ในทางดาราศาสตร์ ดุมดาราจักร (อังกฤษ: Galactic bulge) คือส่วนที่มีดาวฤกษ์เกาะกลุ่มกันอยู่อย่างหนาแน่นที่สุดในดาราจักร มักใช้ในความหมายถึงกลุ่มดาวฤกษ์ใจกลางดาราจักรที่พบในดาราจักรชนิดก้นหอยโดยส่วนใหญ่ แต่เดิมเคยเชื่อกันว่าดุมดาราจักรนี้เป็นดาราจักรชนิดรีที่มีจานดาวฤกษ์อยู่รอบๆ แต่จากภาพถ่ายความละเอียดสูงโดยกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลได้เผยให้ทราบว่า ดุมดาราจักรจำนวนมากมีคุณลักษณะที่คล้ายคลึงกับดาราจักรชนิดก้นหอยมากกว่า ในปัจจุบันนี้เชื่อกันว่า มีดุมดาราจักรอยู่อย่างน้อย 2 ชนิด คือชนิดที่มีลักษณะเหมือนดาราจักรชนิดรี กับชนิดที่มีลักษณะเหมือนดาราจักรชนิดก้นหอย
ดุมดาราจักรแบบดั้งเดิม (classical bulge) จะมีลักษณะคล้ายดาราจักรชนิดรี มักประกอบด้วยดาวฤกษ์ชนิดดารากร 2 ซึ่งเก่าแก่กว่า และมีสีค่อนไปทางแดง การเคลื่อนที่ของดาวฤกษ์ในดุมชนิดนี้มักเป็นไปแบบไม่เป็นระเบียบ ส่วนดุมดาราจักรที่มีลักษณะคล้ายดาราจักรชนิดก้นหอยจะมีอยู่เป็นจำนวนมากกว่า และจะเรียกว่า pseudobulges หรือ disky-bulges ดาวฤกษ์จะเคลื่อนที่แบบเป็นระเบียบไปตามทิศทางของระนาบดาราจักรหรือแผ่นจานดาราจักรด้านนอก
ดูเพิ่ม
อ้างอิง
- Sandage, Allan "The Hubble Atlas of Galaxies" Washington: Carnegie Institution, 1961
- The formation of galactic bulges เรียบเรียงโดย C.M. Carollo, H.C. Ferguson, R.F.G. Wyse. เคมบริดจ์, U.K. ; New York : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์, 1999. (Cambridge contemporary astrophysics)
- Kormendy, J. & Kennicutt, R.C. Annual Review of Astronomy and Astrophysics, vol. 42, Issue 1, pp.603-683
- Athanassoula, E. (2005) MNRAS 358 p1477
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
inthangdarasastr dumdarackr xngkvs Galactic bulge khuxswnthimidawvksekaaklumknxyuxyanghnaaennthisudindarackr mkichinkhwamhmaythungklumdawvksicklangdarackrthiphbindarackrchnidknhxyodyswnihy aetedimekhyechuxknwadumdarackrniepndarackrchnidrithimicandawvksxyurxb aetcakphaphthaykhwamlaexiydsungodyklxngothrthrrsnxwkashbebilidephyihthrabwa dumdarackrcanwnmakmikhunlksnathikhlaykhlungkbdarackrchnidknhxymakkwa inpccubnniechuxknwa midumdarackrxyuxyangnxy 2 chnid khuxchnidthimilksnaehmuxndarackrchnidri kbchnidthimilksnaehmuxndarackrchnidknhxyphaph darackrthimidumaebbdngedim classical bulge sngektwaokhrngsrangaebbknhxysinsudlngthikhxbkhxngdumphaph darackrthimidumaebbimichdumdngedim non classical bulge okhrngsrangknhxycahmunwnlngipcnthungbriewnicklangkhxngdarackr dumdarackraebbdngedim classical bulge camilksnakhlaydarackrchnidri mkprakxbdwydawvkschniddarakr 2 sungekaaekkwa aelamisikhxnipthangaedng karekhluxnthikhxngdawvksindumchnidnimkepnipaebbimepnraebiyb swndumdarackrthimilksnakhlaydarackrchnidknhxycamixyuepncanwnmakkwa aelacaeriykwa pseudobulges hrux disky bulges dawvkscaekhluxnthiaebbepnraebiybiptamthisthangkhxngranabdarackrhruxaephncandarackrdannxkduephimkaenidaelawiwthnakarkhxngdarackr rabbphikddarackr candarackr klddarackrxangxingSandage Allan The Hubble Atlas of Galaxies Washington Carnegie Institution 1961 The formation of galactic bulges eriyberiyngody C M Carollo H C Ferguson R F G Wyse ekhmbridc U K New York sankphimphmhawithyalyekhmbridc 1999 Cambridge contemporary astrophysics Kormendy J amp Kennicutt R C Annual Review of Astronomy and Astrophysics vol 42 Issue 1 pp 603 683 Athanassoula E 2005 MNRAS 358 p1477 bthkhwamdarasastrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhk