ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง พื้นที่ของราชอาณาจักรยูโกสลาเวียที่ก่อนหน้านี้อยู่ในการยึดครองในฐานะเขตผู้ว่าราชการมอนเตเนโกรของอิตาลี ได้ถูกกองทัพเนอรมันเช้ายึดครองภายหลังการสงบศึกกัสซีบีเลในเดือนกันยายน ค.ศ. 1943 ซึ่งราชอาณาจักรอิตาลียอมจำนนและเข้าร่วมฝ่ายสัมพันธมิตร เมื่อกองทัพอิตาลีถอนกำลังพลออกจากมอนเตเนโกรและแอลเบเนีย กองทัพเยอรมันจึงเข้ายึดครองมอนเตเนโกรโดยทันที เช่นเดียวกับ ดินแดนเหล่านี้ยังคงอยู่ภายใต้การยึดครองของเยอรมนีต่อไปจนกระทั่งเยอรมนีและจำนวนมากถอนตัวในเดือนธันวาคม ค.ศ. 1944
ดินแดนมอนเตเนโกรที่ถูกเยอรมนียึดครอง | |
---|---|
ส่วนหนึ่งของยูโกสลาเวียโดยเยอรมนี | |
การยึดครองและการแบ่งยูโกสลาเวียภายหลังการยอมจำนนของอิตาลีในเดือนกันยายน ค.ศ. 1943 การยึดครองอดีตเขตผู้ว่าราชการมอนเตเนโกรของอิตาลีจะแสดงเป็นสีเทาบริเวณชายฝั่งตอนใต้ | |
ประเทศ | ยูโกสลาเวีย |
เยอรมนียึดครอง | 12 กันยายน ค.ศ. 1943 |
เยอรมนีถอนทัพ | 15 ธันวาคม ค.ศ. 1944 |
หลังจากการยอมจำนนของอิตาลีได้ไม่นานนัก กองทัพเยอรมันจึงเข้ายึดครองพื้นที่ส่วนใหญ่ของอดีตเขตผู้ว่าราชการโดยทันที ยกเว้นบางพื้นที่ที่อยู่ในการควบคุมของพลพรรคยูโกสลาเวีย ดินแดนที่ถูกยึดครองนี้อยู่ในการบริหารภายใต้การบัญชาการภาคพื้นที่ (Feldkommandtur) หมายเลข 1040 ซึ่งมีผู้บัญชาการคือ พลตรี กระทั่งฤดูใบไม้ผลิใน ค.ศ. 1944 การบัญชาการภาคพื้นที่ของไคเพอร์ได้รับการโอนใหักับกองบัญชาการระดับสูงขึ้น โดยในครั้งแรกอยู่ในการดูแลของนายพลเยอรมันที่ประจำการในแอลเบเนีย ต่อมาจึงเป็น และจากนั้นเป็น หลังจากนั้นก็ได้รับการยกระดับขึ้นเป็นการบัญชาการโดยอิสระ และไคเพอร์อยู่ในการดูแลโดยตรงของอเล็คซันเดอร์ เลอร์ ผู้บัญชาการทหารประจำยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ ไคเพอร์ดำเนินการบริหารพื้นที่โดยใช้แนวทางที่คล้ายคลึงกันกับอิตาลีที่เป็นเจ้าของก่อนหน้านี้ และพยายามสร้างความช่วยเหลือจากกลุ่มแบ่งแยกดินแดนชาวมอนเตเนโกร หรือที่รู้จักกันในชื่อ ซึ่งเป็นเชทนิกส์ที่เป็นพันธมิตรกับ ผู้นำรัฐบาลหุ่นเชิดในเขตผู้บัญชาการทหารแห่งเซอร์เบีย แต่ไม่ใช่กับผู้นําสูงสุดของเชทนิกส์อย่างดราฌา มิฮาอิลอวิช หรือแม้กระทั่ง ไคเพอร์ได้จัดตั้งสภาการบริหารแห่งชาติขึ้นในเดือนตุลาคม เพื่อช่วยในเรื่องการบริหารดินแดน โดยมี เป็นประธาน สภาประสบความล้มเหลวในความพยายามต่อรองอำนาจกับไคเพอร์ และถูกประณามอย่างรุนแรงว่าเป็นเพียงเครื่องมือในระบอบการยึดครองของเขาเท่านั้น บทบาทหลักของสภาคือการรักษาความปลอดภัยของการนําเข้าเสบียงอาหารด้วยความช่วยเหลือจากเยอรมนี เนดิชแสดงท่าทีเต็มใจที่จะส่งเสบียงอาหาร 900 ตัน (890 ลองตัน; 990 ช็อตตัน) ให้เป็นประจำทุกเดือน แต่สภาต้องการก็ยังจำเป็นต้องรับความช่วยเหลือจากเยอรมนีในการขนส่ง แต่ท้ายที่สุดแล้ว มีเพียงเสบียงอาหาร 250–300 ตัน (250–300 ลองตัน; 280–330 ช็อตตัน) เท่านั้น ที่ได้รับการนำเข้าต่อเดือน ซึ่งคิดเป็นแค่ 20% ของจํานวนเงินที่อิตาลีนําเข้าระหว่างการยึดครอง โดยผลลัพธ์ที่ได้คือประชากรในพื้นที่ส่วนใหญ่ของดินแดนที่ถูกยึดครองแทบจะอดอยากในช่วงระยะเวลาของการบริหารของเยอรมนี
เยอรมนีได้ขอความช่วยเหลือจากกองทหารรักษาการณ์ท้องถิ่น กลุ่มติดอาวุธ และเชทนิกส์บางส่วน สำหรับความพยายามควบคุมพื้นที่ยึดครอง แต่ก็ยังไม่เพียงพอต่อการเผชิญกับความท้าทายที่เกิดขึ้นจากพลพรรคยูโกสลาเวีย ต่อมาไคเพอร์จึงเลือก ผู้นำเชทนิกส์ชาวมอนเตเนโกร ให้เข้ามาช่วยเหลือเขาอย่างไม่เต็มใจมากนัก โดย Đurišić ผู้นี้เคยถูกเยอรมนีจับกุมในเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1943 แต่ต่อมาก็ได้หลบหนีมายังเบลเกรด และได้รับการยอมรับในฐานะพันธมิตรจากเยอรมนีและเนดิช เนดิชได้แต่งตั้ง Đurišić ให้เป็นผู้บัญชาการด้วยความเห็นชอบจากเยอรมนี และส่งเขาและกองพลไปช่วยเหลือไคเพอร์ การสงวนท่าทีของเยอรมนีเกิดขึ้นจากการจงรักภักดีที่แตกแยกของ Đurišić's กล่าวคือเขายังต้องพึ่งพาเยอรมนีในการสนับสนุนด้านลอจิสติกส์ แต่ก็ยังคงเป็นหนี้ความจงรักภักดีต่อเนดิชกับมิฮาอิลอวิชด้วย
เยอรมนีถอนกำลังพลออกจากดินแดนยึดครอง ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการถอนทัพออกจากคาบสมุทรบอลข่านเพื่อไปยังพรมแดนของไรช์ที่สาม Đurišić เดินทางไปพร้อมกับกองทัพเยอรมันจนถึงบอสเนียตะวันออกเฉียงเหนือ ก่อนที่จะเข้าร่วมกับกลุ่มของมิฮาอิลอวิช แต่หลังจากที่เขาตระหนักว่ามิฮาอิลอวิชไม่มีแผนที่จะช่วยกองกําลังเชทนิกส์ที่เหลืออยู่ Đurišić ก็ทิ้งความช่วยเหลือต่อมิฮาอิลอวิชและพยายามเข้าร่วมกับกองกําลังไส้ศึกอื่น ๆ ที่รวมตัวกันอยู่ที่ยูโกสลาเวียตะวันตก เขาและกองพลของเขาถูกสกัดกั้นโดยกองกําลังของรัฐเอกราชโครเอเชียที่เหนือกว่า และท้ายที่สุด Đurišić จึงถูกจับกุมและประหารชีวิต กองทหารของเขาจํานวนมากถูกสังหารโดยกองกําลังโครเอเชียหรือไม่ก็กองกำลังพลพรรค
หลังจากที่เยอรมนีถอนทัพออกจากดินแดนที่ถูกยึดครองไปยังออสเตรีย นักการเมืองฟาสซิสต์ ได้พยายามก่อตั้งรัฐบาลพลัดถิ่นในรัฐเอกราชโครเอเชียที่อยู่ใกล้เคียง ซึ่งเป็นรัฐกึ่งอารักดินแดนของเยอรมนี ดราลีเยวิชยังได้จัดตั้ง ซึ่งเป็นกําลังทหารที่จัดตั้งขึ้นโดยเขาและอานเต ปาเวลิช ผู้นําฟาสซิสต์ชาวโครเอเชีย อย่างไรก็ตาม รัฐพลัดถิ่นของเขา หรือที่รู้จักกันในชื่อ "สภาแห่งรัฐมอนเตเนโกร" (Montenegrin State Council) ถูกยุบเลิกจากการล่มสลายของรัฐบาลหุ่นเชิดโครเอเชีย
ดินแดนนี้อยู่ในการยึดครองโดยพลพรรคยูโกสลาเวียของยอซีป บรอซ ตีโต และกลายเป็นส่วนหนึ่งของสหพันธ์ประชาธิปไตยยูโกสลาเวีย
อ้างอิง
- Tomasevich 2001, pp. 138–148.
- Tomasevich 2001, p. 147.
- Tomasevich 2001, pp. 147–148.
- Tomasevich 2001, p. 148.
บรรณานุกรม
- Roberts, Walter R. (1987). Tito, Mihailović and the Allies: 1941–1945. New Brunswick, New Jersey: Duke University Press. ISBN .
- (1975). War and Revolution in Yugoslavia, 1941–1945: The Chetniks. Stanford, California: Stanford University Press. ISBN .
- Tomasevich, Jozo (2001). War and Revolution in Yugoslavia, 1941–1945: Occupation and Collaboration. Stanford, California: Stanford University Press. ISBN .
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
inchwngsngkhramolkkhrngthisxng phunthikhxngrachxanackryuokslaewiythikxnhnanixyuinkaryudkhrxnginthanaekhtphuwarachkarmxnetenokrkhxngxitali idthukkxngthphenxrmnechayudkhrxngphayhlngkarsngbsukkssibielineduxnknyayn kh s 1943 sungrachxanackrxitaliyxmcannaelaekharwmfaysmphnthmitr emuxkxngthphxitalithxnkalngphlxxkcakmxnetenokraelaaexlebeniy kxngthpheyxrmncungekhayudkhrxngmxnetenokrodythnthi echnediywkb dinaednehlaniyngkhngxyuphayitkaryudkhrxngkhxngeyxrmnitxipcnkrathngeyxrmniaelacanwnmakthxntwineduxnthnwakhm kh s 1944dinaednmxnetenokrthithukeyxrmniyudkhrxngswnhnungkhxngyuokslaewiyodyeyxrmnikaryudkhrxngaelakaraebngyuokslaewiyphayhlngkaryxmcannkhxngxitaliineduxnknyayn kh s 1943 karyudkhrxngxditekhtphuwarachkarmxnetenokrkhxngxitalicaaesdngepnsiethabriewnchayfngtxnitpraeths yuokslaewiyeyxrmniyudkhrxng12 knyayn kh s 1943eyxrmnithxnthph15 thnwakhm kh s 1944 hlngcakkaryxmcannkhxngxitaliidimnannk kxngthpheyxrmncungekhayudkhrxngphunthiswnihykhxngxditekhtphuwarachkarodythnthi ykewnbangphunthithixyuinkarkhwbkhumkhxngphlphrrkhyuokslaewiy dinaednthithukyudkhrxngnixyuinkarbriharphayitkarbychakarphakhphunthi Feldkommandtur hmayelkh 1040 sungmiphubychakarkhux phltri krathngvduibimphliin kh s 1944 karbychakarphakhphunthikhxngikhephxridrbkaroxnihkbkxngbychakarradbsungkhun odyinkhrngaerkxyuinkarduaelkhxngnayphleyxrmnthipracakarinaexlebeniy txmacungepn aelacaknnepn hlngcaknnkidrbkarykradbkhunepnkarbychakarodyxisra aelaikhephxrxyuinkarduaelodytrngkhxngxelkhsnedxr elxr phubychakarthharpracayuorptawnxxkechiyngit ikhephxrdaeninkarbriharphunthiodyichaenwthangthikhlaykhlungknkbxitalithiepnecakhxngkxnhnani aelaphyayamsrangkhwamchwyehluxcakklumaebngaeykdinaednchawmxnetenokr hruxthiruckkninchux sungepnechthniksthiepnphnthmitrkb phunarthbalhunechidinekhtphubychakarthharaehngesxrebiy aetimichkbphunasungsudkhxngechthniksxyangdracha mihaxilxwich hruxaemkrathng ikhephxridcdtngsphakarbriharaehngchatikhunineduxntulakhm ephuxchwyineruxngkarbrihardinaedn odymi epnprathan sphaprasbkhwamlmehlwinkhwamphyayamtxrxngxanackbikhephxr aelathukpranamxyangrunaerngwaepnephiyngekhruxngmuxinrabxbkaryudkhrxngkhxngekhaethann bthbathhlkkhxngsphakhuxkarrksakhwamplxdphykhxngkarnaekhaesbiyngxahardwykhwamchwyehluxcakeyxrmni endichaesdngthathietmicthicasngesbiyngxahar 900 tn 890 lxngtn 990 chxttn ihepnpracathukeduxn aetsphatxngkarkyngcaepntxngrbkhwamchwyehluxcakeyxrmniinkarkhnsng aetthaythisudaelw miephiyngesbiyngxahar 250 300 tn 250 300 lxngtn 280 330 chxttn ethann thiidrbkarnaekhatxeduxn sungkhidepnaekh 20 khxngcanwnenginthixitalinaekharahwangkaryudkhrxng odyphllphththiidkhuxprachakrinphunthiswnihykhxngdinaednthithukyudkhrxngaethbcaxdxyakinchwngrayaewlakhxngkarbriharkhxngeyxrmni eyxrmniidkhxkhwamchwyehluxcakkxngthharrksakarnthxngthin klumtidxawuth aelaechthniksbangswn sahrbkhwamphyayamkhwbkhumphunthiyudkhrxng aetkyngimephiyngphxtxkarephchiykbkhwamthathaythiekidkhuncakphlphrrkhyuokslaewiy txmaikhephxrcungeluxk phunaechthnikschawmxnetenokr ihekhamachwyehluxekhaxyangimetmicmaknk ody Đurisic phuniekhythukeyxrmnicbkumineduxnphvsphakhm kh s 1943 aettxmakidhlbhnimayngeblekrd aelaidrbkaryxmrbinthanaphnthmitrcakeyxrmniaelaendich endichidaetngtng Đurisic ihepnphubychakardwykhwamehnchxbcakeyxrmni aelasngekhaaelakxngphlipchwyehluxikhephxr karsngwnthathikhxngeyxrmniekidkhuncakkarcngrkphkdithiaetkaeykkhxng Đurisic s klawkhuxekhayngtxngphungphaeyxrmniinkarsnbsnundanlxcistiks aetkyngkhngepnhnikhwamcngrkphkditxendichkbmihaxilxwichdwy eyxrmnithxnkalngphlxxkcakdinaednyudkhrxng sungepnswnhnungkhxngkarthxnthphxxkcakkhabsmuthrbxlkhanephuxipyngphrmaednkhxngirchthisam Đurisic edinthangipphrxmkbkxngthpheyxrmncnthungbxseniytawnxxkechiyngehnux kxnthicaekharwmkbklumkhxngmihaxilxwich aethlngcakthiekhatrahnkwamihaxilxwichimmiaephnthicachwykxngkalngechthniksthiehluxxyu Đurisic kthingkhwamchwyehluxtxmihaxilxwichaelaphyayamekharwmkbkxngkalngissukxun thirwmtwknxyuthiyuokslaewiytawntk ekhaaelakxngphlkhxngekhathukskdknodykxngkalngkhxngrthexkrachokhrexechiythiehnuxkwa aelathaythisud Đurisic cungthukcbkumaelapraharchiwit kxngthharkhxngekhacanwnmakthuksngharodykxngkalngokhrexechiyhruximkkxngkalngphlphrrkh hlngcakthieyxrmnithxnthphxxkcakdinaednthithukyudkhrxngipyngxxsetriy nkkaremuxngfassist idphyayamkxtngrthbalphldthininrthexkrachokhrexechiythixyuiklekhiyng sungepnrthkungxarkdinaednkhxngeyxrmni dralieywichyngidcdtng sungepnkalngthharthicdtngkhunodyekhaaelaxanet paewlich phunafassistchawokhrexechiy xyangirktam rthphldthinkhxngekha hruxthiruckkninchux sphaaehngrthmxnetenokr Montenegrin State Council thukyubelikcakkarlmslaykhxngrthbalhunechidokhrexechiy dinaednnixyuinkaryudkhrxngodyphlphrrkhyuokslaewiykhxngyxsip brxs tiot aelaklayepnswnhnungkhxngshphnthprachathipityyuokslaewiyxangxingTomasevich 2001 pp 138 148 Tomasevich 2001 p 147 Tomasevich 2001 pp 147 148 Tomasevich 2001 p 148 brrnanukrmRoberts Walter R 1987 Tito Mihailovic and the Allies 1941 1945 New Brunswick New Jersey Duke University Press ISBN 978 0 8223 0773 0 1975 War and Revolution in Yugoslavia 1941 1945 The Chetniks Stanford California Stanford University Press ISBN 978 0 8047 0857 9 Tomasevich Jozo 2001 War and Revolution in Yugoslavia 1941 1945 Occupation and Collaboration Stanford California Stanford University Press ISBN 978 0 8047 3615 2