พญากือนา (ไทยถิ่นเหนือ: ), พญาธรรมิกราช หรือ เจ้าท้าวสองแสนนา อันธรรมิกราช เป็นพระมหากษัตริย์ล้านนา รัชกาลที่ 6 แห่งราชวงศ์มังราย ทรงครองราชย์ระหว่าง พ.ศ. 1898 - พ.ศ. 1928 เป็นพระราชโอรสในพญาผายูกับพระนางจิตราเทวี
พญากือนา | |
---|---|
พระมหากษัตริย์แห่งล้านนา พระองค์ที่ 6 | |
ครองราชย์ | พ.ศ. 1898–1928 (30 ปี) |
ก่อนหน้า | พญาผายู |
ถัดไป | พญาแสนเมืองมา |
คู่อภิเษก | จิตราเทวี, พระนางยสุนทราเทวี |
พระราชบุตร | พญาแสนเมืองมา |
ราชวงศ์ | มังราย |
พระราชบิดา | พญาผายู |
พญากือนามีศรัทธาในศาสนาพุทธอย่างแรงกล้า โปรดให้อาราธนาพระสุมนเถรจากกรุงสุโขทัยมาประดิษฐานพุทธศาสนาแบบลังกาวงศ์ในล้านนา และอัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุไปประดิษฐานบนดอยสุเทพ
พระอุปนิสัย
พงศาวดารโยนก ฉบับหอสมุดแห่งชาติ กล่าวว่า:-
ฝ่ายพระเจ้ากือนาครอบราชสมบัติเมืองนครพิงค์เชียงใหม่ประกอบชอบด้วยทศพิธราชธรรมเลอมใสในพระวรพุทธศาสนา และพอพระทัยศึกษาศิลปศาสตร์ต่าง ๆ ทรงชำนิชำนาญในทางโหราศาสตร์ ศัพทศาสตร์ นิทานอุปเทศ เพทางคศาสตร์ คชศาสตร์ เป็นต้น ทรงพระปรีชาสามารถในราชกิจใหญ่น้อยต่าง ๆ ท้าวพระยานานาประเทศทั้งหลายก็ยำเกรงน้อมนำบรรณาการยื่นถวายบ่มิขาด กาลยามนั้นเมืองนครพิงค์เชียงใหม่สมบูรณ์ด้วยธัญญาหารและแสนเสนามาตย์ราษฎรประชาผู้กล้าผู้หาร บริบูรณ์ด้วยศฤงคารและราชสมบัติราชฎรชื่นบานชุ่มเย็นเป็นเกษมสุขทั่วกัน
— พระยาประชากิจกรจักร (แช่ม บุนนาค) (รวบรวมเมื่อ พ.ศ. 2449), พงศาวดารโยนก ฉบับหอสมุดแห่งชาติ, บริจเฉจที่ ๑๖ ว่าด้วยสร้างเมืองเชียงแสน.
ราชตระกูล
พงศาวลีของพญากือนา | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
|
อ้างอิง
- ยรรยงค์ สิกขะฤทธิ์ (2559). การศึกษาเปรียบเทียบราชาศัพท์ในภาษาไทยและภาษาเขมรจากมุมมองข้ามสมัย (PDF). คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. p. 268.
...อันว่าพระเศลาจารึกเจ้าท้าวสองแสนนา อันธรรมิกราช ผู้เป็นลูกรักแก่พญาผายู เป็นหลานแก่พญาคำฟู เป็นเหลนแก่พญามังรายเจ้าท้าวนี้ เมื่อสุดชนมาพิธี ปีเดือนพ่อตนดังอั้น จึงได้เสวยพระราชชัยศรี มีศักดิ์มีบุญฤทธิ์เดชะตบะหนักหนา...
- รุ่งพงษ์ ชัยนาม. ประวัติศาสตร์ล้านนา : ประวัติศาสตร์ไทยที่คนไทยไม่ค่อยมีโกาสได้ศึกษา. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
- . กษัตริย์ล้านนาเชียงใหม่. เชียงใหม่ : ศูนย์ล้านนาศึกษา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2557. 166 หน้า. หน้า 54. ISBN
- "จารึกวัดพระยืน ด้านที่ ๑". ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร. 2549. สืบค้นเมื่อ 23 กรกฎาคม 2560.
{{}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
((help))[] - กรมศิลปากร. (2505). พงศาวดารโยนก ฉบับหอสมุดแห่งชาติ. พระนคร: ศิลปาบรรณาคาร. หน้า 317.
ก่อนหน้า | พญากือนา | ถัดไป | ||
---|---|---|---|---|
พญาผายู | พระมหากษัตริย์ล้านนา (พ.ศ. 1898 - พ.ศ. 1928) | พญาแสนเมืองมา |
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
phyakuxna ithythinehnux phyathrrmikrach hrux ecathawsxngaesnna xnthrrmikrach epnphramhakstriylanna rchkalthi 6 aehngrachwngsmngray thrngkhrxngrachyrahwang ph s 1898 ph s 1928 epnphrarachoxrsinphyaphayukbphranangcitraethwiphyakuxnaphramhakstriyaehnglanna phraxngkhthi 6khrxngrachyph s 1898 1928 30 pi kxnhnaphyaphayuthdipphyaaesnemuxngmakhuxphieskcitraethwi phranangysunthraethwiphrarachbutrphyaaesnemuxngmarachwngsmngrayphrarachbidaphyaphayu phyakuxnamisrththainsasnaphuththxyangaerngkla oprdihxarathnaphrasumnethrcakkrungsuokhthymapradisthanphuththsasnaaebblngkawngsinlanna aelaxyechiyphrabrmsaririkthatuippradisthanbndxysuethphphraxupnisyphngsawdaroynk chbbhxsmudaehngchati klawwa fayphraecakuxnakhrxbrachsmbtiemuxngnkhrphingkhechiyngihmprakxbchxbdwythsphithrachthrrmelxmisinphrawrphuththsasna aelaphxphrathysuksasilpsastrtang thrngchanichanayinthangohrasastr sphthsastr nithanxupeths ephthangkhsastr khchsastr epntn thrngphraprichasamarthinrachkicihynxytang thawphrayananapraethsthnghlaykyaekrngnxmnabrrnakaryunthwaybmikhad kalyamnnemuxngnkhrphingkhechiyngihmsmburndwythyyaharaelaaesnesnamatyrasdrprachaphuklaphuhar briburndwysvngkharaelarachsmbtirachdrchunbanchumeynepneksmsukhthwkn phrayaprachakickrckr aechm bunnakh rwbrwmemux ph s 2449 phngsawdaroynk chbbhxsmudaehngchati bricechcthi 16 wadwysrangemuxngechiyngaesn rachtrakulphngsawlikhxngphyakuxna 16 phyaichysngkhram 8 phyaaesnphu 4 phyakhafu 2 phyaphayu 1 phyakuxna 3 phranangcitraethwi xangxingyrryngkh sikkhavththi 2559 karsuksaepriybethiybrachasphthinphasaithyaelaphasaekhmrcakmummxngkhamsmy PDF khnaxksrsastr culalngkrnmhawithyaly p 268 xnwaphraeslacarukecathawsxngaesnna xnthrrmikrach phuepnlukrkaekphyaphayu epnhlanaekphyakhafu epnehlnaekphyamngrayecathawni emuxsudchnmaphithi pieduxnphxtndngxn cungideswyphrarachchysri miskdimibuyvththiedchatbahnkhna rungphngs chynam prawtisastrlanna prawtisastrithythikhnithyimkhxymiokasidsuksa mhawithyalysuokhthythrrmathirach kstriylannaechiyngihm echiyngihm sunylannasuksa khnamnusysastr mhawithyalyechiyngihm 2557 166 hna hna 54 ISBN 978 974 672 853 9 carukwdphrayun danthi 1 sunymanusywithyasirinthr 2549 subkhnemux 23 krkdakhm 2560 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite web title aemaebb Cite web cite web a trwcsxbkhawnthiin accessdate help lingkesiy krmsilpakr 2505 phngsawdaroynk chbbhxsmudaehngchati phrankhr silpabrrnakhar hna 317 kxnhna phyakuxna thdipphyaphayu phramhakstriylanna ph s 1898 ph s 1928 phyaaesnemuxngma bthkhwamphramhakstriy rachwngs aelaphrabrmwngsanuwngsniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmul duephimthiokhrngkarwikiphramhakstriydk