ตำนานพระเจ้าเลียบโลก เป็นวรรณกรรมทางศาสนาพุทธ ที่แพร่หลายในภาคเหนือของไทย รัฐฉานของพม่า และสิบสองปันนา มีเนื้อหาเกี่ยวกับการเสด็จมาเยือนดินแดนล้านนาทางภาคเหนือของไทย สิบสองปันนา รัฐฉาน และล้านช้าง ตลอดถึงบางพื้นที่แถบภาคอีสาน เพื่อโปรดคนพื้นเมือง และทรงประทานสิ่งของสำหรับคนพื้นไว้สักการะบูชา เช่น พระเกศา หรือทรงประทับรอยพระบาท รอยพระหัตถ์ไว้ รวมถึงสิ่งของเครื่องใช้ของพระองค์ เช่น ไม้สีฟัน สถานที่ทรงตากจีวร ณ สถานที่ต่างๆ และต่อมาสถานที่เหล่ายนั้น มีการสร้างพระบรมธาตุ พระธาตุเจดีย์ หรือวัดที่ประดิษฐานรอยพระพุทธบาทเอาไว้ ตำนานพระเจ้าเลียบโลกจึงเป็นเสมือนตำนานเกี่ยวกับเจดียสถานสำคัญต่าง ๆ ในพื้นที่ภาคเหนือและพื้นที่โดยรอบ
ที่มา
หนังสือพุทธตำนานพระเจ้าเลียบโลก คัดลอกมาจากศิลจารึกในมหาเศลอาราม ประเทศศรีลังกา โดยพระเถระชาวมองที่มีนามว่า พระมหาสามีธรรมรส เมื่อ พ.ศ 2050 จากนั้นท่านก็เดินทางไปนมัสการรอยพระพุทธบาท องค์พระธาตุเจดีย์ตามสถานที่ต่าง ๆ ตามที่ปรากฎเนื้อหาในศิลาจารึกนั้น ต่อในในปีก่าเม็ด (มะแม) จุลศักราช 885 หรือ พ.ศ. 2066 มาพระมหาโพธิสมภาร แห่งอาวาสท่าหัวเคียน ใกล้ดอยเกิ้ง ได้ขอคัดลอกต่อไว้เป็นภาษาล้านนามีความยาวถึง 12 ผูก หรือ 12 กัณฑ์ ส่วนในสิบสองปันนาสำรวจพบว่ามีมากถึง 22 ผูก
ในตอนท้ายของหนังสือพุทธตำนานพระเจ้าเลียบโลก ยังระบุนามและสถานที่อยู่ของบุคคลที่คัดลอกตำนานนี้ต่อ ๆ มา เช่นกล่าวว่า มีมหาเถรองค์หนึ่งชื่อว่า อรัญญิกวัตร ได้คัดลอกเอาจากสำนักพระมหาเถรโพธิสมภารในปีเบิกไส้ (มะเส็ง) จุลศักราชได้ 890 เดือน 7 แรม 8 ค่ำ วันเสาร์ไทยว่าวันกัดไส้ ต่อจากนั้นมาพระมหาสามีเชตวันคัดลอกอีก ต่อจากนั้นนั้นมา องค์พระอนุรุทธอยู่วัดมหาธาตุในเมืองหริภุญชัยนคร ได้คัดลอกเอาจากพระมหาสามีวัดป่าเชตวันในปีล้วงเหม้า (เถาะ) จุลศักราช 893 เดือน 4 ขึ้น 5 ค่ำ วันศุกร์ไทย ว่า วันยี เป็นต้น แล้วพรรณนาผู้คัดลอกเรื่อยมา จนสุดที่ต้นฉบับล่าสุด
เนื้อหา
ในเอกสารใบลานเรื่อง ตำนานพระเจ้าเลียบโลก ฉบับวัดกู่คำมีจำนวน 12 ผูก จำนวนหน้าลาน 470 หน้า ผูกที่ 1 ถึงผูกที่ 11 เป็นเนื้อหาของเรื่องพุทธตำนานหรือตำนานพระธาตุพระบาทโดยสมบูรณ์ ส่วนเนื้อหาผูกที่ 12 เป็นเรื่องย่อใจความในผูกที่ 1 ถึงผูกที่ 11
ผูกที่ 1 เสด็จเมืองลี้ ถึงท่าหัวเคียน เสด็จถึงอุจฉุบรรพต (ดอยสุเทพ) เสด็จไปยังเมืองลื้อ อาณาจักรสิบสองปันนา เสด็จต่อไปยังอุตรปัญจนคร (แสนหวี) เสด็จยังเมืองวิเทหะ (หนองแส) เป็นต้น
ผูกที่ 2 กล่าวถึงพระธาตุเมืองระแหง ในเขตอาณาจักรทวารวดี กล่าวถึงการประดิษฐานพระเกศาบนดอยสิงกุตรในเขตเมืองหงสาวดี
ผูกที่ 3 เสด็จเข้าสู่เขตสุวรรณภูมิ สมัยอาณาจักรทวารวดีถึงเมืองเชียงของ จากนั้นเสด็จเมืองเชียงตุง และเสด็จต่อไปยังดอยมหิยงค์ (เมืองยอง) เป็นต้น
ผูกที่ 4 เสด็จเมืองฮ่อ เขตยูนาน และย้อนกลับมาเมืองลื้อ เขตสิบสองปันนา เมืองอาฬวี (เมืองลา) เสด็จเมืองเชียงใต้ เชียงเหนือ เป็นต้น
ผูกที่ 5 เสด็จออกจากดอยผาแรม เมืองซางหลวง เมืองลา เมืองบาน บ้านลวงพันแข้ง บ่อแร่ (บ้านบ่อหลวง) บ่อเป็นล้างแต่ง เมืองลาใต้ ลาเหนือ เป็นต้น
ผูกที่ 6 เสด็จเมืองลวงใต้ ลวงเหนือ เมืองเสี้ยว (เชียงคา) เมืองงาด เมืองคราง เป็นต้น
ผูกที่ 7 เสด็จปราบอาฬวกยักษ์ เมืองอาฬวี และเสด็จเขตเขมรัฐ คือเมืองเชียงตุง เป็นต้น
ผูกที่ 8 เสด็จงแม่น้ำพยาก เมืองเพียะ เสด็จเข้าเมืองช้างแสน (เชียงแสน) เสด็จเมืองชีราย (เชียงราย) จากนั้นเสด็จเมืองพระยาว (พะเยา) จากนั้นเสด็จเมืองลัมพาง (ลำปาง) จากนั้นเสด็จเมืองแพร่ และท่าลอย เสด็จต่อไปท่าทราย (เขตอำเภอฮอด จังหวัดเชียงใหม่) จากนั้นเสด็จไปทางป่าทิศตะวันตกเฉียงเหนือของเมืองลี้ และ ดอยเกิ้ง (อำเภอฮอด จังหวัดเชียงใหม่)
ผูกที่ 9 เสด็จประทับดอยคำหลวง 1 คืน รุ่งเช้าเสด็จประทับรอยพระบาทบนหินใต้ต้นไม้ต้นหนึ่ง ทรงรำพึงในพระทัยว่าบริเวณที่นี้ต่อไปจะเป็นมหานคร คือเมืองเชียงใหม่ ภายหน้าพระพุทธศาสนาจักรุ่งเรืองจะเกิดมีมหาอาราม 8 แห่งได้แก่ บุปผาราม (วัดสวนดอก) เวฬุวันอาราม (วัดป่าหกหรือวัดป่าไผ่ได้แก่วัดกู่เต้า) วัดบุพพาราม อโศการาม (วัดป่าแดง) พีชอาราม (วัดหลวงศรีเกิด) สังฆาราม (วัดเชียงมั่น) นันทอาราม (วัดนันทา) และโชติอาราม (วัดเจดีย์หลวง) ในแต่ละแห่งพระองค์ได้ประทานเกศาธาตุเพื่อประดิษฐานแห่งละ 1 องค์ เป็นต้น
ผูกที่ 10 เนื้อเรื่องกล่าวถึงคำทำนายของพระพุทธองค์ต่อพระอินทร์ เกี่ยวกับความเจริญและความเสื่อมของพระพุทธศาสนาในช่วง 5,000 ปี
ผูกที่ 11 กล่าวถึงพุทธประวัติโดนย่อ และสถานที่ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุในดินแดนไทยและประเทศใกล้เคียง รวมถึงสรุปจำนวนรอยพระพุทธบาทในแต่ละเมือง
ผูกที่ 12 เป็นการกล่าวสรุปเรื่องราวในผูกที่ 1 - 11
อ้างอิง
- เชิงอรรถ
- เธียรชาย อักษรดิษฐ์. ตำนานพระเจ้าเลียบโลก: การศึกษาพื้นที่ทางสังคมและวัฒนธรรมล้านนา ภูมินาม ตำนาน ผู้คน
- สิงฆะ วรรณสัย. พุทธตำนาน พระเจ้าเลียบโลก
- สิงฆะ วรรณสัย. พุทธตำนาน พระเจ้าเลียบโลก
- สิงฆะ วรรณสัย. พุทธตำนาน พระเจ้าเลียบโลก
- บรรณานุกรม
- เธียรชาย อักษรดิษฐ์. ตำนานพระเจ้าเลียบโลก: การศึกษาพื้นที่ทางสังคมและวัฒนธรรมล้านนา ภูมินาม ตำนาน ผู้คน. เชียงใหม่ : ธารปัญญา, 2552.
- สิงฆะ วรรณสัย. พุทธตำนาน พระเจ้าเลียบโลก. โครงการหนังสือธรรมะ ธรรมทาน. เชียงใหม่ : คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2553.
ต้นฉบับ
- ตำนานพระเจ้าเลียบโลก ฉบับวัดแม่วะหลวง 2018-10-09 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- (ตำนานพระเจ้าเลียบโลก) ฉบับวัดพระธาตุช้างค้ำวรวิหาร[]
- พุทธตำนานพระเจ้าเลียบโลก ฉบับชำระสะสาง[]
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
tananphraecaeliybolk epnwrrnkrrmthangsasnaphuthth thiaephrhlayinphakhehnuxkhxngithy rthchankhxngphma aelasibsxngpnna mienuxhaekiywkbkaresdcmaeyuxndinaednlannathangphakhehnuxkhxngithy sibsxngpnna rthchan aelalanchang tlxdthungbangphunthiaethbphakhxisan ephuxoprdkhnphunemuxng aelathrngprathansingkhxngsahrbkhnphuniwskkarabucha echn phraeksa hruxthrngprathbrxyphrabath rxyphrahtthiw rwmthungsingkhxngekhruxngichkhxngphraxngkh echn imsifn sthanthithrngtakciwr n sthanthitang aelatxmasthanthiehlaynn mikarsrangphrabrmthatu phrathatuecdiy hruxwdthipradisthanrxyphraphuththbathexaiw tananphraecaeliybolkcungepnesmuxntananekiywkbecdiysthansakhytang inphunthiphakhehnuxaelaphunthiodyrxbthimahnngsuxphuththtananphraecaeliybolk khdlxkmacaksilcarukinmhaeslxaram praethssrilngka odyphraethrachawmxngthiminamwa phramhasamithrrmrs emux ph s 2050 caknnthankedinthangipnmskarrxyphraphuththbath xngkhphrathatuecdiytamsthanthitang tamthiprakdenuxhainsilacaruknn txininpikaemd maaem culskrach 885 hrux ph s 2066 maphramhaophthismphar aehngxawasthahwekhiyn ikldxyeking idkhxkhdlxktxiwepnphasalannamikhwamyawthung 12 phuk hrux 12 knth swninsibsxngpnnasarwcphbwamimakthung 22 phuk intxnthaykhxnghnngsuxphuththtananphraecaeliybolk yngrabunamaelasthanthixyukhxngbukhkhlthikhdlxktanannitx ma echnklawwa mimhaethrxngkhhnungchuxwa xryyikwtr idkhdlxkexacaksankphramhaethrophthismpharinpiebikis maesng culskrachid 890 eduxn 7 aerm 8 kha wnesarithywawnkdis txcaknnmaphramhasamiechtwnkhdlxkxik txcaknnnnma xngkhphraxnuruththxyuwdmhathatuinemuxnghriphuychynkhr idkhdlxkexacakphramhasamiwdpaechtwninpilwngehma ethaa culskrach 893 eduxn 4 khun 5 kha wnsukrithy wa wnyi epntn aelwphrrnnaphukhdlxkeruxyma cnsudthitnchbblasudenuxhainexksariblaneruxng tananphraecaeliybolk chbbwdkukhamicanwn 12 phuk canwnhnalan 470 hna phukthi 1 thungphukthi 11 epnenuxhakhxngeruxngphuththtananhruxtananphrathatuphrabathodysmburn swnenuxhaphukthi 12 epneruxngyxickhwaminphukthi 1 thungphukthi 11 phukthi 1 esdcemuxngli thungthahwekhiyn esdcthungxucchubrrpht dxysuethph esdcipyngemuxnglux xanackrsibsxngpnna esdctxipyngxutrpycnkhr aesnhwi esdcyngemuxngwiethha hnxngaes epntn phukthi 2 klawthungphrathatuemuxngraaehng inekhtxanackrthwarwdi klawthungkarpradisthanphraeksabndxysingkutrinekhtemuxnghngsawdi phukthi 3 esdcekhasuekhtsuwrrnphumi smyxanackrthwarwdithungemuxngechiyngkhxng caknnesdcemuxngechiyngtung aelaesdctxipyngdxymhiyngkh emuxngyxng epntn phukthi 4 esdcemuxnghx ekhtyunan aelayxnklbmaemuxnglux ekhtsibsxngpnna emuxngxalwi emuxngla esdcemuxngechiyngit echiyngehnux epntn phukthi 5 esdcxxkcakdxyphaaerm emuxngsanghlwng emuxngla emuxngban banlwngphnaekhng bxaer banbxhlwng bxepnlangaetng emuxnglait laehnux epntn phukthi 6 esdcemuxnglwngit lwngehnux emuxngesiyw echiyngkha emuxngngad emuxngkhrang epntn phukthi 7 esdcprabxalwkyks emuxngxalwi aelaesdcekhtekhmrth khuxemuxngechiyngtung epntn phukthi 8 esdcngaemnaphyak emuxngephiya esdcekhaemuxngchangaesn echiyngaesn esdcemuxngchiray echiyngray caknnesdcemuxngphrayaw phaeya caknnesdcemuxnglmphang lapang caknnesdcemuxngaephr aelathalxy esdctxipthathray ekhtxaephxhxd cnghwdechiyngihm caknnesdcipthangpathistawntkechiyngehnuxkhxngemuxngli aela dxyeking xaephxhxd cnghwdechiyngihm phukthi 9 esdcprathbdxykhahlwng 1 khun rungechaesdcprathbrxyphrabathbnhinittnimtnhnung thrngraphunginphrathywabriewnthinitxipcaepnmhankhr khuxemuxngechiyngihm phayhnaphraphuththsasnackrungeruxngcaekidmimhaxaram 8 aehngidaek buppharam wdswndxk ewluwnxaram wdpahkhruxwdpaiphidaekwdkueta wdbuphpharam xoskaram wdpaaedng phichxaram wdhlwngsriekid sngkharam wdechiyngmn nnthxaram wdnntha aelaochtixaram wdecdiyhlwng inaetlaaehngphraxngkhidprathaneksathatuephuxpradisthanaehngla 1 xngkh epntn phukthi 10 enuxeruxngklawthungkhathanaykhxngphraphuththxngkhtxphraxinthr ekiywkbkhwamecriyaelakhwamesuxmkhxngphraphuththsasnainchwng 5 000 pi phukthi 11 klawthungphuththprawtiodnyx aelasthanthipradisthanphrabrmsaririkthatuindinaednithyaelapraethsiklekhiyng rwmthungsrupcanwnrxyphraphuththbathinaetlaemuxng phukthi 12 epnkarklawsruperuxngrawinphukthi 1 11xangxingechingxrrthethiyrchay xksrdisth tananphraecaeliybolk karsuksaphunthithangsngkhmaelawthnthrrmlanna phuminam tanan phukhn singkha wrrnsy phuththtanan phraecaeliybolk singkha wrrnsy phuththtanan phraecaeliybolk singkha wrrnsy phuththtanan phraecaeliybolk brrnanukrmethiyrchay xksrdisth tananphraecaeliybolk karsuksaphunthithangsngkhmaelawthnthrrmlanna phuminam tanan phukhn echiyngihm tharpyya 2552 singkha wrrnsy phuththtanan phraecaeliybolk okhrngkarhnngsuxthrrma thrrmthan echiyngihm khnabriharthurkic mhawithyalyechiyngihm 2553 tnchbbtananphraecaeliybolk chbbwdaemwahlwng 2018 10 09 thi ewyaebkaemchchin tananphraecaeliybolk chbbwdphrathatuchangkhawrwihar lingkesiy phuththtananphraecaeliybolk chbbcharasasang lingkesiy