พระนิรฤต (เทวนาครี: निरृत) เป็นเทพเจ้าในศาสนาฮินดู บุคลาธิษฐานของความตาย การเสื่อมถอย และความเศร้าหมอง ในพระเวท ปรากฏนิรฤตเป็นเทวีผู้อาศัยในดินแดนของคนตาย แต่ในศาสนาฮินดูยุคหลังมา ปรากฏนิรฤตเป็นเทพบุรุษเช่นกัน และได้รับการยกให้เป็นทิกบาลประจำทิศตะวันตกเฉียงใต้
ศัพทมูล
คำภาษาสันสกฤต Nirṛti แปลว่า "เสื่อมถอย" หรือ "เสื่อมสลาย" มีรากมาจากคำว่า nirṛ ("การแยกจาก") และสามารถตีความว่าหมายถึง "การขาดซึ่ง " หมายถึงสถานะแห่งความสับสนอลหม่าน ชื่อนี้จึงหมายเถึงเทพเจ้าในผู้ปกป้องภาวะไร้ซึ่งความสับสนวุ่นวายในจักรวาล
ในเอกสารพระเวทปรากฏการใช้คำนี้เพื่อระบุถึงความมืดทะมน ความไม่ดำรงอยู่ ไร้ซึ่งแสง อาหาร และเด็ก องค์ประกอบที่ขาดไปในดินแดนนิรฤตนี้เป็นองค์ประกอบที่จำเป็นต่อชีวิตและพิธีกรรมในพระเวท
เทวี
ปรากฏพระนิรฤตในบทสวดของ ฤคเวท ส่วนมากปรากฏบทสวดภาวนาหาการคุ้มกันจากพระนาง การร้องขอจากพระนางในยามที่จะต้องออกเดินทาง บทสวดที่ X.59 ปรากฏพระนางอยู่หลายครั้ง ในบทสวดนี้ หลังสรุปธรรมชาติของพระนางแล้ว ยังร้องขอพระนางในคราออกเดินทางจากสถานที่ประกอบพิธีบูชายัญ ใน (V.7.9) ระบุว่าพระนางมีปอยผมสีทอง ใน (I.6.1.4) ระบุว่าพระนางมีสีวรกายเข้ม แต่งกายด้วยเครื่องนุ่งห่มสีดำ ถวายเครื่องบูชาให้ใช้ผลไม้เปลือกแข็งสีดำ ใน (X.1.2.9) เชื่อมโยงพระนางกับทิศตะวันตกเฉียงใต้ แต่ในส่วนอื่นของคัมภีร์เดียวกัน (V.2.3.3.) ระบุว่าพระนางประทับในอาณาจักรแห่งคนตาย
ทิกปาละ
นักวิชาการบางส่วนระบุว่าเทวีนิรฤตแปรสภาพมาเป็นเทพบุรุษในตำนานฮินดูยุคหลัง และกลายมาเป็นทิกบาล ผู้พิทักษ์แห่งทิศตะวันตกเฉียงใต้
บางครั้งปรากฏพระนิรฤตเป็นหนึ่งใน และมีการบรรยายไว้ว่าเป็นบุตรของสถานุ (Sthanu) ปรากฏคำอธิบายที่แตกต่างกันไปเกี่ยวกับพระนิรฤตในเอกสารต่าง ๆ เช่น นะบุว่าพระนิรฤตมีสีวรกายสีดำ ร่ายกายใหญ่กำยำ ทรงเครื่องสีเหลือง มีเป็นมนุษย์หรือสิงโต
อ้างอิง
- www.wisdomlib.org (2016-04-10). "Nirrita, Nirṛta, Nirṛtā: 6 definitions". www.wisdomlib.org (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2023-08-06.
- อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อDM
- Witzel, Michael. “Macrocosm, Mesocosm, and Microcosm: The Persistent Nature of 'Hindu' Beliefs and Symbolic Forms.” International Journal of Hindu Studies, vol. 1, no. 3, 1997, pp. 501–539. JSTOR, www.jstor.org/stable/20106493. Accessed 10 Mar. 2020.
- Chandra, Suresh (1998). Encyclopaedia of Hindu Gods and Goddesses (ภาษาอังกฤษ). Sarup & Sons. ISBN .
- Kinsley, David (1987, reprint 2005). Hindu Goddesses: Visions of the Divine Feminine in the Hindu Religious Tradition, Delhi: Motilal Banarsidass, ISBN , p.13
- Bhattacharji, Sukumari (2000). The Indian Theogony: Brahmā, Viṣṇu and Śiva, New Delhi: Penguin, ISBN , pp.80–1
- ข้อผิดพลาด Lua ใน มอดูล:Cite_Q บรรทัดที่ 76: attempt to index field 'datavalue' (a nil value), Wikidata Q110087969
- Chandra, Suresh (1998). Encyclopaedia of Hindu Gods and Goddesses (ภาษาอังกฤษ). Sarup & Sons. p. 238. ISBN .
- Dalal, Roshen (2010). Hinduism: An Alphabetical Guide (ภาษาอังกฤษ). Penguin Books India. p. 283. ISBN .
- Daniélou, Alain (1991). The Myths and Gods of India: The Classic Work on Hindu Polytheism from the Princeton Bollingen Series (ภาษาอังกฤษ). Inner Traditions / Bear & Co. ISBN .
- Dikshitar, V. R. Ramachandra (1996-01-31). The Purana Index (ภาษาอังกฤษ). Motilal Banarsidass Publishe. p. 246. ISBN .
- Rao, Saligrama Krishna Ramachandra (2003). Encyclopaedia of Indian Iconography: Hinduism - Buddhism - Jainism (ภาษาอังกฤษ). Sri Satguru Publications. ISBN .
- Gopinatha Rao, T. A. (1916). Elements Of Hindu Iconography, Vol. II Part II. p. 527-529.
- Rodrigues, E. A. (1842). The Complete Hindoo Pantheon, Comprising the Principal Deities Worshipped by the Natives of British India Throughout Hindoostan: Being a Collection of the Gods and Goddesses Accompanied by a Succinct History and Descriptive of the Idols (ภาษาอังกฤษ). E.A. Rodrigues.
แหล่งข้อมูลอื่น
- วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ พระนิรฤติ
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
phranirvt ethwnakhri न र त epnethphecainsasnahindu bukhlathisthankhxngkhwamtay karesuxmthxy aelakhwamesrahmxng inphraewth praktnirvtepnethwiphuxasyindinaednkhxngkhntay aetinsasnahinduyukhhlngma praktnirvtepnethphburusechnkn aelaidrbkarykihepnthikbalpracathistawntkechiyngitphaphekhiynphranirvti prathbnngbnchayxikkhnhnung rawstwrrsthi 18sphthmulkhaphasasnskvt Nirṛti aeplwa esuxmthxy hrux esuxmslay mirakmacakkhawa nirṛ karaeykcak aelasamarthtikhwamwahmaythung karkhadsung hmaythungsthanaaehngkhwamsbsnxlhman chuxnicunghmayethungethphecainphupkpxngphawairsungkhwamsbsnwunwayinckrwal inexksarphraewthpraktkarichkhaniephuxrabuthungkhwammudthamn khwamimdarngxyu irsungaesng xahar aelaedk xngkhprakxbthikhadipindinaednnirvtniepnxngkhprakxbthicaepntxchiwitaelaphithikrrminphraewthethwipraktphranirvtinbthswdkhxng vkhewth swnmakpraktbthswdphawnahakarkhumkncakphranang karrxngkhxcakphrananginyamthicatxngxxkedinthang bthswdthi X 59 praktphranangxyuhlaykhrng inbthswdni hlngsrupthrrmchatikhxngphranangaelw yngrxngkhxphrananginkhraxxkedinthangcaksthanthiprakxbphithibuchayy in V 7 9 rabuwaphranangmipxyphmsithxng in I 6 1 4 rabuwaphranangmisiwrkayekhm aetngkaydwyekhruxngnunghmsida thwayekhruxngbuchaihichphlimepluxkaekhngsida in X 1 2 9 echuxmoyngphranangkbthistawntkechiyngit aetinswnxunkhxngkhmphirediywkn V 2 3 3 rabuwaphranangprathbinxanackraehngkhntaythikpalankwichakarbangswnrabuwaethwinirvtaeprsphaphmaepnethphburusintananhinduyukhhlng aelaklaymaepnthikbal phuphithksaehngthistawntkechiyngit bangkhrngpraktphranirvtepnhnungin aelamikarbrryayiwwaepnbutrkhxngsthanu Sthanu praktkhaxthibaythiaetktangknipekiywkbphranirvtinexksartang echn nabuwaphranirvtmisiwrkaysida raykayihykaya thrngekhruxngsiehluxng miepnmnusyhruxsingotxangxingwww wisdomlib org 2016 04 10 Nirrita Nirṛta Nirṛta 6 definitions www wisdomlib org phasaxngkvs subkhnemux 2023 08 06 xangxingphidphlad payrabu lt ref gt imthuktxng immikarkahndkhxkhwamsahrbxangxingchux DM Witzel Michael Macrocosm Mesocosm and Microcosm The Persistent Nature of Hindu Beliefs and Symbolic Forms International Journal of Hindu Studies vol 1 no 3 1997 pp 501 539 JSTOR www jstor org stable 20106493 Accessed 10 Mar 2020 Chandra Suresh 1998 Encyclopaedia of Hindu Gods and Goddesses phasaxngkvs Sarup amp Sons ISBN 978 81 7625 039 9 Kinsley David 1987 reprint 2005 Hindu Goddesses Visions of the Divine Feminine in the Hindu Religious Tradition Delhi Motilal Banarsidass ISBN 81 208 0394 9 p 13 Bhattacharji Sukumari 2000 The Indian Theogony Brahma Viṣṇu and Siva New Delhi Penguin ISBN 0 14 029570 4 pp 80 1 khxphidphlad Lua in mxdul Cite Q brrthdthi 76 attempt to index field datavalue a nil value Wikidata Q110087969 Chandra Suresh 1998 Encyclopaedia of Hindu Gods and Goddesses phasaxngkvs Sarup amp Sons p 238 ISBN 978 81 7625 039 9 Dalal Roshen 2010 Hinduism An Alphabetical Guide phasaxngkvs Penguin Books India p 283 ISBN 978 0 14 341421 6 Danielou Alain 1991 The Myths and Gods of India The Classic Work on Hindu Polytheism from the Princeton Bollingen Series phasaxngkvs Inner Traditions Bear amp Co ISBN 978 0 89281 354 4 Dikshitar V R Ramachandra 1996 01 31 The Purana Index phasaxngkvs Motilal Banarsidass Publishe p 246 ISBN 978 81 208 1273 4 Rao Saligrama Krishna Ramachandra 2003 Encyclopaedia of Indian Iconography Hinduism Buddhism Jainism phasaxngkvs Sri Satguru Publications ISBN 978 81 7030 763 1 Gopinatha Rao T A 1916 Elements Of Hindu Iconography Vol II Part II p 527 529 Rodrigues E A 1842 The Complete Hindoo Pantheon Comprising the Principal Deities Worshipped by the Natives of British India Throughout Hindoostan Being a Collection of the Gods and Goddesses Accompanied by a Succinct History and Descriptive of the Idols phasaxngkvs E A Rodrigues aehlngkhxmulxunwikimiediykhxmmxnsmisuxekiywkb phranirvti