ปริซึมนิคอล (Nicol prism) เป็น ปริซึมประเภทหนึ่งที่ใช้สำหรับทำเป็นโพลาไรเซอร์ คือใช้เพื่อสร้างลำแสงโพลาไรซ์ จากลำแสงที่ไม่โพลาไรซ์ ถูกประดิษฐ์ขึ้นในปี 1828 โดย (William Nicol) นักฟิสิกส์ชาวสก็อต และเป็นปริซึมโพลาไรซ์ตัวแรกที่ถูกสร้างขึ้น ประกอบด้วย แคลไซต์ () รูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน ตัดทแยงมุมออกเป็นสองส่วนที่มุม 68º แล้วต่อด้วย กาวที่ทำจาก
แสงไม่โพลาไรซ์จะผ่านเข้ามาทางด้านหนึ่งของปริซึม และถูกแยกออกเป็นแสงโพลาไรซ์ 2 ลำเนื่องจากเกิดการหักเหสองแนวภายในแคลไซต์ หนึ่งในนั้นเรียกว่า รังสีสามัญ (o-ray ในภาพ) ซึ่งดรรชนีหักเหเป็น no = 1.658 และในแนวทแยงมีกาวที่มีดรรชนีหักเป็น 1.55 ทำให้เกิดการสะท้อนกลับทั้งหมดที่ผิว ลำแสงอีกลำเรียกว่า รังสีวิสามัญ (e-ray ในภาพ) มีค่าดัชนีการหักเหของแสงน้อยกว่า คือ ne = 1.486 และจะไม่สะท้อนกลับ แต่จะข้ามส่วนรอยต่อในแนวทแยงและออกไปทางด้านตรงข้าม ในรูปของแสงโพลาไรซ์
ปริซึมชนิดนี้ได้ถูกใช้อย่างแพร่หลายในกล้องจุลทรรศน์ และเครื่องวัดการโพลาไรซ์ แต่ปัจจุบันในการใช้งานส่วนใหญ่มักถูกแทนที่ด้วยโพลาไรเซอร์ประเภทอื่น ๆ เช่น หรือ ปริซึมกลาน–ทอมป์สัน
ดูเพิ่ม
อ้างอิง
- Greenslade, Thomas B., Jr. . Kenyon College. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-12-21. สืบค้นเมื่อ 23 January 2014.
{{}}
: ระบุ|archivedate=
และ|archive-date=
มากกว่าหนึ่งรายการ ((help)); ระบุ|archiveurl=
และ|archive-url=
มากกว่าหนึ่งรายการ ((help))CS1 maint: multiple names: authors list ()
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
prisumnikhxl Nicol prism epn prisumpraephthhnungthiichsahrbthaepnophlairesxr khuxichephuxsranglaaesngophlairs caklaaesngthiimophlairs thukpradisthkhuninpi 1828 ody William Nicol nkfisikschawskxt aelaepnprisumophlairstwaerkthithuksrangkhun prakxbdwy aekhlist rupsiehliymkhnmepiykpun tdthaeyngmumxxkepnsxngswnthimum 68º aelwtxdwy kawthithacakkarekidophlaireschnphayinprisumnikhxl aesngimophlairscaphanekhamathangdanhnungkhxngprisum aelathukaeykxxkepnaesngophlairs 2 laenuxngcakekidkarhkehsxngaenwphayinaekhlist hnunginnneriykwa rngsisamy o ray inphaph sungdrrchnihkehepn no 1 658 aelainaenwthaeyngmikawthimidrrchnihkepn 1 55 thaihekidkarsathxnklbthnghmdthiphiw laaesngxiklaeriykwa rngsiwisamy e ray inphaph mikhadchnikarhkehkhxngaesngnxykwa khux ne 1 486 aelacaimsathxnklb aetcakhamswnrxytxinaenwthaeyngaelaxxkipthangdantrngkham inrupkhxngaesngophlairs prisumchnidniidthukichxyangaephrhlayinklxngculthrrsn aelaekhruxngwdkarophlairs aetpccubninkarichnganswnihymkthukaethnthidwyophlairesxrpraephthxun echn hrux prisumklan thxmpsnduephimprisumklan thxmpsn prisumklan fuok prisumklan ethyelxr prisumwxllstn prisumesnarmngxangxingGreenslade Thomas B Jr Kenyon College khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2017 12 21 subkhnemux 23 January 2014 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite web title aemaebb Cite web cite web a rabu archivedate aela archive date makkwahnungraykar help rabu archiveurl aela archive url makkwahnungraykar help CS1 maint multiple names authors list lingk