พระพุทธทัตตะ เป็นพระคันถรจนาจารย์ฝ่ายเถรวาท เกิดหลัง พ.ศ.940 ที่เมืองอุรคปุระ (Uragapura) ปัจจุบันเรียกอุรัยปุระ ในอาณาจักรโจฬะทาง หลังจากอุปสมบทแล้วได้เดินทางไปเกาะลังกา เพื่อศึกษาพุทธศาสนาและรวบรวมคัมภีร์ทางพุทธศาสนาจากภาษาสิงหลแปลสู่ภาษาบาลี ในคราวที่พักอยู่สิงหล ท่านพักที่มหาวิหารเมืองอนุราธปุระ
เมื่อสำเร็จภารกิจแล้วก็เดินทางกลับสู่อินเดียโดยทางเรือ ระหว่างทางได้พบกับพระพุทธโฆสะที่แล่นเรือผ่านมา ท่านทั้งสองหยุดทักทายกัน แล้วท่านพระพุทธโฆสะกล่าวว่า "ท่านผู้เจริญ พระพุทธพจน์มีอยู่ในภาษาสิงหล ผมกำลังไปเกาะลังกาเพื่อแปลสู่ภาษามคธ" ท่านพุทธทัตตะกล่าวตอบว่า "ท่านผู้มีอายุ ผมไปเกาะลังกามาแล้ว เพื่อจุดประสงค์เดียวกับท่าน แต่ไม่อาจอยู่ได้นาน จึงทำงานไม่สำเร็จ เมื่อท่านรวบรวมอรรถกถาครบแล้วโปรดส่งให้ผมด้วย"
เมื่อได้รับปากกันแล้วทั้งสองรูปก็จากกัน ต่อมา เมื่อถึงอินเดียท่านก็ได้จำพรรษาที่วัดกฤษณทาส ที่พราหมณ์กฤษณทาส สร้างถวาย ริมฝั่งแม่น้ำกเวริ ณ ที่นี่ ท่านได้เขียนหนังสือหลายเล่ม เช่น
- อุตตรวินิจฉัย
- วินยวินิจฉัย
- รูปารูปวิภาค
- มธุรัตถวิลาสินี (อรรถกถาพุทธวงศ์)
ผลงานของท่านทั้งหมดนี้เป็นประโยชน์ต่อนักการศึกษาเป็นอย่างยิ่ง ต่อมาท่านก็ถึงมรณภาพที่วัดนี้
คัมภีร์วินิจฉัยและอุตตรวินิจฉัยเป็นคัมภีร์ที่รวบรวมเนื้อหาคัมภีร์พระวินัยปิฎก รูปแบบการแต่งเป็นร้อยกรองทั้งเล่ม โครงสร้างคัมภีร์วินิจฉัยว่าด้วยเรื่องสิกขาบทของพระภิกษุ และภิกษุณี มหาวรรค และจุลวรรค ส่วนคัมภีร์อุตรวินิฉจัย ว่าด้วยเรื่องคัมภีร์ปริวาร คัมภีร์ทั้งสองแต่งเป็นร้อยกรอง โดยใช้ฉันทลักษณ์บาลีประเภทต่าง ๆ เช่น มัตตาสมกฉันท์ วิชชุขมาลาฉันท์ อินทรวิเชียรฉันท์ เป็นต้น องค์ความรู้การวินิจฉัย พระวินัยในคัมภีร์วินัยวินิจฉัย และอุตรวินิจฉัย เป็นการวินิจฉัยสิกขาบท ที่ประกอบด้วยสถานที่ บุคคล วัตถุ อาบัติ อนาบัติ เป็นต้น
องค์ความรู้การวินิจฉัยในส่วนสิกขาบท เป็นรูปแบบสำคัญในการศึกษาวิเคราะห์วินัย ในส่วนที่เป็นสิกขาบทของพระภิกษุ และภิกษุณี รูปแบบการวินิจฉัยเหล่านี้ มีความสอดคล้องกับการวินิจฉัยพระวินัยในคัมภีร์ระดับต้น ตั้งแต่พระวินัยปิฎกจนถึงอรรถกถา
อ้างอิง
- Potter, Karl H; Encyclopedia of Indian Philosophies: Buddhist philosophy from 350 to 600 A.D. pg 216
- ดร.เสถียร ทั่งทองมะดั่น. (2561). คัมภีร์วินัยวินิจฉัยและอุตรวินิจฉัย : การแปลและศึกษาวิเคราะห์. สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
- ดร.เสถียร ทั่งทองมะดั่น. (2561). คัมภีร์วินัยวินิจฉัยและอุตรวินิจฉัย : การแปลและศึกษาวิเคราะห์. สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
phraphuthththtta epnphrakhnthrcnacaryfayethrwath ekidhlng ph s 940 thiemuxngxurkhpura Uragapura pccubneriykxurypura inxanackroclathang hlngcakxupsmbthaelwidedinthangipekaalngka ephuxsuksaphuththsasnaaelarwbrwmkhmphirthangphuththsasnacakphasasinghlaeplsuphasabali inkhrawthiphkxyusinghl thanphkthimhawiharemuxngxnurathpura emuxsaercpharkicaelwkedinthangklbsuxinediyodythangerux rahwangthangidphbkbphraphuththokhsathiaelneruxphanma thanthngsxnghyudthkthaykn aelwthanphraphuththokhsaklawwa thanphuecriy phraphuththphcnmixyuinphasasinghl phmkalngipekaalngkaephuxaeplsuphasamkhth thanphuthththttaklawtxbwa thanphumixayu phmipekaalngkamaaelw ephuxcudprasngkhediywkbthan aetimxacxyuidnan cungthanganimsaerc emuxthanrwbrwmxrrthkthakhrbaelwoprdsngihphmdwy emuxidrbpakknaelwthngsxngrupkcakkn txma emuxthungxinediythankidcaphrrsathiwdkvsnthas thiphrahmnkvsnthas srangthway rimfngaemnakewri n thini thanidekhiynhnngsuxhlayelm echn xuttrwinicchy winywinicchy ruparupwiphakh mthurtthwilasini xrrthkthaphuththwngs phlngankhxngthanthnghmdniepnpraoychntxnkkarsuksaepnxyangying txmathankthungmrnphaphthiwdni khmphirwinicchyaelaxuttrwinicchyepnkhmphirthirwbrwmenuxhakhmphirphrawinypidk rupaebbkaraetngepnrxykrxngthngelm okhrngsrangkhmphirwinicchywadwyeruxngsikkhabthkhxngphraphiksu aelaphiksuni mhawrrkh aelaculwrrkh swnkhmphirxutrwinichcy wadwyeruxngkhmphirpriwar khmphirthngsxngaetngepnrxykrxng odyichchnthlksnbalipraephthtang echn mttasmkchnth wichchukhmalachnth xinthrwiechiyrchnth epntn xngkhkhwamrukarwinicchy phrawinyinkhmphirwinywinicchy aelaxutrwinicchy epnkarwinicchysikkhabth thiprakxbdwysthanthi bukhkhl wtthu xabti xnabti epntn xngkhkhwamrukarwinicchyinswnsikkhabth epnrupaebbsakhyinkarsuksawiekhraahwiny inswnthiepnsikkhabthkhxngphraphiksu aelaphiksuni rupaebbkarwinicchyehlani mikhwamsxdkhlxngkbkarwinicchyphrawinyinkhmphirradbtn tngaetphrawinypidkcnthungxrrthkthaxangxingPotter Karl H Encyclopedia of Indian Philosophies Buddhist philosophy from 350 to 600 A D pg 216 dr esthiyr thngthxngmadn 2561 khmphirwinywinicchyaelaxutrwinicchy karaeplaelasuksawiekhraah sthabnwicyphuththsastr mhawithyalymhaculalngkrnrachwithyaly dr esthiyr thngthxngmadn 2561 khmphirwinywinicchyaelaxutrwinicchy karaeplaelasuksawiekhraah sthabnwicyphuththsastr mhawithyalymhaculalngkrnrachwithyaly