ตาบอดสี (อังกฤษ: color blindness) หรือ การพร่องการเห็นสี (อังกฤษ: color vision deficiency) เป็นภาวะที่ความสามารถในการมองเห็นสีลดลงหรือการเห็นสีที่แตกต่างไปจากปกติ ภาวะนี้อาจทำให้ความสามารถบางอย่างลดลง เช่น การเลือกผลไม้ที่แก่หรือสุก การเลือกเสื้อผ้า และการอ่านสัญญาณไฟจราจร นอกจากนี้ ตาบอดสีอาจทำให้กิจกรรมทางการศึกษาบางอย่างยากขึ้น เช่น การเรียนศิลปะ อย่างไรก็ตาม ปัญหาโดยทั่วไปบางอย่างมักเป็นเพียงเรื่องเล็กน้อยที่คนตาบอดสีส่วนใหญ่สามารถปรับตัวเข้ากับภาวะนี้ได้ ส่วนใหญ่จะแยกระหว่างสีเขียวและสีแดงไม่ได้
ตาบอดสี | |
---|---|
ภาพแสดงการมองเห็นปกติกับตาบอดสีประเภทต่าง ๆ | |
บัญชีจำแนกและลิงก์ไปภายนอก | |
ICD-10 | H53.5 |
ICD- | 368.5 |
2999 | |
001002 | |
MeSH | D003117 |
สาเหตุ
โดยทั่วไปมนุษย์จะมีเซลล์รับแสงอยู่ด้วยกัน 2 กลุ่ม กลุ่มแรกทำหน้าที่รับรู้ถึงความมืด หรือ สว่าง ไม่สามารถแยกแยะสีสันได้ แต่จะมีความไวในการกระตุ้นแม้ในที่ที่มีแสงเพียงเล็กน้อย เช่น เวลากลางคืน ส่วนเซลล์กลุ่มที่สองจะทำหน้าที่บอกสีต่าง ๆ ที่เรามองเห็น โดยจะแยกได้อีกเป็น 3 ชนิด ตามระดับคลื่นแสง หรือสี ที่กระตุ้น ได้แก่ เซลล์รับแสงสีแดง เซลล์รับแสงสีน้ำเงิน และเซลส์รับแสงสีเขียวสำหรับการรับแสงสีอื่น โดยให้สมองเราแปลภาพออกมาเป็นสีต่าง ๆ
โรคตาบอดสี เกิดขึ้นจากเซลล์ประสาทชนิดหนึ่ง ในม่านตาที่มีการตอบสนองความไวต่อสีต่าง ๆ ทำงานผิดปกติ จนเกิดเป็นความบกพร่องหรือความพิการ ส่งผลให้ดวงตาไม่สามารถที่จะมองเห็นสีบางสีได้ แต่ทั้งนี้ ตาบอดสีไม่ได้มีเพียงแต่ข้อเสียเท่านั้น แต่ผู้ที่ตาบอดสีจะมีความสามารถในการแยกสีเฉดเดียวกันที่มีความแตกต่างกันเพียงเล็กน้อยได้ดีกว่าคนปกติ ตัวอย่างเช่น คนตาบอดสีเขียวจะแยกสีที่คล้ายกัน เช่น เขียวอ่อน เขียวอมเหลือง ได้ละเอียด และในประเทศอิสราเอลมีการรับ คนที่ตาบอดสีเข้าประจำในกองทัพบก เพราะคนเหล่านี้จะมองเห็นรถถังที่ทาสี พรางตัวอยู่ในภูมิประเทศ ได้ดีกว่าคนที่มีดวงตาเป็นปกติ
อาการ
อาการที่แสดงถึงความผิดปกตินั้นมักเกิดขึ้นจากจอประสาทตาเส้นประสาทตา หรือส่วนรับรู้ในสมองถูกทำลาย สาเหตุต่าง ๆ เช่น การอักเสบ ภาวะขาดเลือด อุบัติเหตุเนื้อ งอก การเสื่อมลงของจอประสาทตา และผลข้างเคียงจากใช้ยาหรือสารเคมีอื่น ๆ โดยผู้ป่วยจะมีอาการเรียกชื่อสีหรือเห็นสีผิดไปจากเดิม เช่น ความผิดปกติของตาทั้ง 2 ข้างไม่เท่ากัน อาจเป็นตาเดียวหรือทั้ง 2 ตา มีการเปลี่ยนแปลงมากขึ้นหรือลดลงได้ ขึ้นอยู่กับสาเหตุและความรุนแรงของโรคที่เป็นอยู่นั้น
การรักษาและการป้องกัน
ผู้ที่เป็นโรคนี้มาตั้งแต่กำเนิด ยังไม่พบวิธีรักษาที่ได้ผล ทั้งนี้ ควรปรึกษาแพทย์เพื่อรับคำแนะนำถึงโอกาสการถ่ายทอดทางพันธุกรรมและโอกาสหลีกเลี่ยงเพื่อไม่ให้เกิดภาวะตาบอดสีในหมู่ญาติ ส่วนผู้ที่มีภาวะตาบอดสีภายหลัง ควรรับการตรวจวินิจฉัยถึงสาเหตุ เพื่อการวางแผนรักษาที่เหมาะสมต่อไป ส่วนประเภทที่เกิดจากโรคต่าง ๆ ที่มีผลต่อจอประสาทและเส้นประสาทตา อาจป้องกันไม่ให้เกิดความผิดปกติแบบถาวร ควรได้รับคำแนะนำจากแพทย์ที่ถูกต้อง
อ้างอิง
- โรคตาบอดสี 2012-08-23 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- ตาบอดสี[]
- สมาคมเพื่อผู้พร่องการเห็นสี (ตาบอดสี) 2022-03-02 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
tabxdsi xngkvs color blindness hrux karphrxngkarehnsi xngkvs color vision deficiency epnphawathikhwamsamarthinkarmxngehnsildlnghruxkarehnsithiaetktangipcakpkti phawanixacthaihkhwamsamarthbangxyangldlng echn kareluxkphlimthiaekhruxsuk kareluxkesuxpha aelakarxansyyanifcracr nxkcakni tabxdsixacthaihkickrrmthangkarsuksabangxyangyakkhun echn kareriynsilpa xyangirktam pyhaodythwipbangxyangmkepnephiyngeruxngelknxythikhntabxdsiswnihysamarthprbtwekhakbphawaniid swnihycaaeykrahwangsiekhiywaelasiaedngimidtabxdsiphaphaesdngkarmxngehnpktikbtabxdsipraephthtang bychicaaenkaelalingkipphaynxkICD 10H53 5ICD 368 52999001002MeSHD003117saehtuodythwipmnusycamiesllrbaesngxyudwykn 2 klum klumaerkthahnathirbruthungkhwammud hrux swang imsamarthaeykaeyasisnid aetcamikhwamiwinkarkratunaeminthithimiaesngephiyngelknxy echn ewlaklangkhun swnesllklumthisxngcathahnathibxksitang thieramxngehn odycaaeykidxikepn 3 chnid tamradbkhlunaesng hruxsi thikratun idaek esllrbaesngsiaedng esllrbaesngsinaengin aelaeslsrbaesngsiekhiywsahrbkarrbaesngsixun odyihsmxngeraaeplphaphxxkmaepnsitang orkhtabxdsi ekidkhuncakesllprasathchnidhnung inmantathimikartxbsnxngkhwamiwtxsitang thanganphidpkti cnekidepnkhwambkphrxnghruxkhwamphikar sngphlihdwngtaimsamarththicamxngehnsibangsiid aetthngni tabxdsiimidmiephiyngaetkhxesiyethann aetphuthitabxdsicamikhwamsamarthinkaraeyksiechdediywknthimikhwamaetktangknephiyngelknxyiddikwakhnpkti twxyangechn khntabxdsiekhiywcaaeyksithikhlaykn echn ekhiywxxn ekhiywxmehluxng idlaexiyd aelainpraethsxisraexlmikarrb khnthitabxdsiekhapracainkxngthphbk ephraakhnehlanicamxngehnrththngthithasi phrangtwxyuinphumipraeths iddikwakhnthimidwngtaepnpktixakarxakarthiaesdngthungkhwamphidpktinnmkekidkhuncakcxprasathtaesnprasathta hruxswnrbruinsmxngthukthalay saehtutang echn karxkesb phawakhadeluxd xubtiehtuenux ngxk karesuxmlngkhxngcxprasathta aelaphlkhangekhiyngcakichyahruxsarekhmixun odyphupwycamixakareriykchuxsihruxehnsiphidipcakedim echn khwamphidpktikhxngtathng 2 khangimethakn xacepntaediywhruxthng 2 ta mikarepliynaeplngmakkhunhruxldlngid khunxyukbsaehtuaelakhwamrunaerngkhxngorkhthiepnxyunnkarrksaaelakarpxngknphuthiepnorkhnimatngaetkaenid yngimphbwithirksathiidphl thngni khwrpruksaaephthyephuxrbkhaaenanathungoxkaskarthaythxdthangphnthukrrmaelaoxkashlikeliyngephuximihekidphawatabxdsiinhmuyati swnphuthimiphawatabxdsiphayhlng khwrrbkartrwcwinicchythungsaehtu ephuxkarwangaephnrksathiehmaasmtxip swnpraephththiekidcakorkhtang thimiphltxcxprasathaelaesnprasathta xacpxngknimihekidkhwamphidpktiaebbthawr khwridrbkhaaenanacakaephthythithuktxngxangxingorkhtabxdsi 2012 08 23 thi ewyaebkaemchchin tabxdsi lingkesiy smakhmephuxphuphrxngkarehnsi tabxdsi 2022 03 02 thi ewyaebkaemchchin