นายดีขุนหมื่น หรือ นายดีมหาดเล็ก (สกุลโรจนกุล) เป็นช่างเขียน กรมช่างสิบหมู่ฝ่ายพระราชวังบวรสถานมงคล ผู้มีฝีมือชั้นเอกในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น มีบทบาทในการการบูรณปฏิสังขรณ์วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารครั้งใหญ่สมัยรัชกาลที่ 3
นายดีขุนหมื่น | |
---|---|
เกิด | สมัยรัชกาลที่ 1 ตำบลบ้านช่างหล่อ วังหลัง ฝั่งธนบุรี |
เสียชีวิต | สมัยรัชกาลที่ 4 |
อาชีพ | ช่างเขียน กรมช่างสิบหมู่ |
ผลงานที่สำคัญ | แม่กองกำกับจิตรกรรมฝาผนังเรื่อง รามเกียรติ์ วัดพระเชตุพน |
บุตร | หลวงลิขิตปรีชา (คุ้ม โรจนกุล) |
ญาติ | นายนน (บิดา) |
ประวัติ
นายดีขุนหมื่น นามเดิม นายดี เกิดเมื่อปลายรัชกาลที่ 1 นายนนเป็นบิดา ปลูกเรือนเครื่องผูกย่านคลองบ้านช่างหล่อมาแต่สมัยกรุงธนบุรี บุตรชื่อหลวงลิขิตปรีชา (คุ้ม) เจ้ากรมพระอาลักษณ์ฝ่ายพระราชวังบวร (วังหน้า) มีนิวาสสถานเดิมที่ตำบลบ้านช่างหล่อ วังหลัง ฝั่งธนบุรี
สมัยรัชกาลที่ 2 นายดีได้เข้าสังกัดมูลนายของพระยาอร่ามมณเฑียร ฝ่ายพระราชวังบวร ตำแหน่งนายหมวด มีหน้าที่ควบคุมไพร่ในสังกัดกรมพระราชวังบวรสถานมงคล (วังหน้า) ต่อมานายดีจึงปลูกเรือนเครื่องสับที่ตรอกตลาดใหม่ ย่านวัดโสมนัสราชวรวิหาร กรุงเทพพระมหานครชั้นใน
สมัยรัชกาลที่ 3 ได้เป็นช่างเขียนมหาดเล็ก ตำแหน่งช่างเขียน กรมช่างสิบหมู่ฝ่ายพระราชวังบวรสถานมงคล
เมื่อคราวพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดให้มีการบูรณปฏิสังขรณ์วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร (วัดโพธิ์) ครั้งใหญ่ พร้อมทั้งโปรดให้มีการบันทึกข้อมูลรายนามแม่กองผู้รับผิดชอบ ปรากฏว่านายดีช่างเขียนมหาดเล็ก ฝ่ายพระราชวังบวรได้กำกับผนังใหญ่งานจิตกรรมฝาผนัง เรื่อง รามเกียรติ์ ตั้งแต่ตอนนนทกมาเกิดเป็นทศกัณฐ์ถึงตอนบุตรของท้าวลัสเตียนครองกรุงลงกา ณ ศาลาทิศใต้ของหอไตรพระมณฑป (หอไตรจตุรมุข) วัดพระเชตุพน ร่วมกับพระสมุห์ศรี ช่างบรรพชิตจากวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ โดยมีพระอภัยสุรินทร เจ้ากรมพลพันซ้าย กำกับการซ่อม และการเขียนช่าง ปัจจุบันจิตรกรรมศาลาทิศใต้ของหอไตรพระมณฑป รวมทั้งศิลาจารึกที่อธิบายกำกับภาพได้เลือนหายไปจนหมดสิ้นแล้วในปัจจุบัน
และปรากฏต่อมาว่า นายดีช่างเขียนมหาดเล็กฝ่ายพระราชวังบวรมีหน้าที่ตรวจตราศาลารายรอบวัดพระเชตุพน ทั้งภายในและภายนอก ปรากฏตามบัญชีรายชื่อจิตรกรว่านายดีมหาดเล็กร่วมกับรายชื่อจิตรกรสมัยนั้นที่ทำงานให้วัดพระเชตุพน และปรากฏใน ประชุมจารึกวัดพระเชตุพนฯ ว่า:–
พระครูอุดมสังวร พระครูลงเครื่องเป็นผู้ชี้ขาดช่างพระสงฆ์ พระครูวินัยธรเป็นผู้ร่างเรื่องตำนาน นายดีมหาดเล็กตรวจตราทั่วไปทั้งศาลารายภายนอกและภายใน อาลักษณเป็นผู้เขียนเรื่องตำนาน หมื่นนิพนธ์เป็นผู้ช่วยทุกศาลา ภาพใดที่ไม่เหมาะก็ให้เปลี่ยนแปลงใหม่: 50
สำหรับการบูรณะศาลาการเปรียญที่ศาลาทิศหอไตร (พระมณฑป) วัดพระเชตุพน ปรากฏว่านายดีมหาดเล็กมีหน้าที่เป็นผู้ตรวจ ส่วนหลวงลิขิตปรีชา (คุ้ม โรจนกุล) บุตร ร่วมแต่งโครงประกอบจารึกวัดพระเชตุพน เช่น เพลงยาวกลบท โครงฤๅษีดัดตน และโครงบาทกุญชร ว่าด้วยมนุษย์ต่างภาษา เป็นต้น: 38–40
สมัยรัชกาลที่ 4 เข้าสังกัดมูลนายกับสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยูรวงศ์ (ดิศ บุนนาค) รับราชการเป็นที่นายดีขุนหมื่น ตำแหน่งช่างเขียนกรมช่างสิบหมู่ฝ่ายพระราชวังบวรจนกระทั่งถึงแก่กรรม
นายดีขุนหมื่นเป็นหนึ่งในจิตรกรช่างเขียนรุ่นใหญ่ของกรมช่างสิบหมู่ฝ่ายวังหน้าผู้มีฝีมือชั้นเอกในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น และมีสมญานามว่า นายดี กินเจ
ตำแหน่งราชการ
- นายหมวด สังกัดมูลนายพระยาอร่ามมณเฑียร (ใหญ่) ฝ่ายพระราชวังบวร
- ช่างเขียนมหาดเล็ก กรมช่างสิบหมู่ฝ่ายพระราชวังบวร
- ช่างเขียนมหาดเล็ก กรมช่างสิบหมู่ฝ่ายพระราชวังบวร สังกัดมูลนายสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยูรวงศ์ (ดิศ บุนนาค)
อ้างอิง
- เชิงอรรถ
- จุลทัศน์ พยาฆรานนท์. (2543). ร้อยคำร้อยความ: รวมประวัติและผลงานด้านศิลปวัฒนธรรมไทย. กรุงเทพฯ: สถาบันไทยศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. หน้า 182. ISBN
- ข่าวตาย. (2439). ราชกิจจานุเบกษา. เล่มที่ 13. หน้า 289.
- โดยพระบรมราชโองการ สารบาญชีส่วนที่ ๒ คือ ราษฎรในจังหวัด ถนนแลตรอก สำหรับเจ้าพนักงานกรมไปรสนีย์ กรุงเทพมหานคร ตั้งแต่จำนวนปีมะแมเบญจศก จุลศักราช ๑๒๔๕ เล่ม ๒. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์บ้านพระเทพผลู, 2425. หน้า 387.
- อรวรรณ เชื้อน้อย. (2563). งานศิลปกรรมวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม ราชวรมหาวิหาร : ภาพสะท้อนสังคมและวัฒนธรรมสมัยต้นกรุงรัตนโกสินทร์ (The Arts in Wat Phrachetuphon Vimolmangklaram Rajawaramahaviharn : Social and Cultural Reflections in early Rattanakosin Period). วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ประวัติศาสตร์ศิลปะ). ภาควิชาประวัติศาสตร์ศิลปะ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร. หน้า 203.
- น. ณ ปากน้ำ (ประยูร อุลุชาฎะ) และกนกวรรณ ฤทธิไพโรจน์. (2537). วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ. หน้า 143. ISBN
- พระธรรมราชานุวัตร, วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร. (2541). โบราณวัตถุจากพระมหาเจดีย์ ๔ รัชกาล วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม. กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง. หน้า 101. ISBN :– "สำหรับรายชื่อจิตรกรที่ทำงานให้วัดพระเชตุพนฯ ในสมัยนั้นมีดังนี้ หลวงราชานุรักษ์ หลวงชาญภูเบศร์ มหาดเล็กจากวังหน้า หลวงกรรภ์ยุบาลราชรักษ์ (จ่าจิตรนุกูล) หลวงพิทักษ์นรินทร์ จ่ายงมหาดเล็ก หลวงราชเสวก หลวงเสน่ห์รักษา นายด้วง สมุห์เพิก ราชกิจจิตรกรรม สมุห์จั่น สมุห์ศรี หลวงพิพิธ นายน้อย หลวงราชโยธา พระอภัยสุรินทร์ นายสุด นายเรืองมหาดเล็ก พระครูวิจิตรโฆษา นายดีมหาดเล็ก พระยาเพชรพิไชย พระยาอร่ามรัตนมณเฑียร มีหลักฐานการจ่ายเงินค่าจ้างสําหรับช่างเขียนในพระอุโบสถดังนี้ "ในพระอุโบสถมีรูปเขียนพระสาวกกำลังประคองอัญชลี รูปเขียนที่คอสอง มีการจ่ายราชทรัพย์สําหรับช่างด้าน ละ ๗ กระษาปณ์ ผนังด้านบนเขียนเรื่องมโหสถจ่ายเงินห้องละ ๗ กระษาปณ์ ผนังระหว่างหน้าต่างเขียนเรื่องพระสาวกเอตทัคคะ ล้วนแต่เลือกช่างคฤหัสถ์และพระฝีมือเลิศ ผนังละ ๕ กระษาปณ์ เขียนลายประดับเสากลางพระอุโบสถจ่ายช่างเขียนเสาละ ๔ กระษาปณ์"
- บัณฑิต ลิ่วชัยชาญ. (2550). "ภัยฝรั่ง" สมัยพระนั่งเกล้าฯ. กรุงเทพฯ: มติชน. หน้า 142. ISBN
- ประชุมจารึกวัดพระเชตุพน ฯ. (พิมพ์ครั้งที่ 3). ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พิมพ์ในงานพระราชทานเพลิงพระศพ สมเด็จพระอริยวงศาตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (ปุ่น ปุณฺณสิริ) ณ เมรูหน้าพลับพลาอิศริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาส วันที่ ๒๓ เมษายน พุทธศักราช ๒๕๑๗. กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วนสำกัด ศิวพร.
- สมใจ โพธิ์เขียว. (2550). การศึกษาวิเคราะห์โคลงดั้นเรื่องปฏิสังขรณ์วัดพระเชตุพน พระนิพนธ์สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส (An Analytical Study of Klong Dan Patisangkhorn Wat Phrachetuphon By The Supreme Patriarch His Royal Highness Prince Paramanujitajinorasa). วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (วรรณคดีไทย). บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพมหานคร. หน้า 57. doi:10.14457/KU.the.2007.563
- จุลทัศน์ พยาฆรานนท์. (2543). ร้อยคำร้อยความ: รวมประวัติและผลงานด้านศิลปวัฒนธรรมไทย. กรุงเทพฯ: สถาบันไทยศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. หน้า 182. ISBN :– "ตัวช่างรุ่นเก่าซึ่งได้เคยเขียนสําแดงฝีไม้ลายมือมาแต่เมื่อคราวนั้นซึ่งมีจำนวนมากกว่า ๑๕๐ ท่าน ตกมาถึงกาลปัจจุบันนี้ก็ล่วงโรยถึงอายุขัยไปเสียกว่ามาก คุณพระเทวาภินิมมต (ฉาย เทียมศิลปไชย) แม่กองกำกับการซ่อมแต่คราวโน้น ก็เดินทางไปสู่ปกโลกเสียน่านกว่า ๑๐ ปีแล้ว ยังมีช่างเขียนรุ่นใหญ่ฝีมือเป็นเอกในสมัยนั้น เช่น ครูเขมี ตาลลักษณะ ขุนเจนจิตรยง ครูเปรื่อง แสงเถกิง นายดี กินเจ นายยู่เก่ง ล่อเห่ง ฯลฯ ท่านที่กล่าวนามมานี้ล้วนหาชีวิตไม่แล้วทั้งสิ้น"
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
naydikhunhmun hrux naydimhadelk skulorcnkul epnchangekhiyn krmchangsibhmufayphrarachwngbwrsthanmngkhl phumifimuxchnexkinsmyrtnoksinthrtxntn mibthbathinkarkarburnptisngkhrnwdphraechtuphnwimlmngkhlaramrachwrmhawiharkhrngihysmyrchkalthi 3naydikhunhmunekidsmyrchkalthi 1 tablbanchanghlx wnghlng fngthnburiesiychiwitsmyrchkalthi 4xachiphchangekhiyn krmchangsibhmuphlnganthisakhyaemkxngkakbcitrkrrmfaphnngeruxng ramekiyrti wdphraechtuphnbutrhlwnglikhitpricha khum orcnkul yatinaynn bida prawtinaydikhunhmun namedim naydi ekidemuxplayrchkalthi 1 naynnepnbida plukeruxnekhruxngphukyankhlxngbanchanghlxmaaetsmykrungthnburi butrchuxhlwnglikhitpricha khum ecakrmphraxalksnfayphrarachwngbwr wnghna miniwassthanedimthitablbanchanghlx wnghlng fngthnburi smyrchkalthi 2 naydiidekhasngkdmulnaykhxngphrayaxrammnethiyr fayphrarachwngbwr taaehnngnayhmwd mihnathikhwbkhumiphrinsngkdkrmphrarachwngbwrsthanmngkhl wnghna txmanaydicungplukeruxnekhruxngsbthitrxktladihm yanwdosmnsrachwrwihar krungethphphramhankhrchnin smyrchkalthi 3 idepnchangekhiynmhadelk taaehnngchangekhiyn krmchangsibhmufayphrarachwngbwrsthanmngkhl emuxkhrawphrabathsmedcphranngeklaecaxyuhwoprdihmikarburnptisngkhrnwdphraechtuphnwimlmngkhlaramrachwrmhawihar wdophthi khrngihy phrxmthngoprdihmikarbnthukkhxmulraynamaemkxngphurbphidchxb praktwanaydichangekhiynmhadelk fayphrarachwngbwridkakbphnngihyngancitkrrmfaphnng eruxng ramekiyrti tngaettxnnnthkmaekidepnthsknththungtxnbutrkhxngthawlsetiynkhrxngkrunglngka n salathisitkhxnghxitrphramnthp hxitrcturmukh wdphraechtuphn rwmkbphrasmuhsri changbrrphchitcakwdmhathatuyuwrachrngsvsdi odymiphraxphysurinthr ecakrmphlphnsay kakbkarsxm aelakarekhiynchang pccubncitrkrrmsalathisitkhxnghxitrphramnthp rwmthngsilacarukthixthibaykakbphaphideluxnhayipcnhmdsinaelwinpccubn hxitrphramnthp hxitrcturmukh wdphraechtuphn aelaprakttxmawa naydichangekhiynmhadelkfayphrarachwngbwrmihnathitrwctrasalarayrxbwdphraechtuphn thngphayinaelaphaynxk prakttambychiraychuxcitrkrwanaydimhadelkrwmkbraychuxcitrkrsmynnthithanganihwdphraechtuphn aelapraktin prachumcarukwdphraechtuphn wa phrakhruxudmsngwr phrakhrulngekhruxngepnphuchikhadchangphrasngkh phrakhruwinythrepnphurangeruxngtanan naydimhadelktrwctrathwipthngsalarayphaynxkaelaphayin xalksnepnphuekhiyneruxngtanan hmunniphnthepnphuchwythuksala phaphidthiimehmaakihepliynaeplngihm 50 sahrbkarburnasalakarepriyythisalathishxitr phramnthp wdphraechtuphn praktwanaydimhadelkmihnathiepnphutrwc swnhlwnglikhitpricha khum orcnkul butr rwmaetngokhrngprakxbcarukwdphraechtuphn echn ephlngyawklbth okhrngvisiddtn aelaokhrngbathkuychr wadwymnusytangphasa epntn 38 40 smyrchkalthi 4 ekhasngkdmulnaykbsmedcecaphrayabrmmhaprayurwngs dis bunnakh rbrachkarepnthinaydikhunhmun taaehnngchangekhiynkrmchangsibhmufayphrarachwngbwrcnkrathngthungaekkrrm naydikhunhmunepnhnungincitrkrchangekhiynrunihykhxngkrmchangsibhmufaywnghnaphumifimuxchnexkinsmyrtnoksinthrtxntn aelamismyanamwa naydi kinectaaehnngrachkarnayhmwd sngkdmulnayphrayaxrammnethiyr ihy fayphrarachwngbwr changekhiynmhadelk krmchangsibhmufayphrarachwngbwr changekhiynmhadelk krmchangsibhmufayphrarachwngbwr sngkdmulnaysmedcecaphrayabrmmhaprayurwngs dis bunnakh xangxingechingxrrthculthsn phyakhrannth 2543 rxykharxykhwam rwmprawtiaelaphlngandansilpwthnthrrmithy krungethph sthabnithysuksa culalngkrnmhawithyaly hna 182 ISBN 978 974 3 46130 9 khawtay 2439 rachkiccanuebksa elmthi 13 hna 289 odyphrabrmrachoxngkar sarbaychiswnthi 2 khux rasdrincnghwd thnnaeltrxk sahrbecaphnkngankrmiprsniy krungethphmhankhr tngaetcanwnpimaaemebycsk culskrach 1245 elm 2 krungethph orngphimphbanphraethphphlu 2425 hna 387 xrwrrn echuxnxy 2563 ngansilpkrrmwdphraechtuphnwimlmngkhlaram rachwrmhawihar phaphsathxnsngkhmaelawthnthrrmsmytnkrungrtnoksinthr The Arts in Wat Phrachetuphon Vimolmangklaram Rajawaramahaviharn Social and Cultural Reflections in early Rattanakosin Period withyaniphnthprchyadusdibnthit prawtisastrsilpa phakhwichaprawtisastrsilpa bnthitwithyaly mhawithyalysilpakr hna 203 n n pakna prayur xuluchada aelaknkwrrn vththiiphorcn 2537 wdphraechtuphnwimlmngkhlaram krungethph emuxngobran hna 143 ISBN 978 974 7 36718 8 phrathrrmrachanuwtr wdphraechtuphnwimlmngkhlaramrachwrmhawihar 2541 obranwtthucakphramhaecdiy 4 rchkal wdphraechtuphnwimlmngkhlaram krungethph xmrinthrphrintingaexndphblichching hna 101 ISBN 978 974 8 36927 3 sahrbraychuxcitrkrthithanganihwdphraechtuphn insmynnmidngni hlwngrachanurks hlwngchayphuebsr mhadelkcakwnghna hlwngkrrphyubalrachrks cacitrnukul hlwngphithksnrinthr cayngmhadelk hlwngracheswk hlwngesnhrksa naydwng smuhephik rachkiccitrkrrm smuhcn smuhsri hlwngphiphith naynxy hlwngrachoytha phraxphysurinthr naysud nayeruxngmhadelk phrakhruwicitrokhsa naydimhadelk phrayaephchrphiichy phrayaxramrtnmnethiyr mihlkthankarcayenginkhacangsahrbchangekhiyninphraxuobsthdngni inphraxuobsthmirupekhiynphrasawkkalngprakhxngxychli rupekhiynthikhxsxng mikarcayrachthrphysahrbchangdan la 7 krasapn phnngdanbnekhiyneruxngmohsthcayenginhxngla 7 krasapn phnngrahwanghnatangekhiyneruxngphrasawkextthkhkha lwnaeteluxkchangkhvhsthaelaphrafimuxelis phnngla 5 krasapn ekhiynlaypradbesaklangphraxuobsthcaychangekhiynesala 4 krasapn bnthit liwchychay 2550 phyfrng smyphranngekla krungethph mtichn hna 142 ISBN 978 974 0 20004 8 prachumcarukwdphraechtuphn phimphkhrngthi 3 thrngphrakrunaoprdekla ihphimphinnganphrarachthanephlingphrasph smedcphraxriywngsatyan smedcphrasngkhrach pun pun nsiri n emruhnaphlbphlaxisriyaphrn wdethphsirinthrawas wnthi 23 emsayn phuththskrach 2517 krungethph hanghunswnsakd siwphr smic ophthiekhiyw 2550 karsuksawiekhraahokhlngdneruxngptisngkhrnwdphraechtuphn phraniphnthsmedcphramhasmneca krmphraprmanuchitchionrs An Analytical Study of Klong Dan Patisangkhorn Wat Phrachetuphon By The Supreme Patriarch His Royal Highness Prince Paramanujitajinorasa withyaniphnthsilpsastrmhabnthit wrrnkhdiithy bnthitwithyaly mhawithyalyekstrsastr krungethphmhankhr hna 57 doi 10 14457 KU the 2007 563 culthsn phyakhrannth 2543 rxykharxykhwam rwmprawtiaelaphlngandansilpwthnthrrmithy krungethph sthabnithysuksa culalngkrnmhawithyaly hna 182 ISBN 978 974 3 46130 9 twchangrunekasungidekhyekhiynsaaedngfiimlaymuxmaaetemuxkhrawnnsungmicanwnmakkwa 150 than tkmathungkalpccubnniklwngorythungxayukhyipesiykwamak khunphraethwaphinimmt chay ethiymsilpichy aemkxngkakbkarsxmaetkhrawonn kedinthangipsupkolkesiynankwa 10 piaelw yngmichangekhiynrunihyfimuxepnexkinsmynn echn khruekhmi tallksna khunecncitryng khruepruxng aesngethking naydi kinec nayyuekng lxehng l thanthiklawnammanilwnhachiwitimaelwthngsin