ในคณิตศาสตร์ ผลคูณอนันต์ของลำดับ a1, a2, a3, ... ซึ่งเขียนแทนด้วย
นิยามเป็นลิมิตของผลคูณย่อย a1a2...an เมื่อ n เพิ่มขึ้นโดยไม่มีขีดจำกัด ผลคูณนี้เรียกว่าลู่เข้า เมื่อลิมิตนี้มีอยู่และไม่เป็นศูนย์ มิฉะนั้นจะกล่าวว่าผลคูณนี้ลู่ออก โดยปกติแล้ว กรณีที่ลิมิตเป็นศูนย์ถูกพิจารณาเป็นพิเศษ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่เทียบเคียงได้กับอนุกรมอนันต์ มีแหล่งข้อมูลบางแหล่งที่อนุญาตให้ผลคูณลู่เข้าเป็น 0 หากมีตัวประกอบในลำดับเพียงจำนวนจำกัดที่เป็นศูนย์และผลคูณของส่วนที่ไม่เป็นศูนย์นั้นไม่ใช่ศูนย์ แต่สำหรับความเรียบง่าย ในบทความนี้จะไม่นับกรณีแบบนี้ หากผลคูณลู่เข้า ลิมิตของลำดับ an เมื่อ n เพิ่มขึ้นโดยไม่มีขีดจำกัดจะต้องเป็น 1 เสมอ แต่บทกลับของทฤษฎีบทนี้ไม่จำเป็นต้องเป็นจริง
ตัวอย่างที่รู้จักกันดีที่สุดของผลคูณอนันต์ เช่นสูตรสำหรับค่า π เช่น ผลคูณต่อไปนี้ เป็นของ Viète (ซึ่งเป็นผลคูณอนันต์ที่ค้นพบเป็นอันแรกในวิชาคณิตศาสตร์) และของ Wallis ตามลำดับ:
เกณฑ์ในการลู่เข้า
ผลคูณของจำนวนจริงบวก
จะลู่เข้าสู่จำนวนจริงที่ไม่เป็นศูนย์ก็ต่อเมื่ออนุกรม
ลู่เข้าเช่นเดียวกัน ทฤษฎีบทนี้ช่วยให้สามารถแปลงเกณฑ์ในการลู่เข้าสำหรับอนุกรมอนันต์เป็นเกณฑ์การลู่เข้าสำหรับผลคูณอนันต์ได้ เกณฑ์เดียวกันอาจนำไปใช้กับผลคูณของจำนวนเชิงซ้อน (รวมถึงจำนวนจริงลบ) โดยการใช้กิ่ง (branch) ของฟังก์ชันลอการิทึมซึ่งเป็นไปตามข้อบังคับว่า ln(1) = 0 โดยมีเงื่อนไขว่าผลคูณลู่ออกหากมี an เป็นจำนวนอนันต์ที่ตกอยู่นอกเหนือโดเมนของ ln แต่หากมีเพียงจำนวนจำกัดสามารถข้ามได้
สำหรับผลคูณของจำนวนจริงที่แต่ละ หรือเขียนเป็น จะได้อสมการ
ซึ่งแสดงว่าผลคูณจะลู่เข้าถ้าอนุกรมอนันต์ของ pn ลู่เข้า ทฤษฎีบทนี้ต้องอาศัย ทฤษฎีบทการลู่เข้าทางเดียว (Monotone convergence theorem) สำหรับบทกลับสามารถเห็นได้จากการสังเกตว่า ถ้า แล้ว
ดังนั้นโดยการทดสอบโดยการเปรียบเทียบลิมิต (limit comparison test) จะได้ว่าอนุกรมทั้งสองคือ
และ
เทียบเท่ากัน นั่นคือทั้งสองจะลู่เข้าทั้งคู่หรือลู่ออกทั้งคู่เสมอ
บทพิสูจน์เดียวกันยังแสดงให้เห็นว่า หาก แล้ว ลู่เข้าหาจำนวนที่ไม่เป็นศูนย์ก็ต่อเมื่ออนุกรม ลู่เข้า
หากอนุกรม ลู่ออกไปสู่ แล้วลำดับของผลคูณย่อยของ an จะลู่เข้าหาศูนย์ แต่ผลคูณอนันต์นั้นจะเรียกว่าลู่ออกไปสู่ศูนย์
สำหรับ ที่ไม่บังคับเครื่องหมาย การลู่เข้าของไม่เพียงพอต่อการสรุปว่าผลคูณ ลู่เข้าหรือไม่ แต่หากลู่เข้า แล้วจะบอกได้ว่าการลู่ของอนุกรม(ที่ไม่มีค่าสัมบูรณ์)กับผลคูณจะเป็นแบบเดียวกัน คือลู่เข้าทั้งคู่หรือลู่ออกทั้งคู่ และหากลู่เข้าก็จะบอกได้เช่นเดียวกัน
รูปผลคูณของฟังก์ชัน
ผลลัพธ์ที่สำคัญอย่างหนึ่งที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาผลคูณอนันต์ คือฟังก์ชันทั่ว (entire function) f(z) ทุกฟังก์ชัน(นั่นคือ ทุกฟังก์ชันที่เป็นโฮโลมอร์ฟิกในระนาบเชิงซ้อน) สามารถแยกตัวประกอบเป็นผลคูณอนันต์ของฟังก์ชันทั่วที่แต่ละตัวมีรากอย่างมากที่สุดหนึ่งค่า โดยทั่วไปถ้า f มีรากอันดับ m ที่จุดกำเนิดและมีรากเชิงซ้อนอื่น ๆ ที่ u1, u2, u3, ... (แต่ละค่าไล่ซ้ำจำนวนครั้งเท่ากับอันดับของราก) แล้ว
เมื่อ λn เป็นจำนวนเต็มไม่ลบที่สามารถเลือกเพื่อให้ผลคูณลู่เข้า และ φ(z) เป็นฟังก์ชั่นทั่วบางฟังก์ชัน (ซึ่งแปลว่าพจน์หน้าผลคูณจะไม่มีรากในระนาบเชิงซ้อน) การแยกตัวประกอบข้างต้นทำได้หลายแบบ เนื่องจากขึ้นอยู่กับการเลือกค่าสำหรับ λn อย่างไรก็ตามสำหรับฟังก์ชั่นส่วนใหญ่จะมีจำนวนเต็มไม่ลบต่ำสุด p ที่เมื่อ 'λ' n = p แล้วผลคูณลู่เข้า เราเรียกผลคูณนี้ว่า รูปผลคูณบัญญัติ (canonical product representation) p นี้เรียกว่าอันดับ (rank) ของผลคูณบัญญัตินั้น ในกรณีที่ p = 0 จะได้เป็น
ซึ่งถือได้ว่าเป็นนัยทั่วไปของทฤษฎีบทมูลฐานของพีชคณิต โดยในกรณีพหุนาม ผลคูณมีพจน์จำกัด และ φ (z) เป็นค่าคงที่
นอกเหนือจากตัวอย่างเหล่านี้ รูปผลคูณของฟังก์ชันต่าง ๆ เช่น:
ขั้วอย่างง่าย (simple pole) | ||
ฟังก์ชัน sinc | มาจากออยเลอร์ มีสูตรค่าพายของ Wallis เป็นกรณีพิเศษ | |
ฟังก์ชันแกมมาส่วนกลับ | ||
ฟังก์ชันซิกมาของไวเออร์ชตราส | หมายถึงแลตทิซที่ไม่มีจุดกำเนิด | |
เครื่องหมาย q-Pochhammer | ใช้ใน q-analog theory มีฟังก์ชันออยเลอร์เป็นกรณีพิเศษ | |
ฟังก์ชันทีตาของรามานุจัน | แสดงผลคูณสามชั้นของจาโคบี ใช้ในการเขียนฟังก์ชันทีตาของจาโคบี | |
ฟังก์ชันซีตาของรีมันน์ | pn หมายถึงลำดับของจำนวนเฉพาะ เป็นกรณีพิเศษของผลคูณออยเลอร์ |
โดยลำดับสุดท้ายไม่ใช่รูปผลคูณแบบที่กล่าวถึงข้างต้นเนื่องจาก ζ ไม่ใช่ฟังก์ชันทั่ว โดยรูปผลคูณนี้ ζ (z) ลู่เข้าเฉพาะเมื่อในขอบเขต Re (z) > 1 ซึ่งเป็นฟังก์ชันวิเคราะห์ โดยเทคนิคการต่อเนื่องวิเคราะห์ (analytic continuation) ฟังก์ชันนี้สามารถขยายไปเป็นฟังก์ชันการวิเคราะห์ที่เป็นเอกลักษณ์ (ซึ่งยังเรียกว่า ζ (z)) บนระนาบเชิงซ้อนทั้งหมดยกเว้นที่จุด z = 1 ซึ่งมีขั้วอย่างง่าย
ดูเพิ่ม
อ้างอิง
- Jeffreys, Harold; Jeffreys, Bertha Swirles (1999). Methods of Mathematical Physics. Cambridge Mathematical Library (3rd revised ed.). Cambridge University Press. p. 52. ISBN .
- Trench, William F. (1999). "Conditional Convergence of Infinite Products" (PDF). American Mathematical Monthly. 106: 646–651. สืบค้นเมื่อ December 10, 2018.
- Knopp, Konrad (1954). Theory and Application of Infinite Series. London: Blackie & Son Ltd.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
inkhnitsastr phlkhunxnntkhxngladb a1 a2 a3 sungekhiynaethndwy n 1 an a1a2a3 displaystyle prod n 1 infty a n a 1 a 2 a 3 niyamepnlimitkhxngphlkhunyxy a1a2 an emux n ephimkhunodyimmikhidcakd phlkhunnieriykwaluekha emuxlimitnimixyuaelaimepnsuny michanncaklawwaphlkhunniluxxk odypktiaelw krnithilimitepnsunythukphicarnaepnphiess ephuxihidphllphththiethiybekhiyngidkbxnukrmxnnt miaehlngkhxmulbangaehlngthixnuyatihphlkhunluekhaepn 0 hakmitwprakxbinladbephiyngcanwncakdthiepnsunyaelaphlkhunkhxngswnthiimepnsunynnimichsuny aetsahrbkhwameriybngay inbthkhwamnicaimnbkrniaebbni hakphlkhunluekha limitkhxngladb an emux n ephimkhunodyimmikhidcakdcatxngepn 1 esmx aetbthklbkhxngthvsdibthniimcaepntxngepncring twxyangthiruckkndithisudkhxngphlkhunxnnt echnsutrsahrbkha p echn phlkhuntxipni epnkhxng Viete sungepnphlkhunxnntthikhnphbepnxnaerkinwichakhnitsastr aelakhxng Wallis tamladb 2p 22 2 22 2 2 22 displaystyle frac 2 pi frac sqrt 2 2 cdot frac sqrt 2 sqrt 2 2 cdot frac sqrt 2 sqrt 2 sqrt 2 2 p2 21 23 43 45 65 67 n 1 4n24n2 1 displaystyle frac pi 2 frac 2 1 cdot frac 2 3 cdot frac 4 3 cdot frac 4 5 cdot frac 6 5 cdot frac 6 7 prod n 1 infty left frac 4n 2 4n 2 1 right eknthinkarluekhaphlkhunkhxngcanwncringbwk n 1 an displaystyle prod n 1 infty a n caluekhasucanwncringthiimepnsunyktxemuxxnukrm n 1 log an displaystyle sum n 1 infty log a n luekhaechnediywkn thvsdibthnichwyihsamarthaeplngeknthinkarluekhasahrbxnukrmxnntepneknthkarluekhasahrbphlkhunxnntid eknthediywknxacnaipichkbphlkhunkhxngcanwnechingsxn rwmthungcanwncringlb odykarichking branch khxngfngkchnlxkarithumsungepniptamkhxbngkhbwa ln 1 0 odymienguxnikhwaphlkhunluxxkhakmi an epncanwnxnntthitkxyunxkehnuxodemnkhxng ln aethakmiephiyngcanwncakdsamarthkhamid sahrbphlkhunkhxngcanwncringthiaetla an 1 displaystyle a n geq 1 hruxekhiynepn an 1 pn pn 0 displaystyle a n 1 p n p n geq 0 caidxsmkar 1 n 1Npn n 1N 1 pn exp n 1Npn displaystyle 1 sum n 1 N p n leq prod n 1 N 1 p n leq exp left sum n 1 N p n right sungaesdngwaphlkhuncaluekhathaxnukrmxnntkhxng pn luekha thvsdibthnitxngxasy thvsdibthkarluekhathangediyw Monotone convergence theorem sahrbbthklbsamarthehnidcakkarsngektwa tha pn 0 displaystyle p n to 0 aelw limn log 1 pn pn limx 0log 1 x x 1 displaystyle lim n to infty frac log 1 p n p n lim x to 0 frac log 1 x x 1 dngnnodykarthdsxbodykarepriybethiyblimit limit comparison test caidwaxnukrmthngsxngkhux n 1 log 1 pn displaystyle sum n 1 infty log 1 p n aela n 1 pn displaystyle sum n 1 infty p n ethiybethakn nnkhuxthngsxngcaluekhathngkhuhruxluxxkthngkhuesmx bthphisucnediywknyngaesdngihehnwa hak an 1 qn 0 qn lt 1 displaystyle a n 1 q n 0 leq q n lt 1 aelw n 1 1 qn displaystyle prod n 1 infty 1 q n luekhahacanwnthiimepnsunyktxemuxxnukrm n 1 qn displaystyle sum n 1 infty q n luekha hakxnukrm n 1 log an displaystyle sum n 1 infty log a n luxxkipsu displaystyle infty aelwladbkhxngphlkhunyxykhxng an caluekhahasuny aetphlkhunxnntnncaeriykwaluxxkipsusuny sahrb pn displaystyle p n thiimbngkhbekhruxnghmay karluekhakhxng n 1 pn displaystyle sum n 1 infty p n imephiyngphxtxkarsrupwaphlkhun n 1 1 pn displaystyle prod n 1 infty 1 p n luekhahruxim aethak n 1 pn displaystyle sum n 1 infty p n luekha aelwcabxkidwakarlukhxngxnukrm thiimmikhasmburn kbphlkhuncaepnaebbediywkn khuxluekhathngkhuhruxluxxkthngkhu aelahak n 1 pn 2 displaystyle sum n 1 infty p n 2 luekhakcabxkidechnediywknrupphlkhunkhxngfngkchnphllphththisakhyxyanghnungthiekiywkhxngkbkarsuksaphlkhunxnnt khuxfngkchnthw entire function f z thukfngkchn nnkhux thukfngkchnthiepnoholmxrfikinranabechingsxn samarthaeyktwprakxbepnphlkhunxnntkhxngfngkchnthwthiaetlatwmirakxyangmakthisudhnungkha odythwiptha f mirakxndb m thicudkaenidaelamirakechingsxnxun thi u1 u2 u3 aetlakhailsacanwnkhrngethakbxndbkhxngrak aelw f z zmeϕ z n 1 1 zun exp zun 12 zun 2 1ln zun ln displaystyle f z z m e phi z prod n 1 infty left 1 frac z u n right exp left frac z u n frac 1 2 left frac z u n right 2 frac 1 lambda n left frac z u n right lambda n right emux ln epncanwnetmimlbthisamartheluxkephuxihphlkhunluekha aela f z epnfngkchnthwbangfngkchn sungaeplwaphcnhnaphlkhuncaimmirakinranabechingsxn karaeyktwprakxbkhangtnthaidhlayaebb enuxngcakkhunxyukbkareluxkkhasahrb ln xyangirktamsahrbfngkchnswnihycamicanwnetmimlbtasud p thiemux l n p aelwphlkhunluekha eraeriykphlkhunniwa rupphlkhunbyyti canonical product representation p nieriykwaxndb rank khxngphlkhunbyytinn inkrnithi p 0 caidepn f z zmeϕ z n 1 1 zun displaystyle f z z m e phi z prod n 1 infty left 1 frac z u n right sungthuxidwaepnnythwipkhxngthvsdibthmulthankhxngphichkhnit odyinkrniphhunam phlkhunmiphcncakd aela f z epnkhakhngthi nxkehnuxcaktwxyangehlani rupphlkhunkhxngfngkchntang echn khwxyangngay simple pole cc z n 1 e1n zc n displaystyle frac c c z prod n 1 infty e frac 1 n left frac z c right n 11 z n 0 1 z2n displaystyle frac 1 1 z prod n 0 infty left 1 z 2 n right fngkchn sinc sinc pz n 1 1 z2n2 displaystyle textrm sinc pi z prod n 1 infty left 1 frac z 2 n 2 right macakxxyelxr misutrkhaphaykhxng Wallis epnkrniphiessfngkchnaekmmaswnklb 1G z zegz n 1 1 zn e zn z n 1 1 zn 1 1n z displaystyle frac 1 Gamma z ze gamma z prod n 1 infty left 1 frac z n right e frac z n z prod n 1 infty frac 1 frac z n left 1 frac 1 n right z fngkchnsikmakhxngiwexxrchtras s z z w L 1 zw ez22w2 zw displaystyle sigma z z prod omega in Lambda left 1 frac z omega right e frac z 2 2 omega 2 frac z omega L displaystyle Lambda hmaythungaeltthisthiimmicudkaenidekhruxnghmay q Pochhammer z q n 0 1 zqn displaystyle z q infty prod n 0 infty 1 zq n ichin q analog theory mifngkchnxxyelxrepnkrniphiessfngkchnthitakhxngramanucn f a b n an n 1 2bn n 1 2 n 0 1 an 1bn 1 anbn 1 1 an 1bn 1 displaystyle begin aligned f a b amp sum n infty infty a frac n n 1 2 b frac n n 1 2 amp prod n 0 infty 1 a n 1 b n 1 a n b n 1 1 a n 1 b n 1 end aligned aesdngphlkhunsamchnkhxngcaokhbi ichinkarekhiynfngkchnthitakhxngcaokhbifngkchnsitakhxngrimnn z z n 1 11 pn z displaystyle zeta z prod n 1 infty frac 1 1 p n z pn hmaythungladbkhxngcanwnechphaa epnkrniphiesskhxngphlkhunxxyelxr odyladbsudthayimichrupphlkhunaebbthiklawthungkhangtnenuxngcak z imichfngkchnthw odyrupphlkhunni z z luekhaechphaaemuxinkhxbekht Re z gt 1 sungepnfngkchnwiekhraah odyethkhnikhkartxenuxngwiekhraah analytic continuation fngkchnnisamarthkhyayipepnfngkchnkarwiekhraahthiepnexklksn sungyngeriykwa z z bnranabechingsxnthnghmdykewnthicud z 1 sungmikhwxyangngayduephimxnukrmxnnt essswntxenuxng kardaeninkarthwiphakhwnsaxangxingJeffreys Harold Jeffreys Bertha Swirles 1999 Methods of Mathematical Physics Cambridge Mathematical Library 3rd revised ed Cambridge University Press p 52 ISBN 1107393671 Trench William F 1999 Conditional Convergence of Infinite Products PDF American Mathematical Monthly 106 646 651 subkhnemux December 10 2018 Knopp Konrad 1954 Theory and Application of Infinite Series London Blackie amp Son Ltd