มาตราขนาดโมเมนต์ (อังกฤษ: moment magnitude scale; MMS, Mw) เป็นหน่วยที่นักวิทยาแผ่นดินไหวใช้เพื่อวัดขนาดของแผ่นดินไหวในแง่ของพลังงานที่ปลดปล่อยออกมา แมกนิจูดนั้นขึ้นอยู่กับโมเมนต์แผ่นดินไหวที่เกิดขึ้น ซึ่งเท่ากับความคงรูปของโลกคูณกับค่าเฉลี่ยของการเลื่อนบนรอยแยกและขนาดของพื้นที่ที่เลื่อน มาตราดังกล่าวได้รับการพัฒนาขึ้นมาในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1970 เพื่อใช้แทนมาตราริกเตอร์ ซึ่งใช้กันมาตั้งแต่คริสต์ทศวรรษ 1930 แม้ว่าสูตรในการคำนวณจะต่างกัน แต่มาตราใหม่นี้ยังคงให้ค่าแมกนิจูดที่ใกล้เคียงตามที่จำกัดความไว้โดยมาตราริกเตอร์เดิม มาตราโมเมนต์แมกนิจูดนี้ใช้เพื่อประเมินแมกนิจูดสำหรับแผ่นดินไหวขนาดใหญ่สมัยใหม่ทั้งหมดโดย
การจำกัดความ
สัญลักษณ์ของมาตราโมเมนต์แมกนิจูด คือ โดยมีตัวห้อย หมายถึง งานเชิงกลที่เกิดขึ้น โมเมนต์แมกนิจูด เป็นซึ่งจำกัดความโดย
โดยที่ เป็นแมกนิจูดของโมเมนต์แผ่นดินไหวในหน่วยดายน์เซนติเมตร (10-7 นิวตันเมตร) ส่วนค่าคงตัวในสมการนี้ถูกเลือกเพื่อให้สอดคล้องกับค่าแมกนิจูดที่คำนวณได้จากมาตราเก่า โดยที่สำคัญที่สุดคือ มาตราท้องถิ่น (หรือ "ริกเตอร์")
เช่นเดียวกับมาตราริกเตอร์ การเพิ่มขึ้นหนึ่งระดับของมาตราเชิงลอการิทึมสอดคล้องกับพลังงานที่ปลดปล่อยออกมาเพิ่มขึ้น 101.5 ≈ 32 เท่า และการเพิ่มขึ้นสองระดับจะสอดคล้องกับพลังงานที่ปลดปล่อยออกมาเพิ่มขึ้น 103 = 1000 เท่า
อ้างอิง
- Hanks, Thomas C.; Kanamori, Hiroo (May 1979). (PDF). Journal of Geophysical Research. 84 (B5): 2348–50. doi:10.1029/JB084iB05p02348. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2010-08-21. สืบค้นเมื่อ 2011-03-27.
- USGS Earthquake Magnitude Policy
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
matrakhnadomemnt xngkvs moment magnitude scale MMS Mw epnhnwythinkwithyaaephndinihwichephuxwdkhnadkhxngaephndinihwinaengkhxngphlngnganthipldplxyxxkma aemknicudnnkhunxyukbomemntaephndinihwthiekidkhun sungethakbkhwamkhngrupkhxngolkkhunkbkhaechliykhxngkareluxnbnrxyaeykaelakhnadkhxngphunthithieluxn matradngklawidrbkarphthnakhunmainchwngkhristthswrrs 1970 ephuxichaethnmatrariketxr sungichknmatngaetkhristthswrrs 1930 aemwasutrinkarkhanwncatangkn aetmatraihmniyngkhngihkhaaemknicudthiiklekhiyngtamthicakdkhwamiwodymatrariketxredim matraomemntaemknicudniichephuxpraeminaemknicudsahrbaephndinihwkhnadihysmyihmthnghmdodykarcakdkhwamsylksnkhxngmatraomemntaemknicud khux Mw displaystyle M mathrm w odymitwhxy w displaystyle mathrm w hmaythung nganechingklthiekidkhun omemntaemknicud Mw displaystyle M mathrm w epnsungcakdkhwamody Mw 23log10 M0 10 7 displaystyle M mathrm w frac 2 3 log 10 M 0 10 7 odythi M0 displaystyle M 0 epnaemknicudkhxngomemntaephndinihwinhnwydaynesntiemtr 10 7 niwtnemtr swnkhakhngtwinsmkarnithukeluxkephuxihsxdkhlxngkbkhaaemknicudthikhanwnidcakmatraeka odythisakhythisudkhux matrathxngthin hrux riketxr echnediywkbmatrariketxr karephimkhunhnungradbkhxngmatraechinglxkarithumsxdkhlxngkbphlngnganthipldplxyxxkmaephimkhun 101 5 32 etha aelakarephimkhunsxngradbcasxdkhlxngkbphlngnganthipldplxyxxkmaephimkhun 103 1000 ethaxangxingHanks Thomas C Kanamori Hiroo May 1979 PDF Journal of Geophysical Research 84 B5 2348 50 doi 10 1029 JB084iB05p02348 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedim PDF emux 2010 08 21 subkhnemux 2011 03 27 USGS Earthquake Magnitude Policy