ดาวหางชูเมกเกอร์-เลวี 9 (อังกฤษ: Shoemaker-Levy 9 หรือ SL9; ชื่ออย่างเป็นทางการ D/1993 F2) เป็นดาวหางที่พุ่งเข้าชนดาวพฤหัสบดีในปี พ.ศ. 2537 ซึ่งทำให้สามารถสังเกตการชนระหว่างวัตถุในระบบสุริยะได้โดยตรงเป็นครั้งแรก (ไม่นับการชนที่เกี่ยวกับโลก) เหตุการณ์นี้ได้รับความสนใจอย่างกว้างขวาง มีการเผยแพร่ออกไปทางสื่อต่าง ๆ และนักดาราศาสตร์ทั่วโลกก็มีโอกาสติดตามสังเกตการชนครั้งนี้อย่างใกล้ชิด นอกจากนี้เหตุการณ์ดังกล่าวยังแสดงให้เห็นถึงสภาพบรรยากาศของดาวพฤหัสบดี รวมไปถึงบทบาทของดาวพฤหัสบดีที่คอยกวาดวัตถุในอวกาศที่อยู่ด้านในของระบบสุริยะ
และ เป็นนักดาราศาสตร์ที่ค้นพบดาวหางชูเมกเกอร์-เลวี 9 เมื่อคืนวันที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2536 โดยอาศัยกล้องโทรทรรศน์ขนาด 0.4 เมตร ณ ในรัฐแคลิฟอร์เนีย เป็นดาวหางดวงแรกที่พบขณะโคจรรอบดาวเคราะห์ ไม่ได้โคจรรอบดวงอาทิตย์
ชิ้นส่วนของดาวหางชูเมกเกอร์-เลวี 9 ประกอบด้วยดาวหางจำนวน 21 ชิ้น เคลื่อนที่ไล่ตามกันเหมือนขบวนรถไฟ มีตั้งแต่ขนาดเล็กไปจนถึงเส้นผ่านศูนย์กลาง 2 กิโลเมตร ซึ่งนักดาราศาสตร์เชื่อว่าแรงโน้มถ่วงของดาวพฤหัสบดีได้ฉีกดาวหางแตกออกเป็นชิ้น ๆ ระหว่างการโคจรเข้าใกล้กันเมื่อเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2535 จากนั้นชิ้นส่วนต่าง ๆ ของดาวหางได้พุ่งเข้าชนดาวพฤหัสบดีตรงด้านซีกใต้โดยเกิดขึ้นระหว่างวันที่ 16 กรกฎาคม ถึง 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2537 ด้วยอัตราเร็วประมาณ 60 กิโลเมตร/วินาที เกิดการระเบิดเทียบเท่ากับระเบิดทีเอ็นที 6 ล้านตัน หรือเทียบเท่าระเบิดปรมาณูที่ถล่มฮิโรชิมา 100 ล้านลูก แรงระเบิดมีรัศมีกระจายไปถึง 8,000 กิโลเมตร ทำให้เกิดฝุ่นดาวหางปกคลุมสูงขึ้นมาเหนือเมฆในชั้นบรรยากาศโจเวียนถึง 3,000 กว่ากิโลเมตร เกิดรอยคล้ำบนชั้นบรรยากาศของดาวพฤหัสบดี เห็นได้ชัดเจนต่อเนื่องกันนานเป็นเวลาหลายเดือนหลังจากนั้น
การค้นพบ
และ ค้นพบดาวหางชูเมกเกอร์-เลวี 9 โดยบังเอิญเมื่อคืนวันที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2536 ในภาพถ่ายที่ถ่ายด้วยกล้องโทรทรรศน์ขนาด 0.4 เมตร ณ ในรัฐแคลิฟอร์เนีย ขณะปฏิบัติการในโครงการค้นหา ขณะนั้นดาวหางดวงนี้ไม่ได้โคจรรอบดวงอาทิตย์แบบดาวหางทั้งหมดที่เคยมีการค้นพบมาก่อนหน้านั้น แต่มันกำลังโคจรรอบดาวพฤหัสบดี
ดาวหางชูเมกเกอร์-เลวี 9 เป็นดาวหางรายคาบ (คาบการโคจรรอบดวงอาทิตย์น้อยกว่า 200 ปี) ดวงที่ 9 ที่ชูเมกเกอร์กับเลวีเป็นผู้ค้นพบ (สังเกตได้จากชื่อของดาวหาง) อย่างไรก็ตาม ทั้งสามคนยังได้ค้นพบดาวหางร่วมกันอีก 2 ดวงที่ไม่ใช่ดาวหางรายคาบ การค้นพบนี้ได้รับการประกาศในจดหมายข่าวของสหพันธ์ดาราศาสตร์สากล (IAU Circular) ฉบับที่ 5725 เมื่อวันที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2536 ต่อมามีนักดาราศาสตร์จำนวนหนึ่งได้ตรวจสอบภาพถ่ายของตนเอง และพบดาวหางดวงนี้ปรากฏในในภาพถ่ายที่ถ่ายไว้ก่อนหน้านั้น
จากภาพถ่ายแสดงให้เห็นว่าชูเมกเกอร์-เลวี 9 ไม่ใช่ดาวหางปกติธรรมดา มีนิวเคลียสหลายชิ้นทอดยาวเป็นทางประมาณ 50 พิลิปดา กว้าง 10 พิลิปดา ซึ่งเป็นเจ้าหน้าที่ของสำนักงานกลางด้านข่าวโทรเลขดาราศาสตร์ (Central Bureau for Astronomical Telegrams) แสดงความเห็นว่าดาวหางดวงนี้อยู่ห่างจากดาวพฤหัสบดีเพียง 4 องศา เมื่อมองจากโลก ซึ่งแม้ว่าอาจเป็นการบังเอิญที่ดาวหางมาอยู่ในแนวสายตาใกล้เคียงกับดาวพฤหัสบดี แต่การเคลื่อนที่ของดาวหางซึ่งไปในแนวทางเดียวกับดาวพฤหัสบดีทำให้เชื่อว่ามันน่าจะอยู่ใกล้ดาวพฤหัสบดี จากข้อสังเกตนี้ มาร์สเดนคาดว่าดาวหางชูเมกเกอร์-เลวี 9 น่าจะแตกออกเนื่องจากแรงโน้มถ่วงของดาวพฤหัสบดี
ดาวหางโคจรรอบดาวพฤหัสบดี
การศึกษาวงโคจรของดาวหางชูเมกเกอร์-เลวี 9 ในเวลาต่อมา เผยให้เห็นอย่างชัดเจนว่าดาวหางดวงนี้กำลังโคจรรอบดาวพฤหัสบดีด้วยคาบประมาณ 2 ปี จุดที่ห่างจากดาวพฤหัสบดีมากที่สุดอยู่ห่างเป็นระยะทาง 0.33 หน่วยดาราศาสตร์ (AU) (ประมาณ 49.4 ล้านกิโลเมตร) และค่าความเยื้องศูนย์กลาง (eccentricity) ของวงโคจรมีค่าสูงมาก (ประมาณ 0.9986)
จากการศึกษาตำแหน่งและการเคลื่อนที่ของดาวหางในขณะนั้น สามารถย้อนกลับไปในอดีต พบว่าดาวหางน่าจะโคจรรอบดาวพฤหัสบดีมาเป็นเวลานานพอสมควรแล้ว โดยถูกจับไว้ตั้งแต่ต้นทศวรรษ 1970 หรือกลางทศวรรษ 1960 แต่ไม่มีการค้นพบภาพถ่ายในคลังภาพที่ถ่ายไว้ก่อนเดือนมีนาคม 2536 ดาวหางชูเมกเกอร์-เลวี 9 อาจเคยเป็นดาวหางคาบสั้นมาก่อน วงโคจรของดาวหางมีจุดใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุดอยู่ในแถบดาวเคราะห์น้อยหลัก ขณะที่จุดไกลดวงอาทิตย์ที่สุดอยู่ภายในวงโคจรของดาวพฤหัสบดี
พื้นที่ในอวกาศที่วัตถุหนึ่งจะถือได้ว่าโคจรรอบดาวพฤหัสบดีนิยามโดย (Hill sphere) (หรือทรงกลมรอช - Roche sphere) เมื่อดาวหางโคจรเข้าใกล้ดาวพฤหัสบดี มันเข้าไปอยู่ในทรงกลมฮิลล์ แรงโน้มถ่วงของดาวพฤหัสบดีดึงดูดดาวหางเข้าไปหามัน การเคลื่อนที่ของดาวหางที่ค่อนข้างช้าเมื่อเทียบกับดาวพฤหัสบดีทำให้ดาวหางเกือบจะตรงเข้าหาดาวพฤหัสบดีในทันที และเป็นสาเหตุทำให้ดาวหางมีวงโคจรที่มีความรีสูงมาก
ดาวหางชูเมกเกอร์-เลวี 9 โคจรเข้าใกล้ดาวพฤหัสบดีมากที่สุดเมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2535 ด้วยระยะห่างเพียง 40,000 กิโลเมตร เหนือบรรยากาศดาวพฤหัสบดี ใกล้กว่าวงโคจรของเมทิส ดวงจันทร์บริวารดวงที่อยู่ใกล้ดาวพฤหสบดีมากที่สุด และอยู่ภายใต้ ซึ่งแรงไทดัลมีความรุนแรงมากพอจะฉีกมันออกเป็นเสี่ยง ๆ ชิ้นส่วนของดาวหางได้รับการตั้งชื่อเรียงตามตัวอักษร จาก A ถึง W ซึ่งเป็นไปตามธรรมเนียมการตั้งชื่อชิ้นส่วนดาวหางดวงเดียวกันที่แตกออกเป็นหลายชิ้น
เหตุการณ์ที่น่าตื่นเต้นสำหรับนักดาราศาสตร์ก็คือผลการพยากรณ์ตำแหน่งดาวหางที่พบว่าดาวหางชูเมกเกอร์-เลวี 9 อาจเข้าไปภายในระยะ 45,000 กิโลเมตรจากศูนย์กลางดาวพฤหัสบดีซึ่งใกล้กว่ารัศมีของดาว หมายความว่ามีโอกาสสูงมากที่ดาวหางจะพุ่งเข้าชนดาวพฤหัสบดีในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2537 โดยการชนเกิดขึ้นทีละชิ้น นับตั้งแต่ชิ้นแรกถึงชิ้นสุดท้ายรวมเป็นเวลานานประมาณ 5 วัน
พยากรณ์การชน
การค้นพบว่าดาวหางมีโอกาสชนดาวพฤหัสบดีทำให้นักดาราศาสตร์ทั้งหลายรวมไปถึงประชาชนที่สนใจต่างตื่นเต้นเป็นการใหญ่ เนื่องจากไม่เคยมีการสังเกตการชนกันระหว่างวัตถุที่สำคัญในระบบสุริยะมาก่อน ผลการพยากรณ์ตำแหน่งดาวหางเป็นที่แน่ชัดว่ามันจะพุ่งเข้าชนดาวพฤหัสบดี การชนครั้งนี้นักดาราศาสตร์คาดว่าจะเป็นโอกาสสำคัญในการศึกษาบรรยากาศของดาวพฤหัสบดี เพราะจะเปิดเผยสภาพบรรยากาศด้านในของดาวพฤหัสบดีออกมาให้เห็น
นักดาราศาสตร์คะเนว่าชิ้นส่วนดาวหางชูเมกเกอร์-เลวี 9 ที่สังเกตได้จากโลก มีขนาดตั้งแต่ไม่กี่เมตรจนถึงไม่กี่กิโลเมตร ซึ่งแสดงว่าก่อนที่จะแตกออกมันมีขนาดใหญ่ได้ถึงราว 5 กิโลเมตร ซึ่งนับว่าใหญ่พอสมควรเมื่อเทียบกับดาวหางเฮียะกุตะเกะที่เห็นได้เหนือท้องฟ้าเมื่อปี พ.ศ. 2539 มีการถกเถียงกันอย่างกว้างขวางเกี่ยวกับผลของการชน และการชนจะทำให้เกิดแสงสว่างวาบมองเห็นได้จากโลกหรือไม่ นักดาราศาสตร์บางกลุ่มคาดว่าการชนอาจทำให้เกิดคลื่นสั่นไหวไปทั่วดาวพฤหัสบดี รวมไปถึงวงแหวนดาวพฤหัสบดีที่อาจมีมวลเพิ่มมากขึ้น
อ้างอิง
- Bruton D., คำถามที่ถามบ่อยเกี่ยวกับปรากฏการณ์ดาวหางชูเมกเกอร์-เลวี 9 พุ่งชนดาวพฤหัสบดี 2012-12-09 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, คำถาม 2.4 (อังกฤษ)
- Gary W. Kronk, D/1993 F2 Shoemaker-Levy 9 (อังกฤษ)
- IAUC 5725 (อังกฤษ)
- Landis R. R. (1994) Comet P/Shoemaker-Levy's Collision with Jupiter: Covering HST's Planned Observations from Your Planetarium 2008-05-21 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน in Proceedings of the International Planetarium Society Conference จัดขึ้นที่ Astronaut Memorial Planetarium & Observatory, Cocoa, Florida, 10--16 กรกฎาคม 2537 (อังกฤษ)
- Benner L. A. M., McKinnon W. B. (1994), Pre-Impact Orbital Evolution of P/Shoemaker-Levy 9, Abstracts of the 25th Lunar and Planetary Science Conference, Houston, TX, 14--18 มีนาคม 2537., หน้า 93 (อังกฤษ)
แหล่งข้อมูลอื่น
- Comet Shoemaker-Levy 9 FAQ 2000-02-29 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- Comet Shoemaker-Levy 9 Photo Gallery
- Downloadable gif Animation showing time course of impact and size relative to earthsize 2013-07-23 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- http://www.cv.nrao.edu/~pmurphy/patsl9.html
- Jupiter Swallows Comet Shoemaker Levy 9
- Comet Shoemaker-Levy Collision with Jupiter
- National Space Science Data Center information
- A simulation of the orbit of SL-9 showing the passage that fragmented the comet, and the collision 2 years later
- YouTube video animation of impact
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
dawhangchuemkekxr elwi 9 xngkvs Shoemaker Levy 9 hrux SL9 chuxxyangepnthangkar D 1993 F2 epndawhangthiphungekhachndawphvhsbdiinpi ph s 2537 sungthaihsamarthsngektkarchnrahwangwtthuinrabbsuriyaidodytrngepnkhrngaerk imnbkarchnthiekiywkbolk ehtukarnniidrbkhwamsnicxyangkwangkhwang mikarephyaephrxxkipthangsuxtang aelankdarasastrthwolkkmioxkastidtamsngektkarchnkhrngnixyangiklchid nxkcakniehtukarndngklawyngaesdngihehnthungsphaphbrryakaskhxngdawphvhsbdi rwmipthungbthbathkhxngdawphvhsbdithikhxykwadwtthuinxwkasthixyudaninkhxngrabbsuriyaphaphthaydawhangchuemkekxr elwi 9 odyklxngothrthrrsnxwkashbebil emuxwnthi 17 phvsphakhm ph s 2537 aela epnnkdarasastrthikhnphbdawhangchuemkekxr elwi 9 emuxkhunwnthi 24 minakhm ph s 2536 odyxasyklxngothrthrrsnkhnad 0 4 emtr n inrthaekhlifxreniy epndawhangdwngaerkthiphbkhnaokhcrrxbdawekhraah imidokhcrrxbdwngxathity chinswnkhxngdawhangchuemkekxr elwi 9 prakxbdwydawhangcanwn 21 chin ekhluxnthiiltamknehmuxnkhbwnrthif mitngaetkhnadelkipcnthungesnphansunyklang 2 kiolemtr sungnkdarasastrechuxwaaerngonmthwngkhxngdawphvhsbdiidchikdawhangaetkxxkepnchin rahwangkarokhcrekhaiklknemuxeduxnkrkdakhm ph s 2535 caknnchinswntang khxngdawhangidphungekhachndawphvhsbditrngdansikitodyekidkhunrahwangwnthi 16 krkdakhm thung 22 krkdakhm ph s 2537 dwyxtraerwpraman 60 kiolemtr winathi ekidkarraebidethiybethakbraebidthiexnthi 6 lantn hruxethiybetharaebidprmanuthithlmhiorchima 100 lanluk aerngraebidmirsmikracayipthung 8 000 kiolemtr thaihekidfundawhangpkkhlumsungkhunmaehnuxemkhinchnbrryakasocewiynthung 3 000 kwakiolemtr ekidrxykhlabnchnbrryakaskhxngdawphvhsbdi ehnidchdecntxenuxngknnanepnewlahlayeduxnhlngcaknnkarkhnphbaela khnphbdawhangchuemkekxr elwi 9 odybngexiyemuxkhunwnthi 24 minakhm ph s 2536 inphaphthaythithaydwyklxngothrthrrsnkhnad 0 4 emtr n inrthaekhlifxreniy khnaptibtikarinokhrngkarkhnha khnanndawhangdwngniimidokhcrrxbdwngxathityaebbdawhangthnghmdthiekhymikarkhnphbmakxnhnann aetmnkalngokhcrrxbdawphvhsbdi dawhangchuemkekxr elwi 9 epndawhangraykhab khabkarokhcrrxbdwngxathitynxykwa 200 pi dwngthi 9 thichuemkekxrkbelwiepnphukhnphb sngektidcakchuxkhxngdawhang xyangirktam thngsamkhnyngidkhnphbdawhangrwmknxik 2 dwngthiimichdawhangraykhab karkhnphbniidrbkarprakasincdhmaykhawkhxngshphnthdarasastrsakl IAU Circular chbbthi 5725 emuxwnthi 27 minakhm ph s 2536 txmaminkdarasastrcanwnhnungidtrwcsxbphaphthaykhxngtnexng aelaphbdawhangdwngnipraktininphaphthaythithayiwkxnhnann cakphaphthayaesdngihehnwachuemkekxr elwi 9 imichdawhangpktithrrmda miniwekhliyshlaychinthxdyawepnthangpraman 50 philipda kwang 10 philipda sungepnecahnathikhxngsanknganklangdankhawothrelkhdarasastr Central Bureau for Astronomical Telegrams aesdngkhwamehnwadawhangdwngnixyuhangcakdawphvhsbdiephiyng 4 xngsa emuxmxngcakolk sungaemwaxacepnkarbngexiythidawhangmaxyuinaenwsaytaiklekhiyngkbdawphvhsbdi aetkarekhluxnthikhxngdawhangsungipinaenwthangediywkbdawphvhsbdithaihechuxwamnnacaxyuikldawphvhsbdi cakkhxsngektni marsednkhadwadawhangchuemkekxr elwi 9 nacaaetkxxkenuxngcakaerngonmthwngkhxngdawphvhsbdidawhangokhcrrxbdawphvhsbdikarsuksawngokhcrkhxngdawhangchuemkekxr elwi 9 inewlatxma ephyihehnxyangchdecnwadawhangdwngnikalngokhcrrxbdawphvhsbdidwykhabpraman 2 pi cudthihangcakdawphvhsbdimakthisudxyuhangepnrayathang 0 33 hnwydarasastr AU praman 49 4 lankiolemtr aelakhakhwameyuxngsunyklang eccentricity khxngwngokhcrmikhasungmak praman 0 9986 cakkarsuksataaehnngaelakarekhluxnthikhxngdawhanginkhnann samarthyxnklbipinxdit phbwadawhangnacaokhcrrxbdawphvhsbdimaepnewlananphxsmkhwraelw odythukcbiwtngaettnthswrrs 1970 hruxklangthswrrs 1960 aetimmikarkhnphbphaphthayinkhlngphaphthithayiwkxneduxnminakhm 2536 dawhangchuemkekxr elwi 9 xacekhyepndawhangkhabsnmakxn wngokhcrkhxngdawhangmicudikldwngxathitythisudxyuinaethbdawekhraahnxyhlk khnathicudikldwngxathitythisudxyuphayinwngokhcrkhxngdawphvhsbdi phunthiinxwkasthiwtthuhnungcathuxidwaokhcrrxbdawphvhsbdiniyamody Hill sphere hruxthrngklmrxch Roche sphere emuxdawhangokhcrekhaikldawphvhsbdi mnekhaipxyuinthrngklmhill aerngonmthwngkhxngdawphvhsbdidungduddawhangekhaiphamn karekhluxnthikhxngdawhangthikhxnkhangchaemuxethiybkbdawphvhsbdithaihdawhangekuxbcatrngekhahadawphvhsbdiinthnthi aelaepnsaehtuthaihdawhangmiwngokhcrthimikhwamrisungmak dawhangchuemkekxr elwi 9 okhcrekhaikldawphvhsbdimakthisudemuxwnthi 7 krkdakhm ph s 2535 dwyrayahangephiyng 40 000 kiolemtr ehnuxbrryakasdawphvhsbdi iklkwawngokhcrkhxngemthis dwngcnthrbriwardwngthixyuikldawphvhsbdimakthisud aelaxyuphayit sungaerngithdlmikhwamrunaerngmakphxcachikmnxxkepnesiyng chinswnkhxngdawhangidrbkartngchuxeriyngtamtwxksr cak A thung W sungepniptamthrrmeniymkartngchuxchinswndawhangdwngediywknthiaetkxxkepnhlaychin ehtukarnthinatunetnsahrbnkdarasastrkkhuxphlkarphyakrntaaehnngdawhangthiphbwadawhangchuemkekxr elwi 9 xacekhaipphayinraya 45 000 kiolemtrcaksunyklangdawphvhsbdisungiklkwarsmikhxngdaw hmaykhwamwamioxkassungmakthidawhangcaphungekhachndawphvhsbdiineduxnkrkdakhm ph s 2537 odykarchnekidkhunthilachin nbtngaetchinaerkthungchinsudthayrwmepnewlananpraman 5 wnphyakrnkarchnkarkhnphbwadawhangmioxkaschndawphvhsbdithaihnkdarasastrthnghlayrwmipthungprachachnthisnictangtunetnepnkarihy enuxngcakimekhymikarsngektkarchnknrahwangwtthuthisakhyinrabbsuriyamakxn phlkarphyakrntaaehnngdawhangepnthiaenchdwamncaphungekhachndawphvhsbdi karchnkhrngninkdarasastrkhadwacaepnoxkassakhyinkarsuksabrryakaskhxngdawphvhsbdi ephraacaepidephysphaphbrryakasdaninkhxngdawphvhsbdixxkmaihehn nkdarasastrkhaenwachinswndawhangchuemkekxr elwi 9 thisngektidcakolk mikhnadtngaetimkiemtrcnthungimkikiolemtr sungaesdngwakxnthicaaetkxxkmnmikhnadihyidthungraw 5 kiolemtr sungnbwaihyphxsmkhwremuxethiybkbdawhangehiyakutaekathiehnidehnuxthxngfaemuxpi ph s 2539 mikarthkethiyngknxyangkwangkhwangekiywkbphlkhxngkarchn aelakarchncathaihekidaesngswangwabmxngehnidcakolkhruxim nkdarasastrbangklumkhadwakarchnxacthaihekidkhlunsnihwipthwdawphvhsbdi rwmipthungwngaehwndawphvhsbdithixacmimwlephimmakkhunxangxingBruton D khathamthithambxyekiywkbpraktkarndawhangchuemkekxr elwi 9 phungchndawphvhsbdi 2012 12 09 thi ewyaebkaemchchin khatham 2 4 xngkvs Gary W Kronk D 1993 F2 Shoemaker Levy 9 xngkvs IAUC 5725 xngkvs Landis R R 1994 Comet P Shoemaker Levy s Collision with Jupiter Covering HST s Planned Observations from Your Planetarium 2008 05 21 thi ewyaebkaemchchin in Proceedings of the International Planetarium Society Conference cdkhunthi Astronaut Memorial Planetarium amp Observatory Cocoa Florida 10 16 krkdakhm 2537 xngkvs Benner L A M McKinnon W B 1994 Pre Impact Orbital Evolution of P Shoemaker Levy 9 Abstracts of the 25th Lunar and Planetary Science Conference Houston TX 14 18 minakhm 2537 hna 93 xngkvs aehlngkhxmulxunwikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb dawhangchuemkekxr elwi 9 Comet Shoemaker Levy 9 FAQ 2000 02 29 thi ewyaebkaemchchin Comet Shoemaker Levy 9 Photo Gallery Downloadable gif Animation showing time course of impact and size relative to earthsize 2013 07 23 thi ewyaebkaemchchin http www cv nrao edu pmurphy patsl9 html Jupiter Swallows Comet Shoemaker Levy 9 Comet Shoemaker Levy Collision with Jupiter National Space Science Data Center information A simulation of the orbit of SL 9 showing the passage that fragmented the comet and the collision 2 years later YouTube video animation of impact