ในทางดาราศาสตร์ ซูเปอร์มูนเป็นจันทร์เพ็ญหรือจันทร์ดับซึ่งเกิดขึ้นพร้อมกับการเข้าใกล้โลกของดวงจันทร์ ระยะห่างระหว่างโลกกับดวงจันทร์แตกต่างกันไปแต่ละเดือนอยู่ระหว่าง 354,000 และ 410,000 กิโลเมตร เนื่องจากวงโคจรรูปวงรีของดวงจันทร์
การจำกัดความ
ชื่อ ซูเปอร์มูน ประดิษฐ์โดยโหราจารย์ ริชาร์ด นอลล์ ใน ค.ศ. 1979 (พ.ศ. 2522) โดยจำกัดความว่า
“ | ...จันทร์ดับหรือจันทร์เพ็ญซึ่งเกิดขึ้นเมื่อดวงจันทร์อยู่ที่หรือเข้าใกล้ (ในขอบเขต 90% ของ) ระยะใกล้โลกที่สุดในวงโคจร (จุดโคจรใกล้สุดจากโลก) หากกล่าวโดยย่อ โลก ดวงจันทร์ และดวงอาทิตย์ทั้งหมดเรียงตัวอยู่ในแนวเดียวกัน โดยดวงจันทร์อยู่ในระยะใกล้โลกที่สุด | ” |
— |
(วลี "ในขอบเขต 90% ของระยะใกล้โลกที่สุด" ไม่ชัดเจน แต่ตัวอย่างจากเว็บไซต์ของนอลล์แสดงให้เห็นว่าเขาหมายความว่าระยะห่างโลก-ดวงจันทร์มีค่าน้อยกว่าหนึ่งในสิบของพิสัยที่เป็นไปได้)
คำว่า ซูเปอร์มูน ไม่ได้รับการยอมรับหรือใช้กันอย่างกว้างขวางในประชาคมดาราศาสตร์หรือวิทยาศาสตร์ ซึ่งใช้คำว่า "perigee-syzygy" แทน คำว่า "perigee" เป็นจุดที่ดวงจันทร์อยู่ใกล้โลกที่สุดในวงโคจร และ "syzygy" เป็นจันทร์เพ็ญหรือจันทร์ดับ เมื่อโลก ดวงอาทิตย์และดวงจันทร์เรียงตัวกันเกือบเป็นเส้นตรง ดังนั้น ซูเปอร์มูนจึงอาจเป็นสองปรากฏการณ์นี้ที่เกิดขึ้นพร้อมกัน ถึงแม้ว่านักวิทยาศาสตร์จะยังไม่มีการประดิษฐ์คำขึ้นเรียกก็ตาม
ความเชื่อมโยงกับภัยพิบัติทางธรรมชาติ
การคาดคะเนว่ามีความเชื่อมโยงระหว่างการเกิดปรากฏการณ์ซูเปอร์มูนกับภัยพิบัติทางธรรมชาติอย่างเช่นแผ่นดินไหวและคลื่นสึนามินั้นมีความหนักแน่นน้อยมาก มีการโต้แย้งว่าภัยพิบัติทางธรรมชาติหลายครั้งได้เกิดขึ้นในปีที่เกิดปรากฏการณ์ซูเปอร์มูนขึ้น ซึ่งได้รับอิทธิพลจากแรงโน้มถ่วงที่เพิ่มมากขึ้นของดวงจันทร์ ถึงแม้ว่าเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงระยะห่างจากโลกของดวงจันทร์ การให้เหตุผลนี้จะไม่ได้รับการสนับสนุนหากภัยพิบัติที่กล่าวถึงนั้นตรงกับวันที่เกิดซูเปอร์มูน
มีการให้เหตุผลว่าแผ่นดินไหวในมหาสมุทรอินเดีย พ.ศ. 2547 ได้รับอิทธิพลมาจากซูเปอร์มูนที่เกิดขึ้นสองสัปดาห์ถัดมาเมื่อวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2548 อย่างไรก็ตาม เมื่อวันที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2547 (ที่เกิดภัยพิบัติขึ้น) ดวงจันทร์อยู่ในจุดที่อยู่ไกลโลกที่สุด ดังนั้น ปรากฏการณ์ซูเปอร์มูนจึงไม่สามารถเกิดขึ้นได้
นักโหราศาสตร์[]ระบุว่าแผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิในโทโฮะกุ พ.ศ. 2554 ได้รับอิทธิพลมาจากซูเปอร์มูนที่เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 19 มีนาคม ซึ่งเป็นซูเปอร์มูนที่เข้าใกล้โลกมากที่สุดนับตั้งแต่ พ.ศ. 2535 ปัญหาคือ เมื่อวันที่ 11 มีนาคม (ที่เกิดภัยพิบัติขึ้น) ดวงจันทร์อยู่ใกล้จุดที่อยู่ไกลโลกมากกว่าจุดที่อยู่ใกล้โลก ที่ระยะห่างประมาณ 400,000 กิโลเมตร ซึ่งอยู่ไกลกว่าระยะห่างเฉลี่ยระหว่างโลกและดวงจันทร์เสียอีก
อ้างอิง
- Plait, Phil (March 11, 2011). . Discover Magazine. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-10-22. สืบค้นเมื่อ 14 March 2011.
- Hawley, John (n.d.). "Appearance of the Moon Size". Ask a Scientist. Newton. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-07-03. สืบค้นเมื่อ 14 March 2011.
- Nolle, Richard (March 10, 2011). "Supermoon". Astropro. สืบค้นเมื่อ 14 March 2011.
- Ledermann, Tug (November 13, 2007). . University Wire. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-11-05. สืบค้นเมื่อ 14 March 2011.
- Paquette, Mark (March 1, 2011). "Extreme Super (Full) Moon to Cause Chaos?". Astronomy Weather Blog. AccuWeather. สืบค้นเมื่อ 14 March 2011.
- Byrd, Deborah (March 11, 2011). "Debunking the "Supermoon" Theory of Japan's Earthquake and Tsunami". Fast Company. สืบค้นเมื่อ 14 March 2011.
- "Is the Japanese earthquake the latest natural disaster to have been caused by a 'supermoon'?". The Daily Mail. March 11, 2011. สืบค้นเมื่อ 14 March 2011.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
inthangdarasastr suepxrmunepncnthrephyhruxcnthrdbsungekidkhunphrxmkbkarekhaiklolkkhxngdwngcnthr rayahangrahwangolkkbdwngcnthraetktangknipaetlaeduxnxyurahwang 354 000 aela 410 000 kiolemtr enuxngcakwngokhcrrupwngrikhxngdwngcnthrsuepxrmuninwnthi 19 minakhm ph s 2554 rupthangdankhwa ethiybkbdwngcnthrinwnthi 20 thnwakhm ph s 2553 rupthangdansay emuxmxngcakolkkarcakdkhwamchux suepxrmun pradisthodyohracary richard nxll in kh s 1979 ph s 2522 odycakdkhwamwa cnthrdbhruxcnthrephysungekidkhunemuxdwngcnthrxyuthihruxekhaikl inkhxbekht 90 khxng rayaiklolkthisudinwngokhcr cudokhcriklsudcakolk hakklawodyyx olk dwngcnthr aeladwngxathitythnghmderiyngtwxyuinaenwediywkn odydwngcnthrxyuinrayaiklolkthisud wli inkhxbekht 90 khxngrayaiklolkthisud imchdecn aettwxyangcakewbistkhxngnxllaesdngihehnwaekhahmaykhwamwarayahangolk dwngcnthrmikhanxykwahnunginsibkhxngphisythiepnipid khawa suepxrmun imidrbkaryxmrbhruxichknxyangkwangkhwanginprachakhmdarasastrhruxwithyasastr sungichkhawa perigee syzygy aethn khawa perigee epncudthidwngcnthrxyuiklolkthisudinwngokhcr aela syzygy epncnthrephyhruxcnthrdb emuxolk dwngxathityaeladwngcnthreriyngtwknekuxbepnesntrng dngnn suepxrmuncungxacepnsxngpraktkarnnithiekidkhunphrxmkn thungaemwankwithyasastrcayngimmikarpradisthkhakhuneriykktamkhwamechuxmoyngkbphyphibtithangthrrmchatikarkhadkhaenwamikhwamechuxmoyngrahwangkarekidpraktkarnsuepxrmunkbphyphibtithangthrrmchatixyangechnaephndinihwaelakhlunsunaminnmikhwamhnkaennnxymak mikarotaeyngwaphyphibtithangthrrmchatihlaykhrngidekidkhuninpithiekidpraktkarnsuepxrmunkhun sungidrbxiththiphlcakaerngonmthwngthiephimmakkhunkhxngdwngcnthr thungaemwaenuxngcakkarepliynaeplngrayahangcakolkkhxngdwngcnthr karihehtuphlnicaimidrbkarsnbsnunhakphyphibtithiklawthungnntrngkbwnthiekidsuepxrmun mikarihehtuphlwaaephndinihwinmhasmuthrxinediy ph s 2547 idrbxiththiphlmacaksuepxrmunthiekidkhunsxngspdahthdmaemuxwnthi 10 mkrakhm ph s 2548 xyangirktam emuxwnthi 26 thnwakhm ph s 2547 thiekidphyphibtikhun dwngcnthrxyuincudthixyuiklolkthisud dngnn praktkarnsuepxrmuncungimsamarthekidkhunid nkohrasastr ikhr rabuwaaephndinihwaelakhlunsunamiinothohaku ph s 2554 idrbxiththiphlmacaksuepxrmunthiekidkhunemuxwnthi 19 minakhm sungepnsuepxrmunthiekhaiklolkmakthisudnbtngaet ph s 2535 pyhakhux emuxwnthi 11 minakhm thiekidphyphibtikhun dwngcnthrxyuiklcudthixyuiklolkmakkwacudthixyuiklolk thirayahangpraman 400 000 kiolemtr sungxyuiklkwarayahangechliyrahwangolkaeladwngcnthresiyxikxangxingwikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb suepxrmun Plait Phil March 11 2011 Discover Magazine khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2019 10 22 subkhnemux 14 March 2011 Hawley John n d Appearance of the Moon Size Ask a Scientist Newton khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2013 07 03 subkhnemux 14 March 2011 Nolle Richard March 10 2011 Supermoon Astropro subkhnemux 14 March 2011 Ledermann Tug November 13 2007 University Wire khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2012 11 05 subkhnemux 14 March 2011 Paquette Mark March 1 2011 Extreme Super Full Moon to Cause Chaos Astronomy Weather Blog AccuWeather subkhnemux 14 March 2011 Byrd Deborah March 11 2011 Debunking the Supermoon Theory of Japan s Earthquake and Tsunami Fast Company subkhnemux 14 March 2011 Is the Japanese earthquake the latest natural disaster to have been caused by a supermoon The Daily Mail March 11 2011 subkhnemux 14 March 2011