ฎีกา คือวรรณกรรมภาษาบาลี ที่แต่งเพื่ออธิบายความในคัมภีร์อรรถกถาของอรรถกถาจารย์ที่ได้ไขความในพระไตรปิฎกไว้ คัมภีร์ชั้นฎีกาจัดเป็นคัมภีร์ที่มีความสำคัญรองลงมาจากคัมภีร์อรรถกถาที่ขยายความในพระไตรปิฎก เรียกว่า คัมภีร์ชั้นสาม คัมภีร์ฎีกามีความแตกต่างกับคัมภีร์อรรถกถา (คัมภีร์ชั้นสอง) ที่วัตถุประสงค์ในการแต่งฎีกานั้นทำเพื่ออธิบายเนื้อความในคัมภีร์รุ่นอรรถกถา หรือฎีกาด้วยกันเอง
คัมภีร์ฎีกามีผู้แต่งจำนวนมากและมีหลายคัมภีร์ ส่วนใหญ่ชื่อคัมภีร์ชั้นฎีกาจะมีคำว่า ฎีกา และตามด้วยชื่อคัมภีร์อรรถกถาที่อธิบายความ ซึ่งส่วนใหญ่จะมีคำ ทีปนี โชติกา ปกาสินี หรือ คัณฐิ ลงท้าย1 ซึ่งคำลงท้ายเหล่านั้นรวมแปลว่า ให้ความกระจ่าง (อธิบายความในอรรถกถาให้กระจ่าง) คัมภีร์ชั้นฎีกาจัดเป็นแหล่งความรู้ทางพระพุทธศาสนาที่มีความสำคัญรองลงมาจากคัมภีร์ชั้นอรรถกถา
ประวัติ
ฎีกาบางคัมภีร์อาจมีสืบกันมาแต่ครั้งโบราณ และถูกนำมาเรียบเรียงอีกครั้งในยุคราว พ.ศ. 1400 - 1800 ซึ่งเป็นยุคที่มีฎีกาเกิดขึ้นมาก ซึ่งหลายคัมภีร์ที่เกิดขึ้นในยุคนี้ยังคงได้รับการยอมรับมาจนถึงปัจจุบัน. พระพรหมคุณาภรณ์ (ประยุทธ์ ปยุตโต) จะได้แสดงความเห็นไว้ว่า คัมภีร์หลังมานั้นควรจะจัดอยู่ในประเภท อย่างไรก็ตามในปัจจุบันที่ประเทศสหภาพพม่ายังพบว่ามีอาจารย์บางท่านจัดคัมภีร์ของตนไว้ในชั้นนี้อยู่ และในยุคหนึ่งประเทศพม่าเคยมีการเขียนฎีกาออกมามากจนมีคำว่า "ฝนฎีกา" เกิดขึ้น และบางคัมภีร์ก็แต่งขึ้นเพื่อค้านมติของพระฎีกาจารย์ ในยุคฎีกา จนมีกระแสต่อต้านเกิดขึ้นมากมาย เช่น คัมภีร์ ของพระภิกษุชาวเมียนม่า นามว่า ซึ่งแต่งค้านคัมภีร์ของ เมื่อยุค พ.ศ. 1700 ที่หลักสูตรเปรียญธรรมประโยค 9 ใช้เรียนกันในปัจจุบัน เป็นต้น
คุณสมบัติของผู้แต่ง
ผู้แต่งคัมภีร์ฎีกา เราเรียกว่า พระ ซึ่งต้องเป็นผู้ที่ทรงความรู้ความสามารถมากไม่น้อยไปกว่าพระอรรถกถาจารย์ เพราะนอกจากจะต้องสามารถทรงจำ และเข้าใจพระไตรปิฎกอย่างแตกฉานเพื่อนำมาเขียนอธิบายได้แล้ว ยังจะต้องแตกฉานในคัมภีร์อรรถกถาและต่าง ๆ อีกด้วย นอกจากนี้ยังจะต้องมีความชำนาญในไวยากรณ์ทั้งบาลีและสันสกฤต ในคัมภีร์ต่าง ๆ, รอบรู้ศัพท์และต่าง ๆ เป็นอย่างดี, ฉลาดในการแต่งคัมภีร์ให้สละสลวย ไพเราะ มีลำดับกฎเกณฑ์ ตามหลัก, ต้องมีความสามารถในการแต่งคัมภีร์ตรงตามซึ่งมีอยู่นับร้อยแบบ, และเข้าใจกรรมฐานจนถึงพระอรหันต์แตกฉานเชี่ยวชาญในข้อเป็นอย่างดี
ฎีกาจารย์บางท่านอาจมีฐานะเป็นอรรถกถาจารย์ด้วย เนื่องจากรจนาทั้งอรรถกถาและฎีกา ซึ่งเท่าที่พบในประวัติศาสนาพุทธมี 2 ท่าน คือ พระ วัด และพระเถระ ผู้อยู่ในแคว้น ทางตอนใต้ของชมพูทวีป
ฎีกาจารย์และคัมภีร์ฎีกาที่มีใช้แพร่หลายในประเทศไทย
ฎีกาจารย์และคัมภีร์ฎีกาที่รู้จักกันเป็นอย่างดีในหมู่ของประเทศไทย ได้แก่ พระ ผู้รจนา อธิบายคัมภีร์ และ อธิบายคัมภีร์ นอกจากนี้พระฎีกาจารย์ที่เป็นที่รู้จักในหมู่นักเปรียญธรรมก็มีอยู่หลายท่านด้วยกัน เช่น พระ ผู้รจนา อธิบายมงคล 38, พระ ผู้รจนา , พระสารีบุตรเถระ2 ผู้รจนา อธิบาย และ อธิบาย, พระเถระ ผู้รจนา อธิบาย และ, พระเถระ ผู้รจนา เป็นต้น
เชิงอรรถ
พระวินัยปิฎก | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
| |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
พระสุตตันตปิฎก | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
| |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
พระอภิธรรมปิฎก | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
| | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
หมายเหตุ 1: คำลงท้ายดังกล่าวบางคำนำมาจากคัมภีร์อรรถกถา ซึ่งคัมภีร์ชั้นฎีกาใดที่ไม่ได้แต่งชื่อคัมภีร์ขึ้นใหม่ ก็จะใช้คำว่า ฎีกา นำหน้าตามด้วยชื่อคัมภีร์ชั้นอรรถกถาที่นำมาขยายความ เช่น เป็นต้น หมายเหตุ 1: พระสารีบุตรรูปนี้ มีชีวิตอยู่ราว พ.ศ. 1700 ไม่ใช่พระสารีบุตรผู้เป็นอัครมหาสาวกในครั้งพุทธกาล
ดูเพิ่ม
- พระไตรปิฎก คัมภีร์ชั้นต้น (คัมภีร์ชั้น 1)
- อรรถกถา คัมภีร์ชั้นสอง (อธิบายความในพระไตรปิฎก)
อ้างอิง
- เทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี, สมเด็จพระ. ทศบารมีในพุทธศาสนาเถรวาท. วิทยานิพนธ์ปริญาอักษรศาสตร์มหาบัณฑิต ภาควิชาภาษาตะวันออก บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,2524. 184 หน้า. (อัดสำเนา)
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
dika khuxwrrnkrrmphasabali thiaetngephuxxthibaykhwaminkhmphirxrrthkthakhxngxrrthkthacarythiidikhkhwaminphraitrpidkiw khmphirchndikacdepnkhmphirthimikhwamsakhyrxnglngmacakkhmphirxrrthkthathikhyaykhwaminphraitrpidk eriykwa khmphirchnsam khmphirdikamikhwamaetktangkbkhmphirxrrthktha khmphirchnsxng thiwtthuprasngkhinkaraetngdikannthaephuxxthibayenuxkhwaminkhmphirrunxrrthktha hruxdikadwyknexng khmphirdikamiphuaetngcanwnmakaelamihlaykhmphir swnihychuxkhmphirchndikacamikhawa dika aelatamdwychuxkhmphirxrrthkthathixthibaykhwam sungswnihycamikha thipni ochtika pkasini hrux khnthi lngthay1 sungkhalngthayehlannrwmaeplwa ihkhwamkracang xthibaykhwaminxrrthkthaihkracang khmphirchndikacdepnaehlngkhwamruthangphraphuththsasnathimikhwamsakhyrxnglngmacakkhmphirchnxrrthkthaprawtidikabangkhmphirxacmisubknmaaetkhrngobran aelathuknamaeriyberiyngxikkhrnginyukhraw ph s 1400 1800 sungepnyukhthimidikaekidkhunmak sunghlaykhmphirthiekidkhuninyukhniyngkhngidrbkaryxmrbmacnthungpccubn phraphrhmkhunaphrn prayuthth pyutot caidaesdngkhwamehniwwa khmphirhlngmannkhwrcacdxyuinpraephth xyangirktaminpccubnthipraethsshphaphphmayngphbwamixacarybangthancdkhmphirkhxngtniwinchnnixyu aelainyukhhnungpraethsphmaekhymikarekhiyndikaxxkmamakcnmikhawa fndika ekidkhun aelabangkhmphirkaetngkhunephuxkhanmtikhxngphradikacary inyukhdika cnmikraaestxtanekidkhunmakmay echn khmphir khxngphraphiksuchawemiynma namwa sungaetngkhankhmphirkhxng emuxyukh ph s 1700 thihlksutrepriyythrrmpraoykh 9 icheriynkninpccubn epntnkhunsmbtikhxngphuaetngphuaetngkhmphirdika eraeriykwa phra sungtxngepnphuthithrngkhwamrukhwamsamarthmakimnxyipkwaphraxrrthkthacary ephraanxkcakcatxngsamarththrngca aelaekhaicphraitrpidkxyangaetkchanephuxnamaekhiynxthibayidaelw yngcatxngaetkchaninkhmphirxrrthkthaaelatang xikdwy nxkcakniyngcatxngmikhwamchanayiniwyakrnthngbaliaelasnskvt inkhmphirtang rxbrusphthaelatang epnxyangdi chladinkaraetngkhmphirihslaslwy ipheraa miladbkdeknth tamhlk txngmikhwamsamarthinkaraetngkhmphirtrngtamsungmixyunbrxyaebb aelaekhaickrrmthancnthungphraxrhntaetkchanechiywchayinkhxepnxyangdi dikacarybangthanxacmithanaepnxrrthkthacarydwy enuxngcakrcnathngxrrthkthaaeladika sungethathiphbinprawtisasnaphuththmi 2 than khux phra wd aelaphraethra phuxyuinaekhwn thangtxnitkhxngchmphuthwipdikacaryaelakhmphirdikathimiichaephrhlayinpraethsithydikacaryaelakhmphirdikathiruckknepnxyangdiinhmukhxngpraethsithy idaek phra phurcna xthibaykhmphir aela xthibaykhmphir nxkcakniphradikacarythiepnthiruckinhmunkepriyythrrmkmixyuhlaythandwykn echn phra phurcna xthibaymngkhl 38 phra phurcna phrasaributrethra2 phurcna xthibay aela xthibay phraethra phurcna xthibay aela phraethra phurcna epntnechingxrrthkhmphirhlkinphraphuththsasna phraitrpidk 45 elm phrawinypidk sut khmphir khnthkapri phrasuttntpidk thim phraxphithrrmpidk pu kthaptthanpkrn hmayehtu 1 khalngthaydngklawbangkhanamacakkhmphirxrrthktha sungkhmphirchndikaidthiimidaetngchuxkhmphirkhunihm kcaichkhawa dika nahnatamdwychuxkhmphirchnxrrthkthathinamakhyaykhwam echn epntn hmayehtu 1 phrasaributrrupni michiwitxyuraw ph s 1700 imichphrasaributrphuepnxkhrmhasawkinkhrngphuththkalduephimphraitrpidk khmphirchntn khmphirchn 1 xrrthktha khmphirchnsxng xthibaykhwaminphraitrpidk xangxingethphrtnrachsuda syambrmrachkumari smedcphra thsbarmiinphuththsasnaethrwath withyaniphnthpriyaxksrsastrmhabnthit phakhwichaphasatawnxxk bnthitwithyaly culalngkrnmhawithyaly 2524 184 hna xdsaena bthkhwamsasnaphuththniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldk