ฌูล อาร์ดวง-ม็องซาร์ (ฝรั่งเศส: Jules Hardouin-Mansart, ฟังเสียง; 16 เมษายน ค.ศ. 1646 - 11 พฤษภาคม ค.ศ. 1708) เป็นสถาปนิกชาวฝรั่งเศส ที่ผลงานถือกันว่าเป็นผลงานของสมัยที่รุ่งเรืองที่สุดที่เป็นสัญลักษณ์ของอำนาจและความยิ่งใหญ่โอ่อ่าของพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 ม็องซาร์ถือกันว่าเป็นสถาปนิกคนสำคัญที่สุดคนหนึ่งของยุโรปของคริสต์ศตวรรษที่ 17
ฌูล อาร์ดวง-ม็องซาร์ |
---|
ประวัติ
ฌูล อาร์ดวงเป็นชื่อเมื่อแรกเกิด ม็องซาร์ศึกษากับฟร็องซัว ม็องซาร์ สถาปนิกผู้มีชื่อเสียงผู้เป็นน้องของปู่ และเป็นผู้ที่นำลักษณะสถาปัตยกรรมคลาสสิกเข้ามาผสานเป็น ม็องซาร์ได้งานเขียนผังและภาพร่างทางสถาปัตยกรรมของฟร็องซัวมาเป็นสมบัติและใช้ “ม็องซาร์” ต่อท้ายชื่อ นอกจากนั้นก็ยังศึกษากับ (Libéral Bruant) สถาปนิกผู้สร้างสถานพยาบาลทหารผ่านศึกในปารีสที่เรียกว่า “” (Les Invalides)
อาร์ดวง-ม็องซาร์รับราชการเป็นสถาปนิกเอกในพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 ที่มีหน้าที่รับผิดชอบการขยาย และต่อมา พระราชวังแวร์ซายส์ ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1675 อาร์ดวง-ม็องซาร์มีตำแหน่งเป็น “Surintendant des Bâtiments du Roi” (ผู้อำนวยการงานเกี่ยวกับพระราชฐาน) ผู้มีหน้าที่ออกแบบส่วนต่อเติมทุกส่วนและสร้างบริเวณใหม่ที่พระราชวังแวร์ซายส์ ที่รวมทั้งปีกเหนือและใต้, ชาเปลหลวง (ร่วมกับ, ค.ศ. 1710) และห้องกระจกอันเป็นที่รู้จักกันดีที่ตกแต่งโดย ภายนอกตัวพระราชฐาน อาร์ดวง-ม็องซาร์สร้างและเรือนส้ม และรับงานพระราชฐานอื่นที่ไม่ไกลออกไปเท่าใดนักเช่นที่ (เริ่มในปี ค.ศ. 1679)
ในบรรดางานที่เป็นที่รู้จักกันดีที่สุดในปารีสก็ได้แก่ , , โดมใหญ่ของชาเปลหลวงที่ที่อุทิศให้แก่นักบุญหลุยส์ (ออกแบบเมื่อราวปี ค.ศ. 1680), (ค.ศ. 1684–ค.ศ. 1686) ตามด้วย (ค.ศ. 1690) สถานที่ต่าง ๆ เหล่านี้ยังคงตั้งเด่นสง่าเป็นที่น่าสนใจแก่นักท่องเที่ยวมาจนกระทั่งปัจจุบันนี้
ตำแหน่งหน้าที่การงานอันสำคัญในฝรั่งเศสเปิดโอกาสให้อาร์ดวง-ม็องซาร์ได้สร้างอนุสรณ์สถานสำคัญ ๆ หลายแห่งของยุคนั้น และวางแนวลักษณะของสถาปัตยกรรมบาโรกตอนปลายของฝรั่งเศสในเชิงควบคุม (ที่ได้รับการตำหนิจากสถาบันการศึกษา) ที่กว้างไกลไปจนถึงเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก และอาจจะสะท้อนไปถึงคอนสแตนติโนเปิลก็เป็นได้ ในขณะเดียวกันการมีเจ้าหน้าที่ในกรมกองเป็นจำนวนมากก็ทำให้มักจะได้รับการติเตียนว่าอาร์ดวง-ม็องซาร์มิได้มีความรับผิดชอบโดยตรงต่อสิ่งต่าง ๆ ที่อยู่ในการอำนวยการ
อาร์ดวง-ม็องซาร์ใช้ที่ตั้งตามชื่อปู่ในการสร้างที่สร้างสำหรับ ลูกเขยของฌ็อง-บาติสต์ กอลแบร์ แม้วังแบบขนาดย่อมก็จะมี “ประธานมณฑล” เช่นเดียวพระราชวังแวร์ซายส์เองก็มี และด้านหน้าก็จะเป็นลานหน้าที่ปูด้วยกรวดที่เรียกว่า “” (Cour d'Honneur) ที่ตั้งอยู่หลังประตูเหล็กดัดอันงดงามสองชั้น และล้อมรอบด้วยสิ่งก่อสร้างอื่น ๆ ที่เชื่อมติดต่อกันด้วยระเบียงที่วางอย่างสมมาตร
การตกแต่งแบบฝรั่งเศสจะเป็นหน้าจั่วทางเข้าที่ไม่วิจิตรเท่าใดนักขนาบด้วยศาลาใหญ่ที่ยื่นออกมาสองศาลา ด้านหลังตอนกลางจะยื่นยาวออกไประหว่างที่ปัจจุบันเป็นลานหญ้า อุทยานเป็นแบบอุทยานภูมิทัศน์ ที่ตกแต่งด้วยสระน้ำที่ออกแบบโดย ภายในเป็นการตกแต่งอย่างหยดย้อย (sumptuous) ที่เปรียบได้กับ (เนเธอร์แลนด์) สำหรับวิลเลียมที่ 3 แห่งออเรนจ์
อ้างอิง
- Frédérique Lemerle & Yves Pauwels, "Baroque Architecture", Flammarion, 2008
- Catholic Encyclopedia (1913)/Jules Mansard
ดูเพิ่ม
แหล่งข้อมูลอื่น
วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ ฌูล อาร์ดวง-ม็องซาร์
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
chul xardwng mxngsar frngess Jules Hardouin Mansart fngesiyng 16 emsayn kh s 1646 11 phvsphakhm kh s 1708 epnsthapnikchawfrngess thiphlnganthuxknwaepnphlngankhxngsmythirungeruxngthisudthiepnsylksnkhxngxanacaelakhwamyingihyoxxakhxngphraecahluysthi 14 mxngsarthuxknwaepnsthapnikkhnsakhythisudkhnhnungkhxngyuorpkhxngkhriststwrrsthi 17chul xardwng mxngsarprawtichul xardwngepnchuxemuxaerkekid mxngsarsuksakbfrxngsw mxngsar sthapnikphumichuxesiyngphuepnnxngkhxngpu aelaepnphuthinalksnasthaptykrrmkhlassikekhamaphsanepn mxngsaridnganekhiynphngaelaphaphrangthangsthaptykrrmkhxngfrxngswmaepnsmbtiaelaich mxngsar txthaychux nxkcaknnkyngsuksakb Liberal Bruant sthapnikphusrangsthanphyabalthharphansukinparisthieriykwa Les Invalides xardwng mxngsarrbrachkarepnsthapnikexkinphraecahluysthi 14 thimihnathirbphidchxbkarkhyay aelatxma phrarachwngaewrsays tngaetpi kh s 1675 xardwng mxngsarmitaaehnngepn Surintendant des Batiments du Roi phuxanwykarnganekiywkbphrarachthan phumihnathixxkaebbswntxetimthukswnaelasrangbriewnihmthiphrarachwngaewrsays thirwmthngpikehnuxaelait chaeplhlwng rwmkb kh s 1710 aelahxngkrackxnepnthiruckkndithitkaetngody phaynxktwphrarachthan xardwng mxngsarsrangaelaeruxnsm aelarbnganphrarachthanxunthiimiklxxkipethaidnkechnthi eriminpi kh s 1679 phaphehmuxnkhxngchul xardwng mxngsar ody Hyacinthe Rigaud inbrrdanganthiepnthiruckkndithisudinpariskidaek odmihykhxngchaeplhlwngthithixuthisihaeknkbuyhluys xxkaebbemuxrawpi kh s 1680 kh s 1684 kh s 1686 tamdwy kh s 1690 sthanthitang ehlaniyngkhngtngednsngaepnthinasnicaeknkthxngethiywmacnkrathngpccubnni taaehnnghnathikarnganxnsakhyinfrngessepidoxkasihxardwng mxngsaridsrangxnusrnsthansakhy hlayaehngkhxngyukhnn aelawangaenwlksnakhxngsthaptykrrmbaorktxnplaykhxngfrngessinechingkhwbkhum thiidrbkartahnicaksthabnkarsuksa thikwangiklipcnthungesntpietxrsebirk aelaxaccasathxnipthungkhxnsaetntionepilkepnid inkhnaediywknkarmiecahnathiinkrmkxngepncanwnmakkthaihmkcaidrbkartietiynwaxardwng mxngsarmiidmikhwamrbphidchxbodytrngtxsingtang thixyuinkarxanwykar xardwng mxngsarichthitngtamchuxpuinkarsrangthisrangsahrb lukekhykhxngchxng batist kxlaebr aemwngaebbkhnadyxmkcami prathanmnthl echnediywphrarachwngaewrsaysexngkmi aeladanhnakcaepnlanhnathipudwykrwdthieriykwa Cour d Honneur thitngxyuhlngpratuehlkddxnngdngamsxngchn aelalxmrxbdwysingkxsrangxun thiechuxmtidtxkndwyraebiyngthiwangxyangsmmatr kartkaetngaebbfrngesscaepnhnacwthangekhathiimwicitrethaidnkkhnabdwysalaihythiyunxxkmasxngsala danhlngtxnklangcayunyawxxkiprahwangthipccubnepnlanhya xuthyanepnaebbxuthyanphumithsn thitkaetngdwysranathixxkaebbody phayinepnkartkaetngxyanghydyxy sumptuous thiepriybidkb enethxraelnd sahrbwileliymthi 3 aehngxxerncxangxingFrederique Lemerle amp Yves Pauwels Baroque Architecture Flammarion 2008 Catholic Encyclopedia 1913 Jules Mansardduephimaehlngkhxmulxunwikimiediykhxmmxnsmisuxekiywkb chul xardwng mxngsar