กระเพาะอาหารและลำไส้อักเสบ (อังกฤษ: gastroenteritis) หรือ ท้องร่วงจากการติดเชื้อ (อังกฤษ: infectious diarrhea) เป็นภาวะที่มีการอักเสบของอวัยวะในทางเดินอาหาร ได้แก่กระเพาะอาหารและลำไส้ ผู้ป่วยอาจมีอาการอุจจาระร่วง อาเจียน และปวดท้องได้ บางรายอาจมีไข้ อ่อนเพลีย และขาดน้ำร่วมด้วย ส่วนใหญ่เป็นอยู่ไม่เกิน 2 สัปดาห์ เรียกว่ากระเพาะอาหารและลำไส้อักเสบเฉียบพลัน (อังกฤษ: acute gastroenteritis)
กระเพาะอาหารและลำไส้อักเสบ (Gastroenteritis) | |
---|---|
ชื่ออื่น | Gastro, stomach bug, stomach virus, stomach flu, gastric flu, gastrointestinitis |
ภาพไวรัสต่าง ๆ ที่ทำให้เกิดกระเพาะอาหารและลำไส้อักเสบ เป็นภาพถ่ายกำลังขยายเท่ากัน สามารถเปรียบเทียบขนาดของไวรัสแต่ละชนิดได้: A = ไวรัสโรต้า, B = ไวรัสอะดีโน, C = ไวรัสโนโร, และ D = ไวรัสแอสโตร | |
สาขาวิชา | โรคติดเชื้อ, วิทยาทางเดินอาหาร |
อาการ | อุจจาระร่วง, อาเจียน, ปวดท้อง, มีไข้ |
ภาวะแทรกซ้อน | ภาวะขาดน้ำ |
สาเหตุ | เกิดจากการติดเชื้อ เช่น ไวรัส, แบคทีเรีย, ปรสิต, เชื้อรา |
วิธีวินิจฉัย | วินิจฉัยจากอาการ, อาจส่งอุจจาระเพาะเชื้อในบางกรณี |
โรคอื่นที่คล้ายกัน | , , ภาวะไม่ทนต่อแลกโตส |
การป้องกัน | การล้างมือ, ดื่ม, ขับถ่ายของเสียให้ถูกสุขอนามัย, ให้ทารกกินนมแม่ |
การรักษา | สารละลายชดเชยการขาดน้ำแบบกินทางปาก (ประกอบด้วยน้ำ เกลือแกง และน้ำตาล), การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ |
ความชุก | 2.4 พันล้านคน (ค.ศ. 2015) |
การเสียชีวิต | 1.3 ล้านคน (ค.ศ. 2015) |
สาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากการติดเชื้อไวรัส และมีบางส่วนเกิดจากการติดเชื้ออื่น ๆ เช่น เชื้อแบคทีเรีย ปรสิต และเชื้อรา เด็กที่ป่วยภาวะนี้และมีอาการรุนแรงส่วนใหญ่จะเกิดจากการติดเชื้อไวรัสโรต้า ส่วนในผู้ใหญ่ที่พบบ่อยที่สุดคือไวรัสโนโรและเชื้อแบคทีเรีย พฤติกรรมที่ทำให้โรคแพร่กระจายได้แก่ กินอาหารหรือดื่มน้ำที่ไม่สะอาด หรือสัมผัสใกล้ชิดกับผู้ป่วย การรักษาส่วนใหญ่จะเหมือน ๆ กันไม่ว่าจะมีเชื้อใดเป็นสาเหตุ ดังนั้นโดยทั่วไปจะไม่นิยมส่งตรวจหาเชื้อ
การป้องกันทำได้โดยล้างมือด้วยสบู่ ดื่มน้ำสะอาด ให้ทารกกินนมแม่แทน และขับถ่ายให้ถูกสุขลักษณะ ในเด็กแนะนำให้ป้องกันการติดเชื้อไวรัสโรต้าด้วยวัคซีน การรักษาที่สำคัญคือการชดเชยสารน้ำ ในรายที่ป่วยเล็กน้อยหรือปานกลางสามารถทำได้ด้วยวิธีกินสารละลายชดเชยสารน้ำที่ผสมจากน้ำสะอาด เกลือแกง และน้ำตาล ทารกที่กินนมแม่แนะนำให้กินนมแม่ต่อไป ในรายที่ป่วยรุนแรงอาจจำเป็นต้องได้รับสารน้ำผ่านการให้ทางหลอดเลือดดำ หรืออาจให้ผ่านสายสวนกระเพาะอาหารทางจมูก ในเด็กแนะนำให้เสริมแร่ธาตุสังกะสี ส่วนใหญ่ไม่จำเป็นต้องใช้ยาปฏิชีวนะ แต่ในเด็กเล็กที่มีไข้และมีอุจจาระเป็นมูกเลือดแนะนำให้ใช้ยาปฏิชีวนะร่วมในการรักษาด้วย
ข้อมูล ค.ศ. 2015 พบว่าทั่วโลกมีผู้ป่วยกระเพาะอาหารและลำไส้อักเสบราว 2 พันล้านคน เสียชีวิตประมาณ 1.3 ล้านคน กลุ่มประชากรที่ได้รับผลกระทบมากที่สุดคือเด็กและคนที่อาศัยอยู่ในประเทศกำลังพัฒนา โดยข้อมูล ค.ศ. 2011 มีเด็กอายุน้อยกว่า 5 ปี ป่วยจากภาวะนี้ราว 1.7 พันล้านคน และเสียชีวิตประมาณ 7 แสนคน เด็กอายุไม่เกิน 2 ปีในประเทศพัฒนาแล้วจะป่วยจากภาวะนี้ประมาณปีละ 6 ครั้ง หรือมากกว่า ในผู้ใหญ่จะพบภาวะนี้ได้น้อยลง ส่วนหนึ่งเพราะภูมิคุ้มกันพัฒนาแล้ว ชื่อภาษาอังกฤษของภาวะนี้ชื่อหนึ่งคือ stomach flu ("ไข้หวัดใหญ่ที่กระเพาะอาหาร") ซึ่งเป็นการเรียกชื่อที่ไม่ตรงกับสาเหตุของโรค ภาวะนี้ไม่มีความเกี่ยวข้องกับโรคไข้หวัดใหญ่แต่อย่างใด
อาการและอาการแสดง
ผู้ป่วยกระเพาะอาหารและลำไส้อักเสบส่วนใหญ่จะทั้งอาการอาเจียนและถ่ายเหลว แต่อาจมีเพียงอย่างใดอย่างหนึ่งก็ได้ อาจปวดท้องร่วมด้วยได้ ส่วนใหญ่จะเริ่มมีอาการหลังได้รับเชื้อมาเป็นเวลา 12–72 ชั่วโมง หากเป็นจากการติดเชื้อไวรัสจะหายได้เองในเวลาประมาณ 1 สัปดาห์ อาการอื่นที่อาจพบได้ในผู้ป่วยที่ติดเชื้อไวรัสเช่น มีไข้ อ่อนเพลีย ปวดศีรษะ ปวดกล้ามเนื้อ เป็นต้น หากอุจจาระมีเลือดปนอาจเป็นจากการติดเชื้อแบคทีเรียมากกว่าจะเป็นจากไวรัส การติดเชื้อแบคทีเรียบางชนิดอาจทำให้มีอาการปวดท้องต่อเนื่องได้หลายสัปดาห์
เด็กที่ป่วยจากการติดเชื้อไวรัสโรต้ามักหายได้เองภายใน 3–8 วัน อย่างไรก็ดีเด็กในประเทศยากจนอาจมีความยากลำบากในการเข้าถึงการรักษาสำหรับกรณีที่เป็นรุนแรง ซึ่งอาจทำให้มีภาวะถ่ายเหลวเรื้อรังตามมาได้ ภาวะแทรกซ้อนที่พบได้บ่อยคือการขาดน้ำ หากผู้ป่วยเด็กขาดน้ำรุนแรงอาจทำให้มีผิวหนังแข็งจับตั้งแล้วคืนตัวได้ช้า เรียกว่าภาวะสูญเสียความยืดหยุ่นของผิวหนัง (poor skin turgor) และอาจมี (prolonged capillary refill) ได้ด้วย รายที่ขาดน้ำรุนแรงมากอาจมีอาการหายใจลำบากเพิ่มได้อีก ในพื้นที่ที่สุขลักษณะไม่ดีและขาดแคลนสารอาหารอาจทำให้มีผู้ป่วยติดเชื้อซ้ำได้บ่อย ซึ่งทำให้เกิดและสติปัญญาบกพร่องตามมาได้
ผู้ป่วยกระเพาะอาหารและลำไส้อักเสบจากเชื้อแบคทีเรียแคมไพโลแบกเตอร์ประมาณ 1% จะมีข้ออักเสบแบบปฏิกิริยาตามมาในภายหลัง และ 0.1% จะเกิดกลุ่มอาการกิลแลงบาร์เร รายที่ติดเชื้ออีโคไลสายพันธุ์ที่สร้าง หรือติดเชื้อชิเกลลา อาจเกิดภาวะเม็ดเลือดแดงแตกยูรีเมีย (HUS) ตามมาได้ ผู้ป่วยที่มี HUS จะมีเกล็ดเลือดต่ำ ไตวาย และเลือดจางจากเม็ดเลือดแดงแตก ภาวะนี้มีโอกาสเกิดในเด็กมากกว่าในผู้ใหญ่ นอกจากนี้แล้วการติดเชื้อไวรัสบางชนิดอาจทำให้เกิดได้ด้วย
สาเหตุ
กระเพาะอาหารและลำไส้อักเสบส่วนใหญ่เกิดจากการติดเชื้อไวรัส (โดยเฉพาะไวรัสโรต้า) และแบคทีเรีย เช่น อี. โคไล และ อย่างไรก็ดียังอาจเกิดจากการติดเชื้ออื่น ๆ ได้ เช่น ปรสิต และเชื้อรา เป็นต้น นอกจากนี้ยังอาจเกิดจากสาเหตุอื่นที่ไม่ใช่การติดเชื้อได้ แต่พบได้น้อยกว่ามาก เด็กมีโอกาสป่วยมากกว่าผู้ใหญ่เนื่องจากระบบภูมิคุ้มกันยังพัฒนาไม่สมบูรณ์ และยังไม่สามารถปฏิบัติตนตามหลักสุขอนามัยได้ เด็กที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ที่ขาดแคลนจะมีโอกาสป่วยสูงขึ้นไปอีก
การติดเชื้อ
ไวรัส
เป็นที่ทราบกันว่าการติดเชื้อไวรัสโรตา, ไวรัสโนโร, ไวรัสอะดีโน และ เป็นสาเหตุที่ก่อให้เกิดโรคกระเพาะอาหารและลำไส้อักเสบจากไวรัส ไวรัสโรตาเป็นสาเหตุที่พบบ่อยที่สุดในเด็ก และมีอัตราใกล้เคียงกันทั้งในประเทศที่พัฒนาแล้วและกำลังพัฒนา ไวรัสโรตาทำให้เกิดอาการท้องร่วงติดเชื้อประมาณ 70% ในกลุ่มอายุเด็ก แต่เป็นสาเหตุที่พบได้น้อยกว่าในผู้ใหญ่จากการมีภูมิคุ้มกันแบบรับมา ไวรัสโนโรเป็นสาเหตุประมาณ 18% ของผู้ป่วยทุกกรณี กล่าวโดยทั่วไป โรคกระเพาะอาหารและลำไส้อักเสบจากเชื้อไวรัสเป็นสาเหตุถึง 21–40% ของกรณีผู้ป่วยโรคท้องร่วงติดเชื้อในประเทศที่พัฒนาแล้ว
ไวรัสโนโรเป็นสาเหตุสำคัญของโรคกระเพาะและลำไส้อักเสบในผู้ใหญ่ในสหรัฐซึ่งคิดเป็นประมาณ 90% ของการระบาดของไวรัสก่อโรคกระเพาะอาหารและลำไส้อักเสบโรคระบาดเฉพาะถิ่นเหล่านี้มักเกิดขึ้นเมื่อกลุ่มคนที่ใช้เวลาอยู่ร่วมกันเช่น บนเรือสำราญ ในโรงพยาบาล หรือในร้านอาหาร ผู้คนอาจยังคงติดเชื้อแม้หลังจากอาการท้องร่วงสิ้นสุดลงแล้ว และไวรัสโนโรเป็นสาเหตุประมาณ 10% ในผู้ป่วยเด็ก
แบคทีเรีย
ในบางประเทศ Campylobacter jejuni เป็นสาเหตุหลักของโรคกระเพาะอาหารและลำไส้อักเสบจากแบคทีเรีย โดยครึ่งหนึ่งของผู้ป่วยกรณีเหล่านี้เกี่ยวข้องกับการสัมผัสกับสัตว์ปีกแบคทีเรียเป็นสาเหตุประมาณ 15% ของกรณีผู้ป่วยเด็กทั้งหมด โดยชนิดของแบคทีเรียที่พบมากที่สุดคือสายพันธุ์ของ Escherichia coli, Salmonella, Shigella และ Campylobacter หากอาหารปนเปื้อนแบคทีเรียและยังคงอยู่ที่อุณหภูมิห้องเป็นเวลาหลายชั่วโมง แบคทีเรียจะทวีคูณจำนวนซึ่งเพิ่มความเสี่ยงของการติดเชื้อในผู้ที่รับประทานอาหารนั้น อาหารที่มักเกี่ยวข้องกับการเจ็บป่วยได้แก่ เนื้อสัตว์ สัตว์ปีก อาหารทะเล และไข่ดิบหรือปรุงไม่สุก, ถั่วงอกดิบ, นมไม่พาสเจอร์ไรส์และ, น้ำผักและผลไม้ ในประเทศกำลังพัฒนา โดยเฉพาะในภูมิภาคแอฟริกาใต้สะฮาราและเอเชีย การติดเชื้ออหิวาตกโรคเป็นสาเหตุทั่วไปของโรคกระเพาะอาหารและลำไส้อักเสบ โดยมักติดต่อจากน้ำหรืออาหารที่ปนเปื้อน
แบคทีเรียก่อ Clostridium difficile เป็นสาเหตุสำคัญของอาการท้องร่วงที่เกิดขึ้นบ่อยขึ้นในผู้สูงอายุทารกสามารถเป็นพาหะของแบคทีเรียเหล่านี้ได้โดยไม่แสดงอาการใด ๆ โดยเป็นสาเหตุของอาการท้องร่วงในผู้ที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลและมักเกี่ยวข้องกับการใช้ยาปฏิชีวนะ โรคท้องร่วงจากการติดเชื้อ Staphylococcus aureus อาจเกิดขึ้นในผู้ที่ใช้ยาปฏิชีวนะ "อาการท้องร่วงของนักเดินทาง" ซึ่งเกิดเฉียบพลันมักจะเป็นการติดเชื้อแบคทีเรียก่อโรคกระเพาะอาหารและลำไส้อักเสบ ในขณะที่อาการเรื้อรังมักเกิดจากการติดเชื้อปรสิตยายับยั้งการหลั่งกรดอาจเพิ่มความเสี่ยงของการติดเชื้ออย่างมีนัยสำคัญหลังจากได้รับเชื้อหลายชนิด รวมทั้งเชื้อ Clostridium difficile, Salmonella และ Campylobacter ความเสี่ยงในผู้ที่ใช้ยาชนิดยับยั้งการขับโปรตอนมีมากกว่าสารต้านตัวรับเอช 2
ปรสิต
มีปรสิตอื่น ๆ ที่ทำให้เกิดกระเพาะอาหารและลำไส้อักเสบได้หลายชนิด ที่พบบ่อยที่สุดคือ ชนิดอื่น ๆ ที่พบได้ เช่น และ เป็นต้น นับรวม ๆ แล้วพบเป็นสาเหตุได้ถึง 10% ของผู้ป่วยเด็กที่มีกระเพาะอาหารและลำไส้อักเสบ ชนิดที่เกิดจากจิอาร์เดียพบได้บ่อยในประเทศกำลังพัฒนา แต่ก็สามารถพบได้เกือบทุกที่ โดยเฉพาะในคนที่เดินทางไปยังพื้นที่ระบาด เด็กใน ชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชาย และหลังเกิดภัยพิบัติ
การแพร่เชื้อ
การแพร่เชื้ออาจเกิดขึ้นจากการดื่มน้ำที่ปนเปื้อนหรือเมื่อผู้คนแบ่งปันสิ่งของส่วนตัว คุณภาพน้ำโดยทั่วไปจะแย่ลงในฤดูฝนและมีการระบาดเพิ่มมากขึ้นในช่วงเวลานี้ ในเขตภูมิอากาศแบบอบอุ่นการติดเชื้อจะพบได้บ่อยในฤดูหนาว การป้อนนมทารกด้วยขวดที่ผ่านการฆ่าเชื้ออย่างไม่เหมาะสมเป็นสาเหตุสำคัญทั่วโลก อัตราการแพร่เชื้อยังสัมพันธ์กับสุขอนามัยที่ไม่ดี (โดยเฉพาะในเด็ก) ในครัวเรือนที่มีสมาชิกจำนวนมาก และในผู้ที่มีภาวะโภชนาการไม่ดี ผู้ใหญ่ที่พัฒนาภูมิคุ้มกันแล้วยังอาจเป็นพาหะของเชื้อบางชนิดโดยไม่แสดงอาการ ดังนั้นจึงอาจกลายเป็นรังโรคตามธรรมชาติ ในขณะที่เชื้อบางชนิด (เช่นแบคทีเรียสกุล Shigella) ก่อโรคในไพรเมตเท่านั้น เชื้ออื่น ๆ (เช่นปรสิตสกุล Giardia) อาจก่อให้เกิดโรคในสัตว์หลายชนิด
สาเหตุอื่น
มีสาเหตุอื่น ๆ อีกหลายอย่างที่ทำให้เกิดการอักเสบของทางเดินอาหารได้โดยไม่ได้เกิดจากการติดเชื้อ ที่พบบ่อย เช่น ยาบางชนิด (เช่น ยาต้านอักเสบชนิดไม่ใช่สเตียรอยด์), อาหารบางชนิด เช่น นมที่มีแลกโตส (ในผู้ที่มีความไม่ทนต่อแลกโตส), และ กลูเตน (ในผู้ป่วยโรคซีลีแอก) โรคโครห์นก็เป็นอีกโรคที่ทำให้ผู้ป่วยมีลำไส้อักเสบโดยไม่ต้องมีการติดเชื้อ และอาจเป็นได้รุนแรง บางครั้งอาจมีการอักเสบจากการได้รับสารพิษ ซึ่งพิษที่ทำให้มีอาการคลื่นไส้ อาเจียน ถ่ายเหลว โรคอื่น ๆ เช่น เกิดจากการกินปลาที่สะสมสารพิษเอาไว้, เกิดจากการกินปลาบางชนิดที่เน่าเสีย, การเป็นพิษจากเตโตรโดท็อกซิน จากการกินปลาปักเป้า และ การเป็นพิษจากโบทูลินัม จากการกินอาหารกระป๋องที่เก็บไม่ดี เป็นต้น
ในสหรัฐพบว่าอัตราการเข้าใช้บริหารที่ห้องฉุกเฉินจากภาวะกระเพาะอาหารและลำไส้อักเสบที่ไม่ได้เกิดจากการติดเชื้อใน ค.ศ. 2011 ลดลงจาก ค.ศ. 2006 ประมาณ 30% โดยในบรรดาโรคที่นำผู้ป่วยมารับบริการที่ห้องฉุกเฉินบ่อยที่สุด 20 อันดับแรก จำนวนผู้ป่วยกระเพาะอาหารและลำไส้อักเสบที่ไม่ได้เกิดจากการติดเชื้อลดลงเป็นสัดส่วนมากที่สุด
การวินิจฉัย
ส่วนใหญ่แล้ววินิจฉัยโดยดูจากอาการและอาการแสดงทางคลินิก การตรวจหาสาเหตุที่ชัดเจนของภาวะนี้มักไม่จำเป็น เนื่องจากไม่เปลี่ยนแปลงแนวทางการรักษา
กรณีที่ควรตรวจเพิ่มเติมด้วยด้วยการเพาะเชื้อ ได้แก่ กรณีที่ถ่ายเป็นเลือด, กรณีที่อาจเกิดจากอาหารเป็นพิษ และกรณีที่เดินทางกลับมาจากประเทศกำลังพัฒนา นอกจากนี้อาจควรทำในเด็กอายุน้อยกว่า 5 ปี, ผู้สูงอายุ, และผู้มีภูมิคุ้มกันบกพร่อง นอกจากนี้ยังอาจตรวจเพื่อเป็นส่วนหนึ่งของการเฝ้าระวังโรค ผู้ป่วยที่เป็นทารกและเด็กเล็กประมาณ 10% อาจมีภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำร่วมด้วย จึงแนะนำให้ตรวจระดับกลูโคสในเลือดในผู้ป่วยกลุ่มนี้ ในรายที่มีภาวะขาดน้ำรุนแรงอาจต้องตรวจอีเล็กโตรลัยต์ในเลือดและตรวจการทำงานของไตร่วมด้วย
การรักษา
ผู้ป่วยกระเพาะอาหารและลำไส้อักเสบส่วนใหญ่หายได้เองและไม่จำเป็นต้องได้รับการรักษาทางการแพทย์ การรักษาที่จะได้ประโยชน์ที่สุดสำหรับผู้ป่วยส่วนใหญ่ซึ่งมีภาวะขาดน้ำระดับเล็กน้อยถึงปานกลางคือการชดเชยน้ำด้วยการกินสารละลายเกลือแร่ ในเด็กเล็กบางรายที่อาจขาดน้ำจากการอาเจียนอาจได้ประโยชน์จากการใช้สักหนึ่งครั้ง เช่น หรือ เป็นต้นอาจช่วยบรรเทาอาการปวดท้องได้
อ้างอิง
- Singh, Amandeep (July 2010). "Pediatric Emergency Medicine Practice Acute Gastroenteritis — An Update". Pediatric Emergency Medicine Practice. 7 (7).
- Ciccarelli, S; Stolfi, I; Caramia, G (29 October 2013). "Management strategies in the treatment of neonatal and pediatric gastroenteritis". . 6: 133–61. doi:10.2147/IDR.S12718. PMC 3815002. PMID 24194646.
- Ferri's Clinical Advisor 2015: 5 Books in 1. Elsevier Health Sciences. 2014. p. 479. ISBN . จากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-09-08.
- A. Helms, Richard (2006). Textbook of therapeutics : drug and disease management (8. ed.). Philadelphia [u.a.]: Lippincott Williams & Wilkins. p. 2003. ISBN . จากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-09-08.
- Caterino, Jeffrey M.; Kahan, Scott (2003). In a Page: Emergency medicine (ภาษาอังกฤษ). Lippincott Williams & Wilkins. p. 293. ISBN . จากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-09-08.
- GBD 2015 Disease and Injury Incidence and Prevalence Collaborators (8 ตุลาคม 2016). "Global, regional, and national incidence, prevalence, and years lived with disability for 310 diseases and injuries, 1990–2015: a systematic analysis for the Global Burden of Disease Study 2015". Lancet. 388 (10053): 1545–1602. doi:10.1016/S0140-6736(16)31678-6. PMC 5055577. PMID 27733282.
- GBD 2015 Mortality and Causes of Death Collaborators (8 ตุลาคม 2016). "Global, regional, and national life expectancy, all-cause mortality, and cause-specific mortality for 249 causes of death, 1980–2015: a systematic analysis for the Global Burden of Disease Study 2015". Lancet. 388 (10053): 1459–1544. doi:10.1016/s0140-6736(16)31012-1. PMC 5388903. PMID 27733281.
- Schlossberg, David (2015). Clinical infectious disease (Second ed.). p. 334. ISBN . จากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-09-08.
- Tate JE, Burton AH, Boschi-Pinto C, Steele AD, Duque J, Parashar UD (February 2012). "2008 estimate of worldwide rotavirus-associated mortality in children younger than 5 years before the introduction of universal rotavirus vaccination programmes: a systematic review and meta-analysis". The Lancet Infectious Diseases. 12 (2): 136–41. doi:10.1016/S1473-3099(11)70253-5. PMID 22030330.
- Marshall JA, Bruggink LD (April 2011). "The dynamics of norovirus outbreak epidemics: recent insights". International Journal of Environmental Research and Public Health. 8 (4): 1141–9. doi:10.3390/ijerph8041141. PMC 3118882. PMID 21695033.
- Man SM (December 2011). "The clinical importance of emerging Campylobacter species". Nature Reviews Gastroenterology & Hepatology. 8 (12): 669–85. doi:10.1038/nrgastro.2011.191. PMID 22025030. S2CID 24103030.
- Webb, A; Starr, M (April 2005). "Acute gastroenteritis in children". Australian Family Physician. 34 (4): 227–31. PMID 15861741.
- Zollner-Schwetz, I; Krause, R (August 2015). "Therapy of acute gastroenteritis: role of antibiotics". Clinical Microbiology and Infection. 21 (8): 744–9. doi:10.1016/j.cmi.2015.03.002. PMID 25769427.
- Webber, Roger (2009). Communicable disease epidemiology and control : a global perspective (3rd ed.). Wallingford, Oxfordshire: Cabi. p. 79. ISBN . จากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-10-26.
- Walker, CL; Rudan, I; Liu, L; Nair, H; Theodoratou, E; Bhutta, ZA; O'Brien, KL; Campbell, H; Black, RE (Apr 20, 2013). "Global burden of childhood pneumonia and diarrhoea". Lancet. 381 (9875): 1405–16. doi:10.1016/S0140-6736(13)60222-6. PMC 7159282. PMID 23582727.
- Dolin, Raphael; Mandell, Gerald L.; Bennett, John E., บ.ก. (2010). "Chapter 93". Mandell, Douglas, and Bennett's principles and practice of infectious diseases (7th ed.). Philadelphia: Churchill Livingstone/Elsevier. ISBN .
- Eckardt AJ, Baumgart DC (January 2011). "Viral gastroenteritis in adults". Recent Patents on Anti-Infective Drug Discovery. 6 (1): 54–63. doi:10.2174/157489111794407877. PMID 21210762.
- Shors, Teri (2013). The microbial challenge : a public health perspective (3rd ed.). Burlington, MA: Jones & Bartlett Learning. p. 457. ISBN . จากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-09-08.
- Galanis, E (11 กันยายน 2007). "Campylobacter and bacterial gastroenteritis". Canadian Medical Association Journal. 177 (6): 570–1. doi:10.1503/cmaj.070660. PMC 1963361. PMID 17846438.
- Meloni, A; Locci, D; Frau, G; Masia, G; Nurchi, AM; Coppola, RC (October 2011). "Epidemiology and prevention of rotavirus infection: an underestimated issue?". Journal of Maternal-Fetal and Neonatal Medicine. 24 (Suppl 2): 48–51. doi:10.3109/14767058.2011.601920. PMID 21749188. S2CID 44379279.
- . DefeatDD. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 27 April 2012. สืบค้นเมื่อ 3 May 2012.
- . National Institute of Clinical Excellence. April 2009. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2009-08-02. สืบค้นเมื่อ 2009-06-11.
- Tintinalli, Judith E. (2010). Emergency Medicine: A Comprehensive Study Guide (Emergency Medicine (Tintinalli)). New York: McGraw-Hill Companies. pp. 830–839. ISBN .
- Szajewska, H; Dziechciarz, P (มกราคม 2010). "Gastrointestinal infections in the pediatric population". Current Opinion in Gastroenterology. 26 (1): 36–44. doi:10.1097/MOG.0b013e328333d799. PMID 19887936. S2CID 5083478.
- Barlow, Gavin; Irving, William L.; Moss, Peter J. (2020). "20. Infectious disease". ใน Feather, Adam; Randall, David; Waterhouse, Mona (บ.ก.). Kumar and Clark's Clinical Medicine (ภาษาอังกฤษ) (10th ed.). Elsevier. pp. 529–530. ISBN .
- Desselberger U, Huppertz HI (มกราคม 2011). "Immune responses to rotavirus infection and vaccination and associated correlates of protection". The Journal of Infectious Diseases. 203 (2): 188–95. doi:10.1093/infdis/jiq031. PMC 3071058. PMID 21288818.
- Ahmed, Sharia M; Hall, Aron J; Robinson, Anne E; Verhoef, Linda; Premkumar, Prasanna; Parashar, Umesh D; Koopmans, Marion; Lopman, Benjamin A (สิงหาคม 2014). "Global prevalence of norovirus in cases of gastroenteritis: a systematic review and meta-analysis". The Lancet Infectious Diseases. 14 (8): 725–30. doi:10.1016/S1473-3099(14)70767-4. PMC 8006533. PMID 24981041.
- Baumgart, Alexander J. Eckardt and Daniel C. (31 ธันวาคม 2010). "Viral Gastroenteritis in Adults". Recent Patents on Anti-Infective Drug Discovery (ภาษาอังกฤษ). 6 (1): 54–63. doi:10.2174/157489111794407877. PMID 21210762. สืบค้นเมื่อ 22 ธันวาคม 2020.
- Nyachuba, DG (พฤษภาคม 2010). "Foodborne illness: is it on the rise?". Nutrition Reviews. 68 (5): 257–69. doi:10.1111/j.1753-4887.2010.00286.x. PMID 20500787.
- Charles, RC; Ryan, ET (ตุลาคม 2011). "Cholera in the 21st century". Current Opinion in Infectious Diseases. 24 (5): 472–7. doi:10.1097/QCO.0b013e32834a88af. PMID 21799407. S2CID 6907842.
- Moudgal, V; Sobel, JD (กุมภาพันธ์ 2012). "Clostridium difficile colitis: a review". Hospital Practice. 40 (1): 139–48. doi:10.3810/hp.2012.02.954. PMID 22406889. S2CID 23015631.
- Lin, Z; Kotler, DP; Schlievert, PM; Sordillo, EM (พฤษภาคม 2010). "Staphylococcal enterocolitis: forgotten but not gone?". Digestive Diseases and Sciences. 55 (5): 1200–7. doi:10.1007/s10620-009-0886-1. PMID 19609675. S2CID 2023416.
- "Persistent Travelers' Diarrhea". United States Centers for Disease Control and Prevention. 10 กรกฎาคม 2015. จากแหล่งเดิมเมื่อ 3 มกราคม 2016. สืบค้นเมื่อ 9 มกราคม 2016.
Although most cases of travelers' diarrhea are acute and self-limited, a certain percentage of travelers will develop persistent (>14 days) gastrointestinal symptoms ... Parasites as a group are the pathogens most likely to be isolated from patients with persistent diarrhea
- Leonard, J; Marshall, JK; Moayyedi, P (กันยายน 2007). "Systematic review of the risk of enteric infection in patients taking acid suppression". The American Journal of Gastroenterology. 102 (9): 2047–56, quiz 2057. doi:10.1111/j.1572-0241.2007.01275.x. PMID 17509031. S2CID 12326803.
- Elliott, EJ (6 มกราคม 2007). "Acute gastroenteritis in children". The BMJ. 334 (7583): 35–40. doi:10.1136/bmj.39036.406169.80. PMC 1764079. PMID 17204802.
- Escobedo, AA; Almirall, P; Robertson, LJ; Franco, RM; Hanevik, K; Mørch, K; Cimerman, S (October 2010). "Giardiasis: the ever-present threat of a neglected disease". Infectious Disorders Drug Targets. 10 (5): 329–48. doi:10.2174/187152610793180821. PMID 20701575.
- Grimwood, K; Forbes, DA (ธันวาคม 2009). "Acute and persistent diarrhea". Pediatric Clinics of North America. 56 (6): 1343–61. doi:10.1016/j.pcl.2009.09.004. PMID 19962025.
- Shane, Andi L; Mody, Rajal K; Crump, John A; Tarr, Phillip I; Steiner, Theodore S; Kotloff, Karen; Langley, Joanne M; Wanke, Christine; Warren, Cirle Alcantara; Cheng, Allen C; Cantey, Joseph; Pickering, Larry K (19 October 2017). "2017 Infectious Diseases Society of America Clinical Practice Guidelines for the Diagnosis and Management of Infectious Diarrhea". Clinical Infectious Diseases. 65 (12): e45–e80. doi:10.1093/cid/cix669. PMC 5850553. PMID 29053792.
- Fedorowicz, Zbys; Jagannath, Vanitha A.; Carter, Ben (2011-09-07). "Antiemetics for reducing vomiting related to acute gastroenteritis in children and adolescents". Cochrane Database of Systematic Reviews. 130 (9): 270. doi:10.1002/14651858.CD005506.pub5. ISSN 1469-493X. PMC 6768985. PMID 21901699.
- Tytgat GN (2007). "Hyoscine butylbromide: a review of its use in the treatment of abdominal cramping and pain". Drugs. 67 (9): 1343–57. doi:10.2165/00003495-200767090-00007. PMID 17547475. S2CID 46971321.
แหล่งข้อมูลอื่น
- Diarrhoea and Vomiting Caused by Gastroenteritis: Diagnosis, Assessment and Management in Children Younger than 5 Years – NICE Clinical Guidelines, No. 84.
- "Gastroenteritis". MedlinePlus. U.S. National Library of Medicine.
การจำแนกโรค | D |
---|---|
ทรัพยากรภายนอก |
|
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
kraephaaxaharaelalaisxkesb xngkvs gastroenteritis hrux thxngrwngcakkartidechux xngkvs infectious diarrhea epnphawathimikarxkesbkhxngxwywainthangedinxahar idaekkraephaaxaharaelalais phupwyxacmixakarxuccararwng xaeciyn aelapwdthxngid bangrayxacmiikh xxnephliy aelakhadnarwmdwy swnihyepnxyuimekin 2 spdah eriykwakraephaaxaharaelalaisxkesbechiybphln xngkvs acute gastroenteritis kraephaaxaharaelalaisxkesb Gastroenteritis chuxxunGastro stomach bug stomach virus stomach flu gastric flu gastrointestinitisphaphiwrstang thithaihekidkraephaaxaharaelalaisxkesb epnphaphthaykalngkhyayethakn samarthepriybethiybkhnadkhxngiwrsaetlachnidid A iwrsorta B iwrsxadion C iwrsonor aela D iwrsaexsotrsakhawichaorkhtidechux withyathangedinxaharxakarxuccararwng xaeciyn pwdthxng miikhphawaaethrksxnphawakhadnasaehtuekidcakkartidechux echn iwrs aebkhthieriy prsit echuxrawithiwinicchywinicchycakxakar xacsngxuccaraephaaechuxinbangkrniorkhxunthikhlaykn phawaimthntxaelkotskarpxngknkarlangmux dum khbthaykhxngesiyihthuksukhxnamy ihtharkkinnmaemkarrksasarlalaychdechykarkhadnaaebbkinthangpak prakxbdwyna ekluxaekng aelanatal karihsarnathanghlxdeluxddakhwamchuk2 4 phnlankhn kh s 2015 karesiychiwit1 3 lankhn kh s 2015 saehtuswnihyekidcakkartidechuxiwrs aelamibangswnekidcakkartidechuxxun echn echuxaebkhthieriy prsit aelaechuxra edkthipwyphawaniaelamixakarrunaerngswnihycaekidcakkartidechuxiwrsorta swninphuihythiphbbxythisudkhuxiwrsonoraelaechuxaebkhthieriy phvtikrrmthithaihorkhaephrkracayidaek kinxaharhruxdumnathiimsaxad hruxsmphsiklchidkbphupwy karrksaswnihycaehmuxn knimwacamiechuxidepnsaehtu dngnnodythwipcaimniymsngtrwchaechux karpxngknthaidodylangmuxdwysbu dumnasaxad ihtharkkinnmaemaethn aelakhbthayihthuksukhlksna inedkaenanaihpxngknkartidechuxiwrsortadwywkhsin karrksathisakhykhuxkarchdechysarna inraythipwyelknxyhruxpanklangsamarththaiddwywithikinsarlalaychdechysarnathiphsmcaknasaxad ekluxaekng aelanatal tharkthikinnmaemaenanaihkinnmaemtxip inraythipwyrunaerngxaccaepntxngidrbsarnaphankarihthanghlxdeluxdda hruxxacihphansayswnkraephaaxaharthangcmuk inedkaenanaihesrimaerthatusngkasi swnihyimcaepntxngichyaptichiwna aetinedkelkthimiikhaelamixuccaraepnmukeluxdaenanaihichyaptichiwnarwminkarrksadwy khxmul kh s 2015 phbwathwolkmiphupwykraephaaxaharaelalaisxkesbraw 2 phnlankhn esiychiwitpraman 1 3 lankhn klumprachakrthiidrbphlkrathbmakthisudkhuxedkaelakhnthixasyxyuinpraethskalngphthna odykhxmul kh s 2011 miedkxayunxykwa 5 pi pwycakphawaniraw 1 7 phnlankhn aelaesiychiwitpraman 7 aesnkhn edkxayuimekin 2 piinpraethsphthnaaelwcapwycakphawanipramanpila 6 khrng hruxmakkwa inphuihycaphbphawaniidnxylng swnhnungephraaphumikhumknphthnaaelw chuxphasaxngkvskhxngphawanichuxhnungkhux stomach flu ikhhwdihythikraephaaxahar sungepnkareriykchuxthiimtrngkbsaehtukhxngorkh phawaniimmikhwamekiywkhxngkborkhikhhwdihyaetxyangidxakaraelaxakaraesdngphupwykraephaaxaharaelalaisxkesbswnihycathngxakarxaeciynaelathayehlw aetxacmiephiyngxyangidxyanghnungkid xacpwdthxngrwmdwyid swnihycaerimmixakarhlngidrbechuxmaepnewla 12 72 chwomng hakepncakkartidechuxiwrscahayidexnginewlapraman 1 spdah xakarxunthixacphbidinphupwythitidechuxiwrsechn miikh xxnephliy pwdsirsa pwdklamenux epntn hakxuccaramieluxdpnxacepncakkartidechuxaebkhthieriymakkwacaepncakiwrs kartidechuxaebkhthieriybangchnidxacthaihmixakarpwdthxngtxenuxngidhlayspdah edkthipwycakkartidechuxiwrsortamkhayidexngphayin 3 8 wn xyangirkdiedkinpraethsyakcnxacmikhwamyaklabakinkarekhathungkarrksasahrbkrnithiepnrunaerng sungxacthaihmiphawathayehlweruxrngtammaid phawaaethrksxnthiphbidbxykhuxkarkhadna hakphupwyedkkhadnarunaerngxacthaihmiphiwhnngaekhngcbtngaelwkhuntwidcha eriykwaphawasuyesiykhwamyudhyunkhxngphiwhnng poor skin turgor aelaxacmi prolonged capillary refill iddwy raythikhadnarunaerngmakxacmixakarhayiclabakephimidxik inphunthithisukhlksnaimdiaelakhadaekhlnsarxaharxacthaihmiphupwytidechuxsaidbxy sungthaihekidaelastipyyabkphrxngtammaid phupwykraephaaxaharaelalaisxkesbcakechuxaebkhthieriyaekhmipholaebketxrpraman 1 camikhxxkesbaebbptikiriyatammainphayhlng aela 0 1 caekidklumxakarkilaelngbarer raythitidechuxxiokhilsayphnthuthisrang hruxtidechuxchieklla xacekidphawaemdeluxdaedngaetkyuriemiy HUS tammaid phupwythimi HUS camiekldeluxdta itway aelaeluxdcangcakemdeluxdaedngaetk phawanimioxkasekidinedkmakkwainphuihy nxkcakniaelwkartidechuxiwrsbangchnidxacthaihekididdwysaehtukraephaaxaharaelalaisxkesbswnihyekidcakkartidechuxiwrs odyechphaaiwrsorta aelaaebkhthieriy echn xi okhil aela xyangirkdiyngxacekidcakkartidechuxxun id echn prsit aelaechuxra epntn nxkcakniyngxacekidcaksaehtuxunthiimichkartidechuxid aetphbidnxykwamak edkmioxkaspwymakkwaphuihyenuxngcakrabbphumikhumknyngphthnaimsmburn aelayngimsamarthptibtitntamhlksukhxnamyid edkthixasyxyuinphunthithikhadaekhlncamioxkaspwysungkhunipxik kartidechux iwrs epnthithrabknwakartidechuxiwrsorta iwrsonor iwrsxadion aela epnsaehtuthikxihekidorkhkraephaaxaharaelalaisxkesbcakiwrs iwrsortaepnsaehtuthiphbbxythisudinedk aelamixtraiklekhiyngknthnginpraethsthiphthnaaelwaelakalngphthna iwrsortathaihekidxakarthxngrwngtidechuxpraman 70 inklumxayuedk aetepnsaehtuthiphbidnxykwainphuihycakkarmiphumikhumknaebbrbma iwrsonorepnsaehtupraman 18 khxngphupwythukkrni klawodythwip orkhkraephaaxaharaelalaisxkesbcakechuxiwrsepnsaehtuthung 21 40 khxngkrniphupwyorkhthxngrwngtidechuxinpraethsthiphthnaaelw iwrsonorepnsaehtusakhykhxngorkhkraephaaaelalaisxkesbinphuihyinshrthsungkhidepnpraman 90 khxngkarrabadkhxngiwrskxorkhkraephaaxaharaelalaisxkesborkhrabadechphaathinehlanimkekidkhunemuxklumkhnthiichewlaxyurwmknechn bneruxsaray inorngphyabal hruxinranxahar phukhnxacyngkhngtidechuxaemhlngcakxakarthxngrwngsinsudlngaelw aelaiwrsonorepnsaehtupraman 10 inphupwyedk aebkhthieriy Salmonella enterica serovar Typhimurium ATCC 14028 phaphcakklxngculthrrsnkalngkhyay 1 000 ethahlngcakkaryxmsiaekrm inbangpraeths Campylobacter jejuni epnsaehtuhlkkhxngorkhkraephaaxaharaelalaisxkesbcakaebkhthieriy odykhrunghnungkhxngphupwykrniehlaniekiywkhxngkbkarsmphskbstwpikaebkhthieriyepnsaehtupraman 15 khxngkrniphupwyedkthnghmd odychnidkhxngaebkhthieriythiphbmakthisudkhuxsayphnthukhxng Escherichia coli Salmonella Shigella aela Campylobacter hakxaharpnepuxnaebkhthieriyaelayngkhngxyuthixunhphumihxngepnewlahlaychwomng aebkhthieriycathwikhuncanwnsungephimkhwamesiyngkhxngkartidechuxinphuthirbprathanxaharnn xaharthimkekiywkhxngkbkarecbpwyidaek enuxstw stwpik xaharthael aelaikhdibhruxprungimsuk thwngxkdib nmimphasecxrirsaela naphkaelaphlim inpraethskalngphthna odyechphaainphumiphakhaexfrikaitsaharaaelaexechiy kartidechuxxhiwatkorkhepnsaehtuthwipkhxngorkhkraephaaxaharaelalaisxkesb odymktidtxcaknahruxxaharthipnepuxn aebkhthieriykx Clostridium difficile epnsaehtusakhykhxngxakarthxngrwngthiekidkhunbxykhuninphusungxayutharksamarthepnphahakhxngaebkhthieriyehlaniidodyimaesdngxakarid odyepnsaehtukhxngxakarthxngrwnginphuthiekharbkarrksainorngphyabalaelamkekiywkhxngkbkarichyaptichiwna orkhthxngrwngcakkartidechux Staphylococcus aureus xacekidkhuninphuthiichyaptichiwna xakarthxngrwngkhxngnkedinthang sungekidechiybphlnmkcaepnkartidechuxaebkhthieriykxorkhkraephaaxaharaelalaisxkesb inkhnathixakareruxrngmkekidcakkartidechuxprsityaybyngkarhlngkrdxacephimkhwamesiyngkhxngkartidechuxxyangminysakhyhlngcakidrbechuxhlaychnid rwmthngechux Clostridium difficile Salmonella aela Campylobacter khwamesiynginphuthiichyachnidybyngkarkhboprtxnmimakkwasartantwrbexch 2 prsit miprsitxun thithaihekidkraephaaxaharaelalaisxkesbidhlaychnid thiphbbxythisudkhux chnidxun thiphbid echn aela epntn nbrwm aelwphbepnsaehtuidthung 10 khxngphupwyedkthimikraephaaxaharaelalaisxkesb chnidthiekidcakcixarediyphbidbxyinpraethskalngphthna aetksamarthphbidekuxbthukthi odyechphaainkhnthiedinthangipyngphunthirabad edkin chaythimiephssmphnthkbchay aelahlngekidphyphibti karaephrechux karaephrechuxxacekidkhuncakkardumnathipnepuxnhruxemuxphukhnaebngpnsingkhxngswntw khunphaphnaodythwipcaaeylnginvdufnaelamikarrabadephimmakkhuninchwngewlani inekhtphumixakasaebbxbxunkartidechuxcaphbidbxyinvduhnaw karpxnnmtharkdwykhwdthiphankarkhaechuxxyangimehmaasmepnsaehtusakhythwolk xtrakaraephrechuxyngsmphnthkbsukhxnamythiimdi odyechphaainedk inkhrweruxnthimismachikcanwnmak aelainphuthimiphawaophchnakarimdi phuihythiphthnaphumikhumknaelwyngxacepnphahakhxngechuxbangchnidodyimaesdngxakar dngnncungxacklayepnrngorkhtamthrrmchati inkhnathiechuxbangchnid echnaebkhthieriyskul Shigella kxorkhiniphremtethann echuxxun echnprsitskul Giardia xackxihekidorkhinstwhlaychnid saehtuxun misaehtuxun xikhlayxyangthithaihekidkarxkesbkhxngthangedinxaharidodyimidekidcakkartidechux thiphbbxy echn yabangchnid echn yatanxkesbchnidimichsetiyrxyd xaharbangchnid echn nmthimiaelkots inphuthimikhwamimthntxaelkots aela kluetn inphupwyorkhsiliaexk orkhokhrhnkepnxikorkhthithaihphupwymilaisxkesbodyimtxngmikartidechux aelaxacepnidrunaerng bangkhrngxacmikarxkesbcakkaridrbsarphis sungphisthithaihmixakarkhlunis xaeciyn thayehlw orkhxun echn ekidcakkarkinplathisasmsarphisexaiw ekidcakkarkinplabangchnidthienaesiy karepnphiscaketotrodthxksin cakkarkinplapkepa aela karepnphiscakobthulinm cakkarkinxaharkrapxngthiekbimdi epntn inshrthphbwaxtrakarekhaichbriharthihxngchukechincakphawakraephaaxaharaelalaisxkesbthiimidekidcakkartidechuxin kh s 2011 ldlngcak kh s 2006 praman 30 odyinbrrdaorkhthinaphupwymarbbrikarthihxngchukechinbxythisud 20 xndbaerk canwnphupwykraephaaxaharaelalaisxkesbthiimidekidcakkartidechuxldlngepnsdswnmakthisudkarwinicchyswnihyaelwwinicchyodyducakxakaraelaxakaraesdngthangkhlinik kartrwchasaehtuthichdecnkhxngphawanimkimcaepn enuxngcakimepliynaeplngaenwthangkarrksa krnithikhwrtrwcephimetimdwydwykarephaaechux idaek krnithithayepneluxd krnithixacekidcakxaharepnphis aelakrnithiedinthangklbmacakpraethskalngphthna nxkcaknixackhwrthainedkxayunxykwa 5 pi phusungxayu aelaphumiphumikhumknbkphrxng nxkcakniyngxactrwcephuxepnswnhnungkhxngkarefarawngorkh phupwythiepntharkaelaedkelkpraman 10 xacmiphawanatalineluxdtarwmdwy cungaenanaihtrwcradbkluokhsineluxdinphupwyklumni inraythimiphawakhadnarunaerngxactxngtrwcxielkotrlytineluxdaelatrwckarthangankhxngitrwmdwykarrksaphupwykraephaaxaharaelalaisxkesbswnihyhayidexngaelaimcaepntxngidrbkarrksathangkaraephthy karrksathicaidpraoychnthisudsahrbphupwyswnihysungmiphawakhadnaradbelknxythungpanklangkhuxkarchdechynadwykarkinsarlalayekluxaer inedkelkbangraythixackhadnacakkarxaeciynxacidpraoychncakkarichskhnungkhrng echn hrux epntnxacchwybrrethaxakarpwdthxngidxangxingSingh Amandeep July 2010 Pediatric Emergency Medicine Practice Acute Gastroenteritis An Update Pediatric Emergency Medicine Practice 7 7 Ciccarelli S Stolfi I Caramia G 29 October 2013 Management strategies in the treatment of neonatal and pediatric gastroenteritis 6 133 61 doi 10 2147 IDR S12718 PMC 3815002 PMID 24194646 Ferri s Clinical Advisor 2015 5 Books in 1 Elsevier Health Sciences 2014 p 479 ISBN 978 0 323 08430 7 cakaehlngedimemux 2017 09 08 A Helms Richard 2006 Textbook of therapeutics drug and disease management 8 ed Philadelphia u a Lippincott Williams amp Wilkins p 2003 ISBN 978 0 7817 5734 8 cakaehlngedimemux 2017 09 08 Caterino Jeffrey M Kahan Scott 2003 In a Page Emergency medicine phasaxngkvs Lippincott Williams amp Wilkins p 293 ISBN 978 1 4051 0357 2 cakaehlngedimemux 2017 09 08 GBD 2015 Disease and Injury Incidence and Prevalence Collaborators 8 tulakhm 2016 Global regional and national incidence prevalence and years lived with disability for 310 diseases and injuries 1990 2015 a systematic analysis for the Global Burden of Disease Study 2015 Lancet 388 10053 1545 1602 doi 10 1016 S0140 6736 16 31678 6 PMC 5055577 PMID 27733282 GBD 2015 Mortality and Causes of Death Collaborators 8 tulakhm 2016 Global regional and national life expectancy all cause mortality and cause specific mortality for 249 causes of death 1980 2015 a systematic analysis for the Global Burden of Disease Study 2015 Lancet 388 10053 1459 1544 doi 10 1016 s0140 6736 16 31012 1 PMC 5388903 PMID 27733281 Schlossberg David 2015 Clinical infectious disease Second ed p 334 ISBN 978 1 107 03891 2 cakaehlngedimemux 2017 09 08 Tate JE Burton AH Boschi Pinto C Steele AD Duque J Parashar UD February 2012 2008 estimate of worldwide rotavirus associated mortality in children younger than 5 years before the introduction of universal rotavirus vaccination programmes a systematic review and meta analysis The Lancet Infectious Diseases 12 2 136 41 doi 10 1016 S1473 3099 11 70253 5 PMID 22030330 Marshall JA Bruggink LD April 2011 The dynamics of norovirus outbreak epidemics recent insights International Journal of Environmental Research and Public Health 8 4 1141 9 doi 10 3390 ijerph8041141 PMC 3118882 PMID 21695033 Man SM December 2011 The clinical importance of emerging Campylobacter species Nature Reviews Gastroenterology amp Hepatology 8 12 669 85 doi 10 1038 nrgastro 2011 191 PMID 22025030 S2CID 24103030 Webb A Starr M April 2005 Acute gastroenteritis in children Australian Family Physician 34 4 227 31 PMID 15861741 Zollner Schwetz I Krause R August 2015 Therapy of acute gastroenteritis role of antibiotics Clinical Microbiology and Infection 21 8 744 9 doi 10 1016 j cmi 2015 03 002 PMID 25769427 Webber Roger 2009 Communicable disease epidemiology and control a global perspective 3rd ed Wallingford Oxfordshire Cabi p 79 ISBN 978 1 84593 504 7 cakaehlngedimemux 2015 10 26 Walker CL Rudan I Liu L Nair H Theodoratou E Bhutta ZA O Brien KL Campbell H Black RE Apr 20 2013 Global burden of childhood pneumonia and diarrhoea Lancet 381 9875 1405 16 doi 10 1016 S0140 6736 13 60222 6 PMC 7159282 PMID 23582727 Dolin Raphael Mandell Gerald L Bennett John E b k 2010 Chapter 93 Mandell Douglas and Bennett s principles and practice of infectious diseases 7th ed Philadelphia Churchill Livingstone Elsevier ISBN 978 0 443 06839 3 Eckardt AJ Baumgart DC January 2011 Viral gastroenteritis in adults Recent Patents on Anti Infective Drug Discovery 6 1 54 63 doi 10 2174 157489111794407877 PMID 21210762 Shors Teri 2013 The microbial challenge a public health perspective 3rd ed Burlington MA Jones amp Bartlett Learning p 457 ISBN 978 1 4496 7333 8 cakaehlngedimemux 2017 09 08 Galanis E 11 knyayn 2007 Campylobacter and bacterial gastroenteritis Canadian Medical Association Journal 177 6 570 1 doi 10 1503 cmaj 070660 PMC 1963361 PMID 17846438 Meloni A Locci D Frau G Masia G Nurchi AM Coppola RC October 2011 Epidemiology and prevention of rotavirus infection an underestimated issue Journal of Maternal Fetal and Neonatal Medicine 24 Suppl 2 48 51 doi 10 3109 14767058 2011 601920 PMID 21749188 S2CID 44379279 DefeatDD khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 27 April 2012 subkhnemux 3 May 2012 National Institute of Clinical Excellence April 2009 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2009 08 02 subkhnemux 2009 06 11 Tintinalli Judith E 2010 Emergency Medicine A Comprehensive Study Guide Emergency Medicine Tintinalli New York McGraw Hill Companies pp 830 839 ISBN 978 0 07 148480 0 Szajewska H Dziechciarz P mkrakhm 2010 Gastrointestinal infections in the pediatric population Current Opinion in Gastroenterology 26 1 36 44 doi 10 1097 MOG 0b013e328333d799 PMID 19887936 S2CID 5083478 Barlow Gavin Irving William L Moss Peter J 2020 20 Infectious disease in Feather Adam Randall David Waterhouse Mona b k Kumar and Clark s Clinical Medicine phasaxngkvs 10th ed Elsevier pp 529 530 ISBN 978 0 7020 7870 5 Desselberger U Huppertz HI mkrakhm 2011 Immune responses to rotavirus infection and vaccination and associated correlates of protection The Journal of Infectious Diseases 203 2 188 95 doi 10 1093 infdis jiq031 PMC 3071058 PMID 21288818 Ahmed Sharia M Hall Aron J Robinson Anne E Verhoef Linda Premkumar Prasanna Parashar Umesh D Koopmans Marion Lopman Benjamin A singhakhm 2014 Global prevalence of norovirus in cases of gastroenteritis a systematic review and meta analysis The Lancet Infectious Diseases 14 8 725 30 doi 10 1016 S1473 3099 14 70767 4 PMC 8006533 PMID 24981041 Baumgart Alexander J Eckardt and Daniel C 31 thnwakhm 2010 Viral Gastroenteritis in Adults Recent Patents on Anti Infective Drug Discovery phasaxngkvs 6 1 54 63 doi 10 2174 157489111794407877 PMID 21210762 subkhnemux 22 thnwakhm 2020 Nyachuba DG phvsphakhm 2010 Foodborne illness is it on the rise Nutrition Reviews 68 5 257 69 doi 10 1111 j 1753 4887 2010 00286 x PMID 20500787 Charles RC Ryan ET tulakhm 2011 Cholera in the 21st century Current Opinion in Infectious Diseases 24 5 472 7 doi 10 1097 QCO 0b013e32834a88af PMID 21799407 S2CID 6907842 Moudgal V Sobel JD kumphaphnth 2012 Clostridium difficile colitis a review Hospital Practice 40 1 139 48 doi 10 3810 hp 2012 02 954 PMID 22406889 S2CID 23015631 Lin Z Kotler DP Schlievert PM Sordillo EM phvsphakhm 2010 Staphylococcal enterocolitis forgotten but not gone Digestive Diseases and Sciences 55 5 1200 7 doi 10 1007 s10620 009 0886 1 PMID 19609675 S2CID 2023416 Persistent Travelers Diarrhea United States Centers for Disease Control and Prevention 10 krkdakhm 2015 cakaehlngedimemux 3 mkrakhm 2016 subkhnemux 9 mkrakhm 2016 Although most cases of travelers diarrhea are acute and self limited a certain percentage of travelers will develop persistent gt 14 days gastrointestinal symptoms Parasites as a group are the pathogens most likely to be isolated from patients with persistent diarrhea Leonard J Marshall JK Moayyedi P knyayn 2007 Systematic review of the risk of enteric infection in patients taking acid suppression The American Journal of Gastroenterology 102 9 2047 56 quiz 2057 doi 10 1111 j 1572 0241 2007 01275 x PMID 17509031 S2CID 12326803 Elliott EJ 6 mkrakhm 2007 Acute gastroenteritis in children The BMJ 334 7583 35 40 doi 10 1136 bmj 39036 406169 80 PMC 1764079 PMID 17204802 Escobedo AA Almirall P Robertson LJ Franco RM Hanevik K Morch K Cimerman S October 2010 Giardiasis the ever present threat of a neglected disease Infectious Disorders Drug Targets 10 5 329 48 doi 10 2174 187152610793180821 PMID 20701575 Grimwood K Forbes DA thnwakhm 2009 Acute and persistent diarrhea Pediatric Clinics of North America 56 6 1343 61 doi 10 1016 j pcl 2009 09 004 PMID 19962025 Shane Andi L Mody Rajal K Crump John A Tarr Phillip I Steiner Theodore S Kotloff Karen Langley Joanne M Wanke Christine Warren Cirle Alcantara Cheng Allen C Cantey Joseph Pickering Larry K 19 October 2017 2017 Infectious Diseases Society of America Clinical Practice Guidelines for the Diagnosis and Management of Infectious Diarrhea Clinical Infectious Diseases 65 12 e45 e80 doi 10 1093 cid cix669 PMC 5850553 PMID 29053792 Fedorowicz Zbys Jagannath Vanitha A Carter Ben 2011 09 07 Antiemetics for reducing vomiting related to acute gastroenteritis in children and adolescents Cochrane Database of Systematic Reviews 130 9 270 doi 10 1002 14651858 CD005506 pub5 ISSN 1469 493X PMC 6768985 PMID 21901699 Tytgat GN 2007 Hyoscine butylbromide a review of its use in the treatment of abdominal cramping and pain Drugs 67 9 1343 57 doi 10 2165 00003495 200767090 00007 PMID 17547475 S2CID 46971321 aehlngkhxmulxunDiarrhoea and Vomiting Caused by Gastroenteritis Diagnosis Assessment and Management in Children Younger than 5 Years NICE Clinical Guidelines No 84 Gastroenteritis MedlinePlus U S National Library of Medicine sthaniyxy aephthysastr karcaaenkorkhDICD 10 A02 0 A08 A09 J10 8 J11 8 K52ICD 008 8 009 0 009 1 558MeSH D005759 30726thrphyakrphaynxk 000252 emerg 213 bthkhwamaephthysastrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhk