดาชาวยิว และพวกซอบิอีน และพวกนะศอรอ และพวกบูชาไฟ และบรรดาผู้ตั้งภาคี แท้จริงอัลลอฮ์จะทรงตัดสินใจในระหว่างพวกเขาในวันกิยามะฮ์ แท้จริงอัลลอฮ์ทรงเป็นพยานต่อทุกสิ่ง" หรือโองการที่ 62 อัลกุรอานบทอัลบะเกาะเราะฮ์ "แท้จริงบรรดาผู้ศรัทธา และบรรดาผู้ที่เป็นยิว และบรรดาผู้ที่เป็นคริสเตียน และอัศ-ซอบิอีน ผู้ใดก็ตามที่ศรัทธาต่ออัลลอฮฺและวันปรโลก และประกอบสิ่งที่ดีแล้ว พวกเขาก็จะได้รับรางวัลของพวกเขา ณ พระผู้เป็นเจ้าของพวกเขา และไม่มีความหวาดกลัวใด ๆ แก่พวกเขา และทั้งพวกเขาก็จะไม่เสียใจ"
สอง การแลกเปลี่ยนความคิดและการสนทนาระหว่างศาสนา ตามมุมมองของนักจิตวิทยา หมายความว่าบรรดาผู้นับถือแต่ละศาสนา แต่ละนิกาย เปิดใจกว้างเพื่อนั่งสนทนากับศาสนิกชนอื่น ด้วยการยึดหยุ่นเพื่อทำลายความวุ่นวายในสังคม แม้ว่าจะไม่ได้ผลลัพธ์ของญาณวิทยาตรงกันก็ตาม
สาม การสนทนาระหว่างศาสนาบนพื้นฐานของความลังเลในหลักความเชื่อศาสนาของตน
การอธิบายตามการตั้งสมมติฐานเช่นนี้ นอกจากจะทำลายระบบการสนทนาและเนื้อหาของเรื่องแล้วก็ยังเป็นสิ่งที่สอดคล้องกับหลักธรรมคำสอนของสำนักคิดอะฮ์ลุลบัยต์ (ครองครัวของท่านศาสดามุฮัมหมัด (ศ็อลฯ) อิมามอาลี (อ.) กล่าวถึงการยืนหยัดและปกป้องศาสนาไว้ว่า ความผาสุกที่ประเสริฐสุดคือการยืนหยัดในศาสนา (ฆุรอรุลฮิกัม หน้า 85)
2) หมายถึงศาสนาเดียวที่ถูกส่งลงมาจากพระเจ้าแต่มีหลากหลายรูปแบบ ตามความเชื่อของอิสลาม คริสต์ ยะฮุดี อิสลามและโซโรอัสเตอร์ ตามความหมายเฉพาะ ทั้งหมดนี้ล้วนเป็นแก่นแท้เดียวกัน ไม่มีความแตกต่างในแก่นของศาสนาแต่แตกต่างกันที่ความเข้าใจในศาสนา ผู้หนึ่งเข้าใจบัญชาของพระเจ้าไปในลักษณะหนึ่งเขากลายเป็นยะฮูดี อีกกลุ่มหนึ่งเข้าใจอีกแบบหนึ่งก็กลายเป็นคริสต์ อีกกลุ่มเข้าใจอีกอย่างก็กลายเป็นมุสลิม เราจะต้องไม่กล่าวว่าศาสนานี้ถูกต้อง ศาสนานั้นไม่ถูกต้อง นิกายนี้ถูกต้อง นิกายนี้ไม่ถูกต้อง ต้องไม่ถกเถียงกันในเรื่องนี้ เนื่องจากแต่ละคนก็เข้าไปตามศักยภาพและสภาวะเงื่อนไขของตน สิ่งที่อยู่ในสิทธิ์ของเราคือการที่เราไม่อาจตัดสินความเข้าใจที่หลากหลายทั้งหมดนี้ได้อย่างถ่องแท้แน่นอนว่าอ้นไหนดีกว่าหรือถูกต้องกว่า ทว่าเราสามารถที่จะให้ความเข้าใจอันหนึ่งดีกว่าความเข้าใจอีกอันหนึ่งได้ด้วยบริบทใดบริบทหนึ่ง เราไม่มีทางเที่ยงตรงอันเดียว ทว่าเรามีทางต่างๆ ที่เป็นทางเที่ยงตรง พหุนิยมหมายถึงการยอมรับความเข้าใจและการรู้จักที่หลากหลายในสิ่งที่เป็นแก่นแท้อันเดียวกัน แม้ว่าระหว่างมันจะมีความขัดแย้งกันก็ตาม
3) ทัศนะที่สองอย่างน้อยก็ตั้งสมมติฐานไว้ว่าแก่นแท้อันเดียวที่ถูกยอมรับ ณ พระเจ้า คือ อิสลาม ที่เป็นศาสนาสัจธรรม แต่เราไม่อาจเข้าถึงได้ ดังนั้นแต่ละคนจะเข้าใจอย่างไรทั้งหมดก็คือสัจธรรมทั้งสิ้น แต่ทัศนะที่สามนี้เป็นอีกอย่างหนึ่ง กล่าวคือ สัจธรรมและแก่นแท้ก็มีหลากหลายเช่นกัน ซึ่งทำให้ไม่ประสบปัญหาความขัดแย้งระหว่างกัน ไม่อาจพูดได้ว่า อันนั้นมี อันนี้ไม่มี ถูกหรือผิด ทั้งสองคือความจริงและสัจธรรมด้วยกันทั้งสิ้น
4)แก่นแท้และสัจธรรมคือประมวลหนึ่งที่มีองค์ประกอบต่างๆ ซึ่งจะพบแต่ละองค์ประกอบมีอยู่ในศาสนาต่างๆ ดังนั้นสัจธรรมและแก่นแท้ไม่ได้รวมอยู่ในศาสนาใดศาสนาหนึ่ง เราไม่มีศาสนาที่ครอบคลุมทั้งหมด ทว่าแต่ละศาสนาต่างก็มีแก่นแท้และสัจธรรมที่เป็นส่วนหนึ่งของประมวลสัจธรรม สรุปก็คือไม่มีศาสนาใดที่ครอบคลุมสัจธรรมไว้ทั้งหมดและบริสุทธิ์จากความเป็นโมฆะ ไม่มีทั้งในมุสลิม และศาสนิกชนอื่น เราไม่สามารถกล่าวได้ว่าศาสนาของฉันเป็นศาสนาที่ครอบคลุมสัจธรรมไว้ทั้งหมด
ดูเพิ่ม
อ้างอิง
- گفتگوی محمد مجتهد شبستری، احمد صدری، محمود صدری و مراد فرهادپور درباره پلورالیسم دینی
- کتاب نقد، شمارة ۴
- مجلّه کیان، شمارة ۳۸، علیرضا قائمینیا
- تفسیر المیزان، علامه طباطبایی، ج۱۹، ج۱۹، ج۱۵، ج۳، ج۱۸،
- تفسیر ابوالفتوح رازی، ج۲، ج۴، ج۱، ج۱۲،
- تفسیر نمونه، مکارم شیرازی، ج ۲۴،
- تفسیر منهج الصادقین، ج۱۰،
- عدل الهی، استاد شهید مطهری، نشر صدرا، چاپ ۱۳۷۵
- ولایت در قرآن، آیتالله جوادی آملی
แหล่งข้อมูล
- توجیه پلورالیسم توحیدی 2013-06-15 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- کثرتگرایی دینی 2013-05-26 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน، مناظره سید حسن حسینی سروری و عبدالحسین خسروپناه در برنامه زاویه راجع به جان هیک و نظرات او
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamnixactxngkartrwcsxbtnchbb indaniwyakrn rupaebbkarekhiyn kareriyberiyng khunphaph hruxkarsakd khunsamarthchwyphthnabthkhwamid phhuniymthangsasna epnthvsdihnungthinkwichakaraelankethwawithyatawntkthiidrbxiththiphlcakkarthsnaechphaainkarihkhatxbaekbangkhathamekiywkberuxngkhwamechuxaelanaesnxephuxaekikhpyhatang thiekidkhuninsngkhm phhuniymthangsasnaidrbkhwamniymxyangmakinchwnghlaystwrrsodykarnaesnxkhxnginolkaehngkhristckr ekhaehnwachawkhristcanwnmakidrbxiththiphlcaksasnatang thimikhndisaxadbrisuththiekidkhun ekhacungklawwa dngnneratxngimklawwakhuxphraeca aelaechphaathanethannthicaepnsuxihekhasusrwngswrrkh hakechphaachawkhristethannthicaidekhaswrrkhaelwkhwamdingamtang caksasnikxunelacaepnechnir Pluralism epnsphthwichakarthiidrbmacakwthnthrrmtawntk thierimkhunincaritkhxngkhristckr odyichsphthkhanieriykkhnthihlaytaaehnnginkhristckr pccubninwthnthrrmsasnaihkhwamhmaywakarmiaenwkhidhnungthiyxmrbkhwamechuxaelaaenwthangthihlakhlay caktrngniexngthiphhuniymsasnathuknamaklawthung dngnnphhuniymsasnacungepnphlphwngaelakarkhnphbinyukhsmyihmnnexngsingcaepnkhxngphhuniymthangsasnapccubnphhuniymsasna idihkhwamhmayihmthiaetktangipcakkhwamhmayedim nnkkhuxaeknaethxnbrisuththiaelathangrxdphnimidthukcakdxyuinsasna nikayidethann thwaechuxwaaeknaethxnbrisuththi khuxcudrwmediywkninsasnathnghmd sasna nikay aelahlkptibtitangthiminnkhuxkarsaaedngxxkmaxyanghlakhlaycakaeknaethxnbrisuththinn dngnnsasnaaelanikaythnghmdkhuxthangrxdphndwyknthngsincakdniymaelakhrxbkhlumniyminolktawntknxkcakphhuniymsasnaaelwyngmixiksxngaenwkhidinolktawntk khuxcakdniymaelakhrxbkhlumniym cakdniym hmaythung chawkhristethannthiidrbthangrxdphn imichephraawaaeknaethxnbrisuththinnmixyuinsasnakhristethann thwaenuxngcakkarsaaedngkhxngphraecannthukekidkhunechphaainmasihethann inkhwamechuxkhxngchawkhrist xisaaelaphraecamixatmnediywkn aelaenuxngcakthangrxdphnmixyuinklumthiidrbkhwamoprdpranaehngphraecacakhnthangkhxngkarsaaedngkhxngphraxngkhsumnusythimiekidkhunechphaakbmasihethann dngnnhnthangaehngkarrxdphncungmiechphaainsasnakhristethann kharl barth nkethwawithyachawkhrist nikayopraetsaetnt khuxhnunginphuthiyxmrbthvsdini inmummxngkhxngkhrxbkhlumniymnnechuxwathangrxdphnnnmihnungediywethann aelathangrxdphnnimixyuinsasnaediywethann thwainkhnaediywknphukhnthnghmdsamarththicakawekhasuhnthangniidaemwacaimidptibtitamenguxnikhechphaathimixyuinsasnannktam khrxbkhlumniymyxmrbhlkkarkhxngphhuniymwaepnkhwamoprdprankhxngphraecathithrngsaaedngaeksasnikchnkhxngsasnatang thihlakhlay aetlakhnsamarthphbkbthangrxdphnidaeaemwaekhacaimekhyidyinhlkkhwamechuxkhxngsasnathiscthrrmktam kharl aernenxr nkethwawithyachawkhrist nikaykhathxlikkepnhnunginphuthiyxmrbthvsdininiyamkhxngphhuniymthangsasnayngimminiyamthismburnthiepnmtiexkchnthsahrbphhuniymsasna aeterakmikhxmulekiywkbkarichkhaniinhlaykrnidngni 1 phhuniymthangsasna ism insasnahmaythungesrimkhwamprxngdxngaela coexistence engiybsngb ephuxhlikeliyngsngkhramaelakhdaeyngkn inkhaxunkhux کثرتها epnthangsngkhm realities yxmrbaelaphlpraoychnkhxngsngkhm niimichechnknthicatkaetkhwr coexist immixnnn indinaednkhxngsasnakhunna sxngsasnaruyngwa aˆa aa inecaacngaelaaetktangcakknaelakn rwmknihekiyrtiphmhnxyaelwaelayxmkbkhnxunmaekiywkhxngniyngimichtxnnnikhridtwexngthithuktxngthvsdiaelwthiehluxplxmekharuaetinksxmthi fraternal chiwit bangkthuxwakaryudhyunimichepnphhuniym phwkekhaklawwa inkaryunhyunmnusymiesriphaphaelaihekiyrtiinsiththikhxngphuxunaemekhacaechuxwakhwamcringaeththnghmdnnmiephiyngekhaethannktam niyamniidxthibayphhuniymiwsamlksna idaek hnung phuthiyudmninsasnatxngsuksakhnkhwahlksrththakhxngsasnathnghmddwyhnthangkhxngstipyyaxyangmitrrka tamhlkyanwithyaaelatrrkwithya ephuxkhnhasasnathithuktxng bangoxngkarcakxlkurxankklawiwinlksnaniechnkn echn oxngkarthi 18 xlkurxanbth xssumr wa brrdaphuthisdbfngkhaklaw aelwptibtitamthidithisudkhxngmn chnehlanikhuxbrrdaphuthixllxh thrngchiaenaaenwthangthithuktxngaekphwkekhaaelachnehlaniphwkekhakhuxphuthimistipyyaikhrkhrwy hruxoxngkarthi 17 xlkurxanbthxlhcy aethcringbrrdaphusrththa aelabrrdachawyiw aelaphwksxbixin aelaphwknasxrx aelaphwkbuchaif aelabrrdaphutngphakhi aethcringxllxhcathrngtdsinicinrahwangphwkekhainwnkiyamah aethcringxllxhthrngepnphyantxthuksing hruxoxngkarthi 62 xlkurxanbthxlbaekaaeraah aethcringbrrdaphusrththa aelabrrdaphuthiepnyiw aelabrrdaphuthiepnkhrisetiyn aelaxs sxbixin phuidktamthisrththatxxllxh aelawnprolk aelaprakxbsingthidiaelw phwkekhakcaidrbrangwlkhxngphwkekha n phraphuepnecakhxngphwkekha aelaimmikhwamhwadklwid aekphwkekha aelathngphwkekhakcaimesiyic sxng karaelkepliynkhwamkhidaelakarsnthnarahwangsasna tammummxngkhxngnkcitwithya hmaykhwamwabrrdaphunbthuxaetlasasna aetlanikay epidickwangephuxnngsnthnakbsasnikchnxun dwykaryudhyunephuxthalaykhwamwunwayinsngkhm aemwacaimidphllphthkhxngyanwithyatrngknktam sam karsnthnarahwangsasnabnphunthankhxngkhwamlngelinhlkkhwamechuxsasnakhxngtn karxthibaytamkartngsmmtithanechnni nxkcakcathalayrabbkarsnthnaaelaenuxhakhxngeruxngaelwkyngepnsingthisxdkhlxngkbhlkthrrmkhasxnkhxngsankkhidxahlulbyt khrxngkhrwkhxngthansasdamuhmhmd sxl ximamxali x klawthungkaryunhydaelapkpxngsasnaiwwa khwamphasukthipraesrithsudkhuxkaryunhydinsasna khurxrulhikm hna 85 2 hmaythungsasnaediywthithuksnglngmacakphraecaaetmihlakhlayrupaebb tamkhwamechuxkhxngxislam khrist yahudi xislamaelaosorxsetxr tamkhwamhmayechphaa thnghmdnilwnepnaeknaethediywkn immikhwamaetktanginaeknkhxngsasnaaetaetktangknthikhwamekhaicinsasna phuhnungekhaicbychakhxngphraecaipinlksnahnungekhaklayepnyahudi xikklumhnungekhaicxikaebbhnungkklayepnkhrist xikklumekhaicxikxyangkklayepnmuslim eracatxngimklawwasasnanithuktxng sasnannimthuktxng nikaynithuktxng nikayniimthuktxng txngimthkethiyngknineruxngni enuxngcakaetlakhnkekhaiptamskyphaphaelasphawaenguxnikhkhxngtn singthixyuinsiththikhxngerakhuxkarthieraimxactdsinkhwamekhaicthihlakhlaythnghmdniidxyangthxngaethaennxnwaxnihndikwahruxthuktxngkwa thwaerasamarththicaihkhwamekhaicxnhnungdikwakhwamekhaicxikxnhnungiddwybribthidbribthhnung eraimmithangethiyngtrngxnediyw thwaeramithangtang thiepnthangethiyngtrng phhuniymhmaythungkaryxmrbkhwamekhaicaelakarruckthihlakhlayinsingthiepnaeknaethxnediywkn aemwarahwangmncamikhwamkhdaeyngknktam 3 thsnathisxngxyangnxyktngsmmtithaniwwaaeknaethxnediywthithukyxmrb n phraeca khux xislam thiepnsasnascthrrm aeteraimxacekhathungid dngnnaetlakhncaekhaicxyangirthnghmdkkhuxscthrrmthngsin aetthsnathisamniepnxikxyanghnung klawkhux scthrrmaelaaeknaethkmihlakhlayechnkn sungthaihimprasbpyhakhwamkhdaeyngrahwangkn imxacphudidwa xnnnmi xnniimmi thukhruxphid thngsxngkhuxkhwamcringaelascthrrmdwyknthngsin 4 aeknaethaelascthrrmkhuxpramwlhnungthimixngkhprakxbtang sungcaphbaetlaxngkhprakxbmixyuinsasnatang dngnnscthrrmaelaaeknaethimidrwmxyuinsasnaidsasnahnung eraimmisasnathikhrxbkhlumthnghmd thwaaetlasasnatangkmiaeknaethaelascthrrmthiepnswnhnungkhxngpramwlscthrrm srupkkhuximmisasnaidthikhrxbkhlumscthrrmiwthnghmdaelabrisuththicakkhwamepnomkha immithnginmuslim aelasasnikchnxun eraimsamarthklawidwasasnakhxngchnepnsasnathikhrxbkhlumscthrrmiwthnghmdduephimPluralismxangxingگفتگوی محمد مجتهد شبستری احمد صدری محمود صدری و مراد فرهادپور درباره پلورالیسم دینی کتاب نقد شمارة ۴ مجل ه کیان شمارة ۳۸ علیرضا قائمی نیا تفسیر المیزان علامه طباطبایی ج۱۹ ج۱۹ ج۱۵ ج۳ ج۱۸ تفسیر ابوالفتوح رازی ج۲ ج۴ ج۱ ج۱۲ تفسیر نمونه مکارم شیرازی ج ۲۴ تفسیر منهج الصادقین ج۱۰ عدل الهی استاد شهید مطهری نشر صدرا چاپ ۱۳۷۵ ولایت در قرآن آیت الله جوادی آملیaehlngkhxmulتوجیه پلورالیسم توحیدی 2013 06 15 thi ewyaebkaemchchin کثرت گرایی دینی 2013 05 26 thi ewyaebkaemchchin مناظره سید حسن حسینی سروری و عبدالحسین خسروپناه در برنامه زاویه راجع به جان هیک و نظرات او