ปฏิญญามอสโก ได้มีการลงนามระหว่างการประชุมมอสโก เมื่อวันที่ 30 ตุลาคม ค.ศ. 1943 ชื่ออย่างเป็นทางการของแถลงการณ์ดังกล่าวคือ "แถลงการณ์ของสี่ชาติเกี่ยวกับความมั่นคงทั่วไป" เอกสารดังกล่าวได้รับการลงนามโดยรัฐมนตรีต่างประเทศของรัฐบาลสหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร และสหภาพโซเวียต แถลงการณ์ดังกล่าวมีสี่ส่วนแยกจากกัน
แถลงการณ์ร่วมสี่ชาติ
ในส่วนแถลงการณ์ร่วมสี่ชาติ รัฐบาลสหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร สหภาพโซเวียต และจีน ตามที่แถลงการณ์โดยสหประชาชาติเมื่อเดือนมกราคม ค.ศ. 1942 และแถลงการณ์ถัดมา เพื่อคงความเป็นปรปักษ์กับชาติฝ่ายอักษะเหล่านี้ซึ่งประเทศทั้งสี่ต่างอยู่ในสภาวะสงครามจนกว่าประเทศเหล่านี้จะยอมลดอาวุธลงบนพื้นฐานของการยอมจำนนอย่างปราศจากเงื่อนไข ทั้งสี่ประเทศยังได้รับรองความจำเป็นที่จะจัดตั้งองค์การระหว่างประเทศทั่วไป (สหประชาชาติ) ให้เร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้ บนแนวคิดของอธิปไตยที่เท่าเทียมกันของรัฐที่รักสันติทั้งหมด และเปิดโอกาสให้รัฐเหล่านี้ล้วนมีโอกาสสมัครเข้าเป็นสมาชิกได้ ไม่ว่าใหญ่หรือเล็ก เพื่อการธำรงรักษาสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ
แถลงการณ์ส่วนที่เกี่ยวข้องกับอิตาลี
ในส่วนของแถลงการณ์ที่เกี่ยวข้องกับอิตาลีนั้น รัฐมนตรีต่างประเทศสหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักรและสหภาพโซเวียต ได้ประกาศว่า ฟาสซิสต์และอิทธิพลของฟาสซิสต์นั้นควรจะถูกทำลายลงอย่างสมบูรณ์ และชาวอิตาลีควรจะได้รับทุกโอกาสในการจัดตั้งรัฐบาลและสถาบันอื่นโดยตั้งอยู่บนแนวคิดประชาธิปไตย
แถลงการณ์ส่วนที่เกี่ยวข้องกับออสเตรีย
ในส่วนของแถลงการณ์ที่เกี่ยวข้องกับออสเตรียนั้น รัฐมนตรีต่างประเทศสหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักรและสหภาพโซเวียต ได้ประกาศว่าการผนวกออสเตรียของเยอรมนีนั้นไม่มีผลและเป็นโมฆะ ทั้งสี่ประเทศเรียกร้องให้มีการจั้ดตั้งออสเตรียเสรีภายหลังชัยชนะเหนือนาซีเยอรมนี
แถลงการณ์ว่าด้วยความอำมหิต
ส่วนสุดท้ายของแถลงปฏิญญามอสโกมีชื่อว่า แถลงการณ์ว่าด้วยความอำมหิต และได้รับการลงนามโดยประธานาธิบดีสหรัฐ แฟรงกลิน ดี. โรสเวลต์ นายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักร วินสตัน เชอร์ชิลล์ และผู้นำสูงสุดโซเวียต โจเซฟ สตาลิน พวกเขาหมายเหตุว่า "หลักฐานของความโหดร้าย การสังหารหมู่ และการประหารชีวิตหมู่อันเลือดเย็นซึ่งได้กระทำโดยกองทัพฮิตเลอร์ในหลายประเทศซึ่งถูกรุกรานและจากที่พวกเขากำลังถูกขับไล่ออกไปอย่างต่อเนื่อง" พวกเขาเห็นพ้องว่าชาวเยอรมันจะถูกส่งกลับไปยังประเทศที่พวกเขาก่ออาชญากรรมของตนขึ้น และ "ตัดสิน ณ ที่นั้นโดยประชาชนที่พวกเขาได้กระทำอย่างโหดเหี้ยมนั้น" ในกรณีของชาวเยอรมันซึ่งการกระทำความผิดทางอาญาไม่มีที่ตั้งชัดเจนนั้น พวกเขาจะถูกลงโทษโดยการตัดสินใจร่วมกันของรัฐบาลฝ่ายสัมพันธมิตร
แถลงการณ์ว่าด้วยความอำมหิตนั้นส่วนใหญ่ร่างขึ้นโดยวินสตัน เชอร์ชิลล์ และนำไปสู่การจัดตั้งคณะกรรมการที่ปรึกษายุโรป ซึ่งได้ร่างกฎบัตรลอนดอน
อ้างอิง
- Tehran Conference: Tripartite Dinner Meeting 2006-06-29 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน November 29, 1943 Soviet Embassy, 8:30 PM
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
ptiyyamxsok idmikarlngnamrahwangkarprachummxsok emuxwnthi 30 tulakhm kh s 1943 chuxxyangepnthangkarkhxngaethlngkarndngklawkhux aethlngkarnkhxngsichatiekiywkbkhwammnkhngthwip exksardngklawidrbkarlngnamodyrthmntritangpraethskhxngrthbalshrthxemrika shrachxanackr aelashphaphosewiyt aethlngkarndngklawmisiswnaeykcakknaethlngkarnrwmsichatiinswnaethlngkarnrwmsichati rthbalshrthxemrika shrachxanackr shphaphosewiyt aelacin tamthiaethlngkarnodyshprachachatiemuxeduxnmkrakhm kh s 1942 aelaaethlngkarnthdma ephuxkhngkhwamepnprpkskbchatifayxksaehlanisungpraethsthngsitangxyuinsphawasngkhramcnkwapraethsehlanicayxmldxawuthlngbnphunthankhxngkaryxmcannxyangprascakenguxnikh thngsipraethsyngidrbrxngkhwamcaepnthicacdtngxngkhkarrahwangpraethsthwip shprachachati iherwthisudethathicathaid bnaenwkhidkhxngxthipitythiethaethiymknkhxngrththirksntithnghmd aelaepidoxkasihrthehlanilwnmioxkassmkhrekhaepnsmachikid imwaihyhruxelk ephuxkartharngrksasntiphaphaelakhwammnkhngrahwangpraethsaethlngkarnswnthiekiywkhxngkbxitaliinswnkhxngaethlngkarnthiekiywkhxngkbxitalinn rthmntritangpraethsshrthxemrika shrachxanackraelashphaphosewiyt idprakaswa fassistaelaxiththiphlkhxngfassistnnkhwrcathukthalaylngxyangsmburn aelachawxitalikhwrcaidrbthukoxkasinkarcdtngrthbalaelasthabnxunodytngxyubnaenwkhidprachathipityaethlngkarnswnthiekiywkhxngkbxxsetriyinswnkhxngaethlngkarnthiekiywkhxngkbxxsetriynn rthmntritangpraethsshrthxemrika shrachxanackraelashphaphosewiyt idprakaswakarphnwkxxsetriykhxngeyxrmninnimmiphlaelaepnomkha thngsipraethseriykrxngihmikarcdtngxxsetriyesriphayhlngchychnaehnuxnasieyxrmniaethlngkarnwadwykhwamxamhitswnsudthaykhxngaethlngptiyyamxsokmichuxwa aethlngkarnwadwykhwamxamhit aelaidrbkarlngnamodyprathanathibdishrth aefrngklin di orsewlt naykrthmntrishrachxanackr winstn echxrchill aelaphunasungsudosewiyt ocesf stalin phwkekhahmayehtuwa hlkthankhxngkhwamohdray karsngharhmu aelakarpraharchiwithmuxneluxdeynsungidkrathaodykxngthphhitelxrinhlaypraethssungthukrukranaelacakthiphwkekhakalngthukkhbilxxkipxyangtxenuxng phwkekhaehnphxngwachaweyxrmncathuksngklbipyngpraethsthiphwkekhakxxachyakrrmkhxngtnkhun aela tdsin n thinnodyprachachnthiphwkekhaidkrathaxyangohdehiymnn inkrnikhxngchaweyxrmnsungkarkrathakhwamphidthangxayaimmithitngchdecnnn phwkekhacathuklngothsodykartdsinicrwmknkhxngrthbalfaysmphnthmitr aethlngkarnwadwykhwamxamhitnnswnihyrangkhunodywinstn echxrchill aelanaipsukarcdtngkhnakrrmkarthipruksayuorp sungidrangkdbtrlxndxnxangxingTehran Conference Tripartite Dinner Meeting 2006 06 29 thi ewyaebkaemchchin November 29 1943 Soviet Embassy 8 30 PM