น้ำยาง (อังกฤษ: latex) เป็นการแผ่กระจายที่มั่นคงเสถียร(อิมัลชัน) ของพอลิเมอร์ในน้ำ น้ำยางนั้นจะถูกพบได้ในธรรมชาติ แต่น้ำยางสังเคราะห์ก็ถูกพบได้ทั่วไปเช่นกัน
น้ำยางที่ถูกพบได้ในธรรมชาติต่างเป็นของเหลวที่ลักษณะคล้ายกับน้ำนมที่ถูกพบใน 10% ของพืชดอกทั้งหมด(Angiospermae) เป็นอิมัลชันที่ซับซ้อนซึ่งประกอบไปด้วยโปรตีน แอลคาลอยด์ สาอาหารจำพวกแป้ง น้ำตาล น้ำมัน แทนนิน ยางไม้ และหมากฝรั่งธรรมชาติ ซึ่งจะจับตัวเป็นก้อนเมื่อสัมผัสกับอากาศ มันมักจะไหลซึมออกมาภายหลังจากได้กรีดผ่านเนื้อเยื้อต้น ในพื้นส่วนใหญ่ น้ำยางมีสีขาว แต่บางครั้งน้ำยางก็มีสีเหลือง สีส้ม หรือสีแดงเข้ม นับตั้งแต่ศวรรษที่ 17 น้ำยางถูกใช้เป็นคำศัพท์ที่ใช้เรียกถึงสารของเหลวในพืช มาจากคำศัพท์ภาษาละตินว่า "ลิควิด" ซึ่งทำหน้าที่ส่วนใหญ่ในการป้องกันแมลงกินพืชเป็นอาหาร น้ำยางนั้นไม่ควรสับสนกับคำว่า (plant sap) มันเป็นสารที่แตกต่างกัน ถูกผลิตแยกต่างหาก และมีหน้าที่แยกจากกัน
คำว่า น้ำยาง ยังถูกใช้เพื่อกล่าวถึงยางลาเท็กซ์ธรรมชาติ โดยเฉพาะยางที่ไม่ผ่านกระบวนการคงรูป(non-vulcanized rubber) เช่นเดียวกันกับกรณีในผลิตภัณฑ์อย่าง ถุงยางอนามัย และ
แต่เดิม ชื่อน้ำยางที่ถูกตั้งชื่อไว้โดยชนเผ่าพื้นเมืองในบริเวณพื้นที่เส้นศูนย์สูตร[] ที่เพราะปลูกต้นยาง Hevea brasiliensis คือ "caoutchouc" มาจากคำว่า caa ('น้ำตา') และ ochu ('ต้นไม้'), เนื่องจากวิธีการเก็บรวบรวม
ประวัติ
น้ำยางมาจากต้นไม้ยืนต้น มีชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งคือ ยางพารา ยางพารามีถินกำเนิดบริเวณลุ่มน้ำอเมซอน ประเทศบราซิล และเปรู ทวีปอเมริกาใต้ ซึ่งชาวมายาในอเมริกากลาง ได้รู้จักการนำยางพารามาใช้ก่อนปี พ.ศ. 2000 โดยการจุ่มเท้าลงในน้ำยางดิบเพื่อทำเป็นรองเท้า ส่วนเผ่าอื่น ๆ ก็นำยางไปใช้ประโยชน์ ในการทำผ้ากันฝน ทำขวดใส่น้ำ แบะทำลูกบอลยางเล่นเกมส์ต่าง ๆ เป็นต้น จนกระทั่งคริสโตเฟอร์ โคลัมบัสได้เดินทางมาสำรวจทวีปอเมริกาใต้ ในระหว่างปี พ.ศ. 2036-2039 และได้พบกับชาวพื้นเมืองเกาะไฮติที่กำลังเล่นลูกบอลยางซึ่งสามารถกระดอนได้ ทำให้คณะผู้เดินทางสำรวจประหลาดใจจึงเรียกว่า "ลูกบอลผีสิง"
ต่อมาในปี พ.ศ. 2279 นักวิทยาศาสตร์ชาวฝรั่งเศสชื่อชาลส์ มารีเดอลา คองตามีน์ (Charles Merie de la Condamine) ได้ให้ชื่อเรียกยางตามคำพื้นเมืองของชาวไมกาว่า "คาโอชู" (Caoutchouc) ซึ่งแปลว่าต้นไม้ร้องไห้ และให้ชื่อเรียกของเหลวที่มีลักษณะขุ่นขาวคล้ายน้ำนมซึ่งไหลออกมาจากต้นยางเมื่อกรีดเป็นรอยแผลว่า ลาเทกซ์ และใน พ.ศ. 2369 ไมเคิล ฟาราเดย์ (Faraday) ได้รายงานว่าน้ำยางเป็นสารที่ประกอบด้วยธาตุคาร์บอนและไฮโดรเจน มีสูตรเอมไพริเคิล คือ C5H8 หลังจากนั้นจึงได้มีการปรับปรุงสมบัติของยางพาราเพื่อให้ใช้งานได้กว้างขึ้นเพื่อตอบสนองความต้องการของมนุษย์
การผลิตน้ำยาง
แหล่งผลิตน้ำยางใหญ่ที่สุดในโลกคือ แถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้คิดเป็นร้อยละ 90 ของแหล่งผลิตทั้งหมด ส่วนที่เหลือมาจากแอฟริกากลาง ซึ่งพันธุ์ยางที่ผลิตในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ คือ พันธุ์ฮีเวียบราซิลเลียนซิส (Hevea brasiliensis) น้ำยางที่กรีดได้จากต้นจะเรียกว่าน้ำยางสด (field latex) น้ำยางที่ได้จากต้นยางมีลักษณะเป็นเม็ดยางเล็ก ๆ กระจายอยู่ในน้ำ (emulsion) มีลักษณะเป็นของเหลวสีขาว มีสภาพเป็นคอลลอยด์ มีปริมาณของแข็งประมาณร้อยละ 30-40 pH 6.5-7 น้ำยางมีความหนาแน่นประมาณ 0.975-0.980 กรัมต่อมิลลิลิตร มีความหนืด 12-15 เซนติพอยส์ ส่วนประกอบในน้ำยางสดแบ่งออกได้เป็น 2 ส่วน คือ
- ส่วนที่เป็นเนื้อยาง 35%
- ส่วนที่ไม่ใช่ยาง 65%
- ส่วนที่เป็นน้ำ 55%
- ส่วนของลูทอยด์ 10%
น้ำยางสดที่กรีดได้จากต้นยาง จะคงสภาพความเป็นน้ำยางอยู่ได้ไม่เกิน 6 ชั่วโมง เนื่องจากแบคทีเรียในอากาศ และจากเปลือกของต้นยางขณะกรีดยางจะลงไปในน้ำยาง และกินสารอาหารที่อยู่ในน้ำยาง เช่น โปรตีน น้ำตาล ฟอสโฟไลปิด โดยแบคทีเรียจะเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นหลังจากแบคทีเรียกินสารอาหาร คือ จะเกิดการย่อยสลายได้เป็นก๊าซชนิดต่าง ๆ เช่น แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ แก๊สมีเทน เริ่มเกิดการบูดเน่าและส่งกลิ่นเหม็น การที่มีกรดที่ระเหยง่ายเหล่านี้ในน้ำยางเพิ่มมากขึ้น จะส่งผลให้ค่า pH ของน้ำยางเปลี่ยนแปลงลดลง ดังนั้นน้ำยางจึงเกิดการสูญเสียสภาพ ซึ่งสังเกตได้จาก น้ำยางจะค่อย ๆ หนืดขึ้น เนื่องจากอนุภาคของยางเริ่มจับตัวเป็นเม็ดเล็ก ๆ และจับตัวเป็นก้อนใหญ่ขึ้น จนน้ำยางสูญเสียสภาพโดยน้ำยางจะแยกเป็น 2 ส่วน คือ ส่วนที่เป็นเนื้อยาง และส่วนที่เป็นเซรุ่ม ดังนั้นเพื่อป้องกันการสูญเสียสภาพของน้ำยางไม่ให้อนุภาคของเม็ดยางเกิดการรวมตัวกันเองตามธรรมชาติ จึงมีการใส่สารเคมีลงไปในน้ำยางเพื่อเก็บรักษาน้ำยางให้คงสภาพเป็นของเหลว โดยสารเคมีที่ใช้ในการเก็บรักษาน้ำยางเรียกว่า สารป้องกันการจับตัว (Anticoagulant) ได้แก่ แอมโมเนีย โซเดียมซัลไฟด์ ฟอร์มาลดีไฮด์ เป็นต้น เพื่อที่รักษาน้ำยางไม่ให้เสียสูญเสียสภาพ
การนำยางธรรมชาติไปใช้งานมีอยู่ 2 รูปแบบคือ รูปแบบน้ำยาง และรูปแบบยางแห้ง ในรูปแบบน้ำยางนั้นน้ำยางสดจะถูกนำมาแยกน้ำออกเพื่อเพิ่มความเข้มข้นของเนื้อยางขั้นตอนหนึ่งก่อนด้วยวิธีการต่าง ๆ แต่ที่นิยมใช้ในอุตหสาหกรรมคือการใช้เครื่องเซนตริฟิวส์ ในขณะที่การเตรียมยางแห้งนั้นมักจะใช้วิธีการใส่กรดอะซิติกลงในน้ำยางสด การใส่กรดอะซิติกเจือจางลงในน้ำยาง ทำให้น้ำยางจับตัวเป็นก้อน เกิดการแยกชั้นระหว่างเนื้อยางและน้ำ ส่วนน้ำที่ปนอยู่ในยางจะถูกกำจัดออกไปโดยการรีดด้วยลูกกลิ้ง 2 ลูกกลิ้ง วิธีการหลัก ๆ ที่จะทำให้ยางแห้งสนิทมี 2 วิธีคือ การรมควันยาง และการทำยางเครพ แต่เนื่องจากยางผลิตได้มาจากเกษตรกรจากแหล่งที่แตกต่างกัน ทำให้ต้องมีการแบ่งชั้นของยางตามความบริสุทธิ์ของยางนั้น ๆ
อ้างอิง
- Wang, Hui; Yang, Lijuan; Rempel, Garry L. (2013). "Homogeneous Hydrogenation Art of Nitrile Butadiene Rubber: A Review". Polymer Reviews. 53 (2): 192–239. doi:10.1080/15583724.2013.776586. S2CID 96720306.
- Anurag A. Agrawal; d Kotaro Konno (2009). "Latex: a model for understanding mechanisms, ecology, and evolution of plant defense Against herbivory". . 40: 311–331. doi:10.1146/annurev.ecolsys.110308.120307.
- Paul G. Mahlberg (1993). "Laticifers: an historical perspective". . 59 (1): 1–23. doi:10.1007/bf02856611. JSTOR 4354199. S2CID 40056337.
- Harper, Douglas. "latex". .
- "Natural Materials - Coco-mat". Coco-mat. จากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-06-18. สืบค้นเมื่อ 2017-07-04.
- เสาวณีย์ ก่อวุฒิกุลรังษี, การผลิตยางธรรมชาติ, 2547, คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
- บุญธรรม นิธิอุทัย, ยางธรรมชาติ ยางสังเคราะห์และคุณสมบัติ, คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี, 2530, หน้า 1-3
- พงษ์ธร แซ่อุย, ยาง : ชนิด สมบัติ และการใช้งาน, 2547, ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
nayang xngkvs latex epnkaraephkracaythimnkhngesthiyr ximlchn khxngphxliemxrinna nayangnncathukphbidinthrrmchati aetnayangsngekhraahkthukphbidthwipechnknnayangcaktnyang nayangthithukphbidinthrrmchatitangepnkhxngehlwthilksnakhlaykbnanmthithukphbin 10 khxngphuchdxkthnghmd Angiospermae epnximlchnthisbsxnsungprakxbipdwyoprtin aexlkhalxyd saxaharcaphwkaepng natal namn aethnnin yangim aelahmakfrngthrrmchati sungcacbtwepnkxnemuxsmphskbxakas mnmkcaihlsumxxkmaphayhlngcakidkridphanenuxeyuxtn inphunswnihy nayangmisikhaw aetbangkhrngnayangkmisiehluxng sism hruxsiaedngekhm nbtngaetswrrsthi 17 nayangthukichepnkhasphththiicheriykthungsarkhxngehlwinphuch macakkhasphthphasalatinwa likhwid sungthahnathiswnihyinkarpxngknaemlngkinphuchepnxahar nayangnnimkhwrsbsnkbkhawa plant sap mnepnsarthiaetktangkn thukphlitaeyktanghak aelamihnathiaeykcakkn khawa nayang yngthukichephuxklawthungyanglaethksthrrmchati odyechphaayangthiimphankrabwnkarkhngrup non vulcanized rubber echnediywknkbkrniinphlitphnthxyang thungyangxnamy aela aetedim chuxnayangthithuktngchuxiwodychnephaphunemuxnginbriewnphunthiesnsunysutr thiephraapluktnyang Hevea brasiliensis khux caoutchouc macakkhawa caa nata aela ochu tnim enuxngcakwithikarekbrwbrwmprawtinayangmacaktnimyuntn michuxeriykxikchuxhnungkhux yangphara yangpharamithinkaenidbriewnlumnaxemsxn praethsbrasil aelaepru thwipxemrikait sungchawmayainxemrikaklang idruckkarnayangpharamaichkxnpi ph s 2000 odykarcumethalnginnayangdibephuxthaepnrxngetha swnephaxun knayangipichpraoychn inkarthaphaknfn thakhwdisna aebathalukbxlyangelnekmstang epntn cnkrathngkhrisotefxr okhlmbsidedinthangmasarwcthwipxemrikait inrahwangpi ph s 2036 2039 aelaidphbkbchawphunemuxngekaaihtithikalngelnlukbxlyangsungsamarthkradxnid thaihkhnaphuedinthangsarwcprahladiccungeriykwa lukbxlphising txmainpi ph s 2279 nkwithyasastrchawfrngesschuxchals mariedxla khxngtamin Charles Merie de la Condamine idihchuxeriykyangtamkhaphunemuxngkhxngchawimkawa khaoxchu Caoutchouc sungaeplwatnimrxngih aelaihchuxeriykkhxngehlwthimilksnakhunkhawkhlaynanmsungihlxxkmacaktnyangemuxkridepnrxyaephlwa laethks aelain ph s 2369 imekhil faraedy Faraday idraynganwanayangepnsarthiprakxbdwythatukharbxnaelaihodrecn misutrexmiphriekhil khux C5H8 hlngcaknncungidmikarprbprungsmbtikhxngyangpharaephuxihichnganidkwangkhunephuxtxbsnxngkhwamtxngkarkhxngmnusykarphlitnayangaehlngphlitnayangihythisudinolkkhux aethbexechiytawnxxkechiyngitkhidepnrxyla 90 khxngaehlngphlitthnghmd swnthiehluxmacakaexfrikaklang sungphnthuyangthiphlitinexechiytawnxxkechiyngit khux phnthuhiewiybrasileliynsis Hevea brasiliensis nayangthikrididcaktncaeriykwanayangsd field latex nayangthiidcaktnyangmilksnaepnemdyangelk kracayxyuinna emulsion milksnaepnkhxngehlwsikhaw misphaphepnkhxllxyd miprimankhxngaekhngpramanrxyla 30 40 pH 6 5 7 nayangmikhwamhnaaennpraman 0 975 0 980 krmtxmillilitr mikhwamhnud 12 15 esntiphxys swnprakxbinnayangsdaebngxxkidepn 2 swn khux swnthiepnenuxyang 35 swnthiimichyang 65 swnthiepnna 55 swnkhxngluthxyd 10 nayangsdthikrididcaktnyang cakhngsphaphkhwamepnnayangxyuidimekin 6 chwomng enuxngcakaebkhthieriyinxakas aelacakepluxkkhxngtnyangkhnakridyangcalngipinnayang aelakinsarxaharthixyuinnayang echn oprtin natal fxsofilpid odyaebkhthieriycaecriyetibotxyangrwderw ptikiriyathiekidkhunhlngcakaebkhthieriykinsarxahar khux caekidkaryxyslayidepnkaschnidtang echn aekskharbxnidxxkisd aeksmiethn erimekidkarbudenaaelasngklinehmn karthimikrdthiraehyngayehlaniinnayangephimmakkhun casngphlihkha pH khxngnayangepliynaeplngldlng dngnnnayangcungekidkarsuyesiysphaph sungsngektidcak nayangcakhxy hnudkhun enuxngcakxnuphakhkhxngyangerimcbtwepnemdelk aelacbtwepnkxnihykhun cnnayangsuyesiysphaphodynayangcaaeykepn 2 swn khux swnthiepnenuxyang aelaswnthiepnesrum dngnnephuxpxngknkarsuyesiysphaphkhxngnayangimihxnuphakhkhxngemdyangekidkarrwmtwknexngtamthrrmchati cungmikarissarekhmilngipinnayangephuxekbrksanayangihkhngsphaphepnkhxngehlw odysarekhmithiichinkarekbrksanayangeriykwa sarpxngknkarcbtw Anticoagulant idaek aexmomeniy osediymslifd fxrmaldiihd epntn ephuxthirksanayangimihesiysuyesiysphaph karnayangthrrmchatiipichnganmixyu 2 rupaebbkhux rupaebbnayang aelarupaebbyangaehng inrupaebbnayangnnnayangsdcathuknamaaeyknaxxkephuxephimkhwamekhmkhnkhxngenuxyangkhntxnhnungkxndwywithikartang aetthiniymichinxuthsahkrrmkhuxkarichekhruxngesntrifiws inkhnathikaretriymyangaehngnnmkcaichwithikariskrdxasitiklnginnayangsd kariskrdxasitikecuxcanglnginnayang thaihnayangcbtwepnkxn ekidkaraeykchnrahwangenuxyangaelana swnnathipnxyuinyangcathukkacdxxkipodykarriddwylukkling 2 lukkling withikarhlk thicathaihyangaehngsnithmi 2 withikhux karrmkhwnyang aelakarthayangekhrph aetenuxngcakyangphlitidmacakekstrkrcakaehlngthiaetktangkn thaihtxngmikaraebngchnkhxngyangtamkhwambrisuththikhxngyangnn xangxingWang Hui Yang Lijuan Rempel Garry L 2013 Homogeneous Hydrogenation Art of Nitrile Butadiene Rubber A Review Polymer Reviews 53 2 192 239 doi 10 1080 15583724 2013 776586 S2CID 96720306 Anurag A Agrawal d Kotaro Konno 2009 Latex a model for understanding mechanisms ecology and evolution of plant defense Against herbivory 40 311 331 doi 10 1146 annurev ecolsys 110308 120307 Paul G Mahlberg 1993 Laticifers an historical perspective 59 1 1 23 doi 10 1007 bf02856611 JSTOR 4354199 S2CID 40056337 Harper Douglas latex Natural Materials Coco mat Coco mat cakaehlngedimemux 2017 06 18 subkhnemux 2017 07 04 esawniy kxwuthikulrngsi karphlityangthrrmchati 2547 khnawithyasastraelaethkhonolyi mhawithyalysngkhlankhrinthr withyaekhtpttani buythrrm nithixuthy yangthrrmchati yangsngekhraahaelakhunsmbti khnawithyasastraelaethkhonolyi mhawithyalysngkhlankhrinthr withyaekhtpttani 2530 hna 1 3 phngsthr aesxuy yang chnid smbti aelakarichngan 2547 sunyethkhonolyiolhaaelawsduaehngchati