ซุ้มเซนต์ปีเตอร์ (อังกฤษ: St. Peter's baldachin) เป็นซุ้มสำริดที่สร้างโดยจานโลเรนโซ แบร์นินีที่ตั้งอยู่เหนือแท่นบูชาเอกภายใต้โดมของมหาวิหารเซนต์ปีเตอร์ในนครรัฐวาติกันในกรุงโรม ซุ้มสร้างขึ้นเพื่อหมายที่ตั้งของบริเวณที่เชื่อกันว่าเป็นที่ฝังพระศพของนักบุญปีเตอร์ตั้งแต่ดั้งเดิม ทรงเป็นผู้จ้างให้จานโลเรนโซ แบร์นินีเป็นผู้ออกแบบ การก่อสร้างซุ้มเริ่มขึ้นในเดือนกรกฎาคมของปี ค.ศ. 1623 และมาเสร็จลงในอีกสิบปีต่อมาในปี ค.ศ. 1633
ประวัติการก่อสร้าง
ซุ้มเซนต์ปีเตอร์เป็นงานขนาดใหญ่ชิ้นแรกของจานโลเรนโซ แบร์นินีที่ผสมประติมากรรมและสถาปัตยกรรมเข้าด้วยกันซึ่งกลายมาเป็นจุดสำคัญของการวิวัฒนาการของออกแบบการตกแต่งภายในของภายในคริสต์ศาสนสถาน รูปทรงของซุ้มมาจากลักษณะการก่อสร้างซุ้มชิโบเรียมหรือศาลาชิโบเรียมซึ่งเป็นซุ้มหินเหนือแท่นบูชาที่ใช้กันมาก่อนหน้านั้นในวัดบางวัดในอิตาลี แต่งานออกแบบของแบร์นินีต่างออกไปจากซุ้มชิโบเรียมบ้างตรงที่แบร์นินีนำเอาลักษณะบางอย่างของการสร้างแท่นตั้งศพ (catafalque) เข้ามาผสมกับการออกแบบซุ้มชิโบเรียม และเพดานของซุ้มมีลักษณะคล้ายเพดานที่ทำด้วยผ้า เช่นเดียวกับพิดานศักดิ์ที่ใช้ปกป้องพระเศียรของพระสันตะปาปาในโอกาสวันศักดิ์สิทธิ์ แต่เพดานของซุ้มเซนต์ปีเตอร์ทำด้วยวัสดุอื่นแทนที่
การก่อสร้างและตกแต่งทำโดยแบร์นินีและเพื่อนร่วมงานอีกหลายคนที่รวมทั้งฟรานเซสโก บอโรมินิผู้ช่วยออกแบบโครงสร้างและ (Stefano Maderno), (François Duquesnoy), อันเดรอา โบลจิ, จูลิอาโน ฟิเนลลิ และลุยจิ แบร์นินี
ลักษณะ
ซุ้มเซนต์ปีเตอร์เป็นซุ้มลอยที่ตั้งอยู่เหนือแท่นยกสูงที่ตั้งอยู่เหนือที่ตั้งแท่นบูชาเอกของมหาวิหารเซนต์ปีเตอร์ที่เชื่อกันว่าตั้งอยู่เหนือจุดที่เป็นที่ฝังพระศพของนักบุญปีเตอร์ ตัวซุ้มสร้างด้วยสัมริดบนเสาสี่เสา แต่ละเสาตั้งอยู่บนฐานหินอ่อนสูง
เสาสี่เสาแต่ละเส่สูง 20 เมตรมีลักษณะบิดเป็นเกลียวที่เรียกว่า (solomonic column) ที่ออกแบบตามรูปร่างของเสาที่เชื่อกันว่าเป็นเสาที่นำมาจากวัดแห่งเยรุซาเล็ม ที่ใช้เป็นซุ้มชิโบเรียมของมหาวิหารเซนต์ปีเตอร์เก่า (Old St. Peter's Basilica) ลำเสาแต่ละเสาหล่อเป็นสามช่วง แต่ละเสาตอนบนตกแต่งด้วยช่อซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของกวีนิพนธ์ ซึ่งเป็นสิ่งที่ โปรด และเป็นสัญลักษณ์ของของความเป็นวีรบุรุษของโลกในสมัยโบราณ จิ้งเหลนที่เกาะอยู่ตามเถาไม้เป็นสัญลักษณ์ของการเกิดใหม่และการแสวงหาพระเจ้า ผึ้งเป็นสัญลักษณ์ของตระกูลซึ่งเป็นตระกูลเกิดของพระสันตะปาปา
เหนือเสาสี่เสาเป็นบัวรอบที่เอนเล็กน้อยไปทางข้างในตามแบบบาโรก เหนือบัวขึ้นไปเป็นโค้งม้วนสี่ม้วนที่โค้งขึ้นไปจรดรับบัวตอนบนที่มีขนาดเล็กกว่าระดับล่าง เหนือบัวขึ้นไปบนยอดซุ้มเป็นลูกโลกประดับกางเขน บนมุมสี่มุมเหนือเสาบนฐานบัวต่ำลงมาจากลูกโลกเป็นเทวดาสี่องค์ที่ดูเหมือนเป็นจุดจบของโค้งม้วนสี่ม้วนที่กล่าว เทวดาเป็นฝีมือของแบร์นินีเอง จากบัวลงมาตกแต่งเป็นเชิงเว้าหยักมีพู่ห้อยที่คล้ายกับการตกแต่งพิดานศักดิ์ของพระสันตะปาปาที่ทำด้วยผ้า
ซุ้มเซนต์ปีเตอร์ตั้งเป็นจุดเด่นอยู่กลางมหาวิหารภายใต้โดม แม้ว่าจะเป็นสิ่งก่อสร้างขนาดใหญ่แต่ก็มีประสิทธิภาพในการเชื่อมระหว่างตัวสิ่งก่อสร้างที่มีขนาดมหึมา กับแท่นบูชาของพระสันตะปาปาที่มีขนาดปกติ และการกระทำพิธีโดยพระสันตะปาปาและผู้ร่วมทำพิธีอื่นๆ ที่รวมไปถึงผู้อยู่ภายในบริเวณช่องทางเดินกลางของมหาวิหาที่มาเข้าร่วมพิธี การสร้างเป็นซุ้มโปร่งทำให้ไม่เป็นสิ่งที่กีดขวางทัศนมิติของผู้ที่ผู้อยู่ตรงช่องทางเดินกลางที่มองไปยังกลุ่มประติมากรรมที่อยู่เลยลึกเข้าไปจากซุ้มที่สร้างโดยแบร์นินีเพื่อตั้ง “” (cathedra petri)
สัมริดที่ใช้สร้างซุ้มเซนต์ปีเตอร์นำมาจากเพดานทางเข้าของตึกแพนธีอันที่ทำให้ (Pasquino) ชาวโรมกล่าวเสียดสีว่า “สิ่งใดที่บาร์บาเรียนไม่ได้ทำลาย, บาร์แบรินิก็ทำลาย” (Quod non fecerunt barbari, fecerunt Barberini) แต่นักวิชาการอย่างน้อยก็คนหนึ่งกล่าวว่าสัมริด 90% ของตึกแพนธิออนนำไปใช้ในการสร้างปืนใหญ่ก่อนหน้านั้นแล้ว และสัมริดที่ใช้ในการสร้างซุ้มเซนต์ปีเตอร์มาจากซุ้มเซนต์ปีเตอร์เวนิส[2] 2007-07-01 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน.
อ้างอิง
- CATHOLIC ENCYCLOPEDIA: Pope Urban VIII [1]
ดูเพิ่ม
แหล่งข้อมูลอื่น
วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ ซุ้มเซนต์ปีเตอร์
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamnixangxingkhristskrach khristthswrrs khriststwrrs sungepnsarasakhykhxngenuxha sumesntpietxr xngkvs St Peter s baldachin epnsumsaridthisrangodycanolernos aebrninithitngxyuehnuxaethnbuchaexkphayitodmkhxngmhawiharesntpietxrinnkhrrthwatikninkrungorm sumsrangkhunephuxhmaythitngkhxngbriewnthiechuxknwaepnthifngphrasphkhxngnkbuypietxrtngaetdngedim thrngepnphucangihcanolernos aebrniniepnphuxxkaebb karkxsrangsumerimkhunineduxnkrkdakhmkhxngpi kh s 1623 aelamaesrclnginxiksibpitxmainpi kh s 1633sumesntpietxrprawtikarkxsrangsumesntpietxrepnngankhnadihychinaerkkhxngcanolernos aebrninithiphsmpratimakrrmaelasthaptykrrmekhadwyknsungklaymaepncudsakhykhxngkarwiwthnakarkhxngxxkaebbkartkaetngphayinkhxngphayinkhristsasnsthan rupthrngkhxngsummacaklksnakarkxsrangsumchioberiymhruxsalachioberiymsungepnsumhinehnuxaethnbuchathiichknmakxnhnanninwdbangwdinxitali aetnganxxkaebbkhxngaebrninitangxxkipcaksumchioberiymbangtrngthiaebrnininaexalksnabangxyangkhxngkarsrangaethntngsph catafalque ekhamaphsmkbkarxxkaebbsumchioberiym aelaephdankhxngsummilksnakhlayephdanthithadwypha echnediywkbphidanskdithiichpkpxngphraesiyrkhxngphrasntapapainoxkaswnskdisiththi aetephdankhxngsumesntpietxrthadwywsduxunaethnthi karkxsrangaelatkaetngthaodyaebrniniaelaephuxnrwmnganxikhlaykhnthirwmthngfranessok bxorminiphuchwyxxkaebbokhrngsrangaela Stefano Maderno Francois Duquesnoy xnedrxa oblci culixaon fienlli aelaluyci aebrninilksnasumesntpietxrepnsumlxythitngxyuehnuxaethnyksungthitngxyuehnuxthitngaethnbuchaexkkhxngmhawiharesntpietxrthiechuxknwatngxyuehnuxcudthiepnthifngphrasphkhxngnkbuypietxr twsumsrangdwysmridbnesasiesa aetlaesatngxyubnthanhinxxnsung esasiesaaetlaessung 20 emtrmilksnabidepnekliywthieriykwa solomonic column thixxkaebbtamruprangkhxngesathiechuxknwaepnesathinamacakwdaehngeyrusaelm thiichepnsumchioberiymkhxngmhawiharesntpietxreka Old St Peter s Basilica laesaaetlaesahlxepnsamchwng aetlaesatxnbntkaetngdwychxsungepnsylksnkhxngkwiniphnth sungepnsingthi oprd aelaepnsylksnkhxngkhxngkhwamepnwirburuskhxngolkinsmyobran cingehlnthiekaaxyutamethaimepnsylksnkhxngkarekidihmaelakaraeswnghaphraeca phungepnsylksnkhxngtrakulsungepntrakulekidkhxngphrasntapapa ehnuxesasiesaepnbwrxbthiexnelknxyipthangkhangintamaebbbaork ehnuxbwkhunipepnokhngmwnsimwnthiokhngkhunipcrdrbbwtxnbnthimikhnadelkkwaradblang ehnuxbwkhunipbnyxdsumepnlukolkpradbkangekhn bnmumsimumehnuxesabnthanbwtalngmacaklukolkepnethwdasixngkhthiduehmuxnepncudcbkhxngokhngmwnsimwnthiklaw ethwdaepnfimuxkhxngaebrniniexng cakbwlngmatkaetngepnechingewahykmiphuhxythikhlaykbkartkaetngphidanskdikhxngphrasntapapathithadwypha sumesntpietxrtngepncudednxyuklangmhawiharphayitodm aemwacaepnsingkxsrangkhnadihyaetkmiprasiththiphaphinkarechuxmrahwangtwsingkxsrangthimikhnadmhuma kbaethnbuchakhxngphrasntapapathimikhnadpkti aelakarkrathaphithiodyphrasntapapaaelaphurwmthaphithixun thirwmipthungphuxyuphayinbriewnchxngthangedinklangkhxngmhawihathimaekharwmphithi karsrangepnsumoprngthaihimepnsingthikidkhwangthsnmitikhxngphuthiphuxyutrngchxngthangedinklangthimxngipyngklumpratimakrrmthixyuelylukekhaipcaksumthisrangodyaebrniniephuxtng cathedra petri smridthiichsrangsumesntpietxrnamacakephdanthangekhakhxngtukaephnthixnthithaih Pasquino chawormklawesiydsiwa singidthibarbaeriynimidthalay baraebrinikthalay Quod non fecerunt barbari fecerunt Barberini aetnkwichakarxyangnxykkhnhnungklawwasmrid 90 khxngtukaephnthixxnnaipichinkarsrangpunihykxnhnannaelw aelasmridthiichinkarsrangsumesntpietxrmacaksumesntpietxrewnis 2 2007 07 01 thi ewyaebkaemchchin xangxingCATHOLIC ENCYCLOPEDIA Pope Urban VIII 1 duephimsala phidanskdi sumchioberiym mhawiharesntpietxraehlngkhxmulxunwikimiediykhxmmxnsmisuxekiywkb sumesntpietxr