บทความนี้ไม่มีจาก |
บทความนี้ต้องการตรวจสอบความถูกต้องจากผู้เชี่ยวชาญในเรื่องนั้น ๆ โปรดเพิ่มพารามิเตอร์ reason หรือ talk ลงในแม่แบบนี้เพื่ออธิบายปัญหาของบทความ |
บทความนี้อาจต้องเขียนใหม่ทั้งหมดเพื่อให้เป็นไปตามของวิกิพีเดีย หรือกำลังดำเนินการอยู่ เนื่องจากเขียนออกนอกประเด็นอย่างยิ่ง คุณช่วยเราได้ อาจมีข้อเสนอแนะ |
ซีป็อป (จีนตัวย่อ: 中文流行音乐; จีนตัวเต็ม: 中文流行音樂; พินอิน: zhōngwén liúxíng yīnyuè ; อังกฤษ: C-pop; Chinese Pop) เป็นแนวเพลงของจีน ที่มีการผสมผสานระหว่าง ป็อป, ร็อก, ฮิปฮอป และแนวดนตรีอีกมากมาย แนวซีป็อปได้รับความนิยมมากในแถบที่มีชาวจีนอาศัยอยู่เป็นจำนวนมาก เช่น จีน, ฮ่องกง, มาเก๊า, ไต้หวัน, มาเลเซีย และ สิงคโปร์
ที่มาของซีป็อป
ศิลปวัฒนธรรมดนตรีจีนมีประวัติความเป็นมายาวนานและมีความหลากหลายจากสภาพทางภูมิศาสตร์ที่กว้างขวาง ในที่นี้จะกล่าวถึง เฉพาะกรณีดนตรีฮั่น (Cantonese Music)ซึ่งเป็นตัวแทนดนตรีขนบประเพณีของจีนมาตลอดเวลา
สมัยสาธารณรัฐ
ราชวงศ์ชิงเสื่อม แมนจูเข้าช่วยปราบกบฏชาวนา-ยึดกรุงปักกิ่งเป็นราชธานี ช่วงหลังเกิดปัญหามาก ประเทศตะวันตกแผ่อิทธิพลเข้ามาในจีน เกิดสงครามฝิ่นกับอังกฤษ (1839-42) กบฏไตปิง (1850) สงครามญี่ปุ่น (1894) เกิดขบวนการอั้งยี่ การฉ้อราษฏรบังหลวง ฯลฯ จนกระทั่งพระเจ้าปูยีฮ่องเต้องค์สุดท้ายสละราชสมบัติ ปี 1911จีนเข้าสู่ระบบการปกครองสาธารณรัฐและเป็นการสิ้นสุดประวัติศาสตร์อันยาว นานของดนตรีจีนราชสำนักด้วย เกิดความขัดแย้งระหว่างเก่า-ใหม่ คนรุ่นใหม่ ชนชั้นกลางสนับสนุนเรียนดนตรีตะวันตกกันมากขึ้น มีการตั้งภาควิชา ดุริยางคศาสตร์ในมหาวิทยาลัยปักกิ่งในปี 1923และโรงเรียนศิลปะดนตรีตะวันตกในเซี่ยงไฮ้ปี 1927 ดนตรีฝรั่งกลายเป็นแฟชั่นของปัญญาชนจีนยุคใหม่ในขณะนั้น ส่วนดนตรีแบบฉบับดั้งเดิมและเครื่องดนตรีแท้ๆของจีนกลับเป็นของป่าเถื่อนล้า สมัยไป บทเพลงเกิดใหม่ตั้งแต่ 1930 เป็นต้นมาใช้เทคนิคการประพันธ์และเรียบเรียงเสียงประสานแบบตะวันตก เครื่องดนตรีที่ใช้บรรเลงก็เป็นฝรั่งอย่างไม่มีทางเลี่ยง รูปแบบคีตนิพนธ์ที่ผลิตออกมามีทั้ง leider, sonata, concerto, symphony, choral และ opera แต่ก็ยังมีคีตกวีรุ่นใหม่บางคนพยายามที่จะหาวิธีประสมประสานระหว่างดนตรีจีน เก่ากับดนตรีตะวันตกเพื่อให้เป็นมาตรฐานใหม่ของวัฒนธรรมจีน นอกจากแนวคลาสสิก ดนตรีพ็อพก็เป็นที่เฟื่องฟูมากโดยเฉพาะในเขตเศรษฐกิจสำคัญคือเมืองเซี่ยงไฮ้ เรียกดนตรีพ็อพนี้ว่า Yellow music เนื้อหาประโลมโลกย์ เทคนิคการร้องแบบตะวันตก ทำนองช้าเนิบหวาน มีงานเพลงใหม่มากมายเล่นในบาร์ ไนต์คลับ งานเลี้ยงสังสรรค์ และมีบทบาทสืบเนื่องไปถึงอุตสาหกรรมภาพยนตร์ที่เกิดใหม่ในจีนด้วย
เมื่อถึงปี 1949 เหมา เจ๋อ ตุง เปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นสังคมนิยม คอมมิวนิสต์เข้าควบคุมงานทางวัฒนธรรม ย้อนไปเมื่อปี 1937 ประธานเหมาเคยได้กล่าวสุนทรพจน์ที่สภาปฏิวัติเยนอานเกี่ยวกับวรรณคดีและ ดนตรีว่าควรมีหน้าที่ประหนึ่งอาวุธอันทรงพลังที่จะสร้างเอกภาพและให้การ ศึกษาทางจิตสำนึกแก่ประชาชนเพื่อเอาชนะและทำลายล้างข้าศึกที่เป็นปฏิปักษ์ ต่อสังคมนิยม เมื่อปฏิวัติสำเร็จจึงเกิดการสนองตอบในเชิงสร้างสรรค์ดนตรีเน้นนโยบายศิลปะ รับใช้มวลชน mass music ดนตรีเพื่อสังคมนิยมและเพลงชาวบ้านมีบทบาทเด่นมากโดยเฉพาะช่วง 1949-64 เกิดวรรณกรรมเพลง Geming Guqu เพื่อรับใช้อุดมการณ์ทางการเมืองของพรรคคอมมิวนิสต์ และหันมาหาวิธีการปรับแนวตะวันตกในการรับใช้จีน สนับสนุนเพลงพื้นบ้าน เพลงปฏิวัติ เพลงเชิดชูสังคมนิยม กรรมาชีพ นิยมเพลงร้องหมู่-เพลงมาร์ชที่แสดงพลังมวลชน มากกว่าเพลงร้องเดี่ยวที่ สื่อศิลปะส่วนตัว งานอุปรากรจีนสดุดีนักรบประชาชนได้รับการสนับสนุนอย่างแข็งขัน รวมทั้งการปรับเปลี่ยนท่วงท่าของการแสดงที่อ่อนช้อยจากจีนเดิมมาสู่การ เคลื่อนไหวแนวขึงขังทรงพลังอย่างบัลเล่ต์รัสเซีย
ยุคปฏิวัติวัฒนธรรม
The Cultural Revolution 1966-76 ประธานเหมาเจ๋อตุงรื้อฟื้นอำนาจตนเอง เป็นผู้นำการทำลายล้างปราบปรามบุคคลฝ่ายที่ยังคงคิดเห็นในทางตรงข้ามอย่าง รุนแรงด้วยการสนับสนุนเยาวชนเรดการ์ด กองกำลังติดอาวุธ และการดำเนินงานทางวัฒนธรรมการเมืองซ้ายสุดกู่ภายใต้แก็งค์สี่คน Gang of four ผู้มีบทบาทเด่นในการปรับปรุงระบบวัฒนธรรมคือภรรยาของประธานเหมา นางเจียง ชิง Jiang Qing งดเว้นดนตรีศักดินา (ดนตรีคลาสสิคตะวันตกและดนตรีราชสำนัก) สั่งปิดโรงเรียนและกิจการดนตรีตะวันตกไม่ว่าจะเป็นอุตสาหกรรมแผ่นเสียง สถานบันเทิง สลายคณะศิลปินพื้นบ้าน ยกเลิกประเพณีโบราณเช่นเทศกาลโคมและแข่งเรือ มีกรรมาธิการตรวจสอบงานแสดงต่อสาธารณะว่ามีความสอดคล้องกับนโยบายของรัฐหรือ ไม่เพียงไรไม่ว่าจะเป็นเนื้อร้องทำนองหรือท่าทางในการแสดง กล่าวได้ว่ายุคปฏิวัติวัฒนธรรมนี้เป็นยุคมืดของดนตรีจีนที่สุดยุคหนึ่ง
ดนตรีจีนยุคปัจจุบัน
หลังจากมรณกรรมของประธานเหมา ขั้วอำนาจเก่าสลายตัวลง เติ้ง เสี่ยว ผิง เข้าปกครองแทน ปรับเปลี่ยนแนวทางการเมืองจีนไปในทางผ่อนปรนมากขึ้นรวมทั้งเปิดประตูความ สัมพันธ์กับนานาชาติอีกครั้ง รัฐบาลรุ่นหลังๆใส่ใจปฏิรูปการปกครองและพัฒนาคนในชาติในทุกๆทางอย่างได้ผล ระบบดนตรีเป็นอิสระมากขึ้น คีตกวีรุ่นใหม่ที่มีความสำนึกในชาติ สนใจหันกลับไปพัฒนาดนตรีจีนเดิมให้ทันสมัยมากขึ้น มีการขยายวงดนตรีจีนเดิมจากวงเล็กๆกลายเป็นออร์เคสตร้าขนาดใหญ่ เพิ่มเติมเครื่องดนตรีจีนที่มีสุ้มเสียงแตกต่างเข้าร่วมในวงจีนเดิม พัฒนาการบรรเลงให้มีความร่วมสมัยมากขึ้นจนเป็นที่ยอมรับทั่วโลก นอกจากนี้ยังมีการตั้งสมาพันธ์ดนตรีแห่งชาติยกย่องเชิดชูเกียรตินักดนตรีจีน เดิมให้เป็นที่ประจักษ์แก่สังคม ส่วนดนตรีสากลก็ได้รับการเอาใจใส่อย่างดีจากรัฐบาล มีหน่วยงานการศึกษาที่มีประสิทธิภาพ จัดการแข่งขันทางดนตรีเพื่อผลิตบุคลากรที่มีฝีมือยอดเยี่ยมออกมามากมาย มีวงดนตรีสากลประจำรัฐ ประจำท้องถิ่น ประจำสถานีวิทยุโทรทัศน์ มีอุตสาหกรรมผลิตเครื่องดนตรีทุกประเภทส่งออกทั่วโลก
ศิลปินจีนยุคหลังที่มีชื่อเสียง เช่น เสียน ซิงไห่ xian xinghai(1905-45) แต่งเพลงแม่น้ำเหลือง Yellow River Cantata (ต่อมากลายเป็น Yellow River concerto), เฉิน กัง Chen gang และเหอ ซ่าน ห่าว He zhan hoแต่งเพลงบัตเตอร์ฟลายเลิฟเวอร์คอนแชร์โต้ the butterfly lovers concerto, หัว หยั่น จุ้น Hua Yan Jun (1893-1950) หรือ “อาปิง” Ah Bing อัจฉริยะตาบอด แต่งเพลงสำหรับซอเออร์หูจำนวนมาก, เติ้ง ลี่ จวิน (Deng Li-Chun หรือ Theresa Deng) นักร้องเพลงสมัยนิยมจากไต้หวันซึ่งกลายมาเป็นที่นิยมมากในจีน, ตาน ดุน Tan Dun แต่งเพลงแนวก้าวหน้า (modern music) และเพลงประกอบภาพยนตร์ (film music) มีชื่อเสียงมากในปัจจุบัน, ซุย เจี๋ยน (Cui Jian) และ หู เต้เจี๋ยน (Hou Dejian) นักดนตรีร็อคหัวรุนแรงที่มีอิทธิพลต่อคนหนุ่มสาวยุคใหม่ของจีน
ซีป็อปแบบจำแนกประเภท
นอกจากนี้ ซีป็อปยังแยกประเภทภาษาจีนของตนอีก เช่น
- แมนดารินป็อป (อังกฤษ: Mandopop; Mandarin Pop)
เป็นแนวเพลงซีป็อปแบบใช้ภาษาจีนกลางเป็นส่วนใหญ่ ซึ่งศิลปินแนวป็อปจีนกลางที่มีชื่อดังตั้งแต่ยุคอดีตถึงปัจจุบัน เช่น
ฮ่องกง | ไต้หวัน |
---|---|
- แคนโทป็อป (อังกฤษ: Cantopop; Cantonese Pop)
เป็นแนวซีป็อปแบบใช้ภาษาจีนกวางตุ้ง ศิลปินที่ประสบความสำเร็จกับแนวนี้ได้แก่ จางเซี๊ยะโหย่ว, , , เฉินอี้ซวิ่น เป็นต้น
และ 2 แนวนี้ได้รับความนิยมในจีนมาก
ซีป็อปในประเทศไทย
ในประเทศไทย ซีป็อป มักจะมาในรูปแบบของแฟชั่นการแต่งตัวและทรงผมเป็นส่วนใหญ่ และที่ซีป็อปจะโด่งดังมากก็คือเพลงประกอบละครกับภาพยนตร์เป็นส่วนมาก ซึ่งดาราไทยที่ทำทรงผมแบบนักร้องนักแสดงจีน (ในที่นี้รวมไปถึงฮ่องกงกับไต้หวันด้วย) เช่น หนุ่ม ศรราม, โชคชัย เจริญสุข, มอส ปฏิภาณ เป็นต้น ส่วนอิทธิพลทรงผมชายหญิงไทยยุคนั้น ส่วนใหญ่มาจากกัวฟู่เฉิงกับ หลินจื้ออิง เป็นส่วนมาก
อ้างอิง
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir bthkhwamnitxngkartrwcsxbkhwamthuktxngcakphuechiywchayineruxngnn oprdephimpharamietxr reason hrux talk lnginaemaebbniephuxxthibaypyhakhxngbthkhwamemuxwangaethkni ihphicarnaechuxmoyngkhakhxnikbokhrngkarwikibthkhwamnixactxngekhiynihmthnghmdephuxihepniptammatrthankhunphaphkhxngwikiphiediy hruxkalngdaeninkarxyu enuxngcakekhiynxxknxkpraednxyangying khunchwyeraid xacmikhxesnxaena sipxp cintwyx 中文流行音乐 cintwetm 中文流行音樂 phinxin zhōngwen liuxing yinyue xngkvs C pop Chinese Pop epnaenwephlngkhxngcin thimikarphsmphsanrahwang pxp rxk hiphxp aelaaenwdntrixikmakmay aenwsipxpidrbkhwamniymmakinaethbthimichawcinxasyxyuepncanwnmak echn cin hxngkng maeka ithwn maelesiy aela singkhoprthimakhxngsipxpsilpwthnthrrmdntricinmiprawtikhwamepnmayawnanaelamikhwamhlakhlaycaksphaphthangphumisastrthikwangkhwang inthinicaklawthung echphaakrnidntrihn Cantonese Music sungepntwaethndntrikhnbpraephnikhxngcinmatlxdewla smysatharnrth rachwngschingesuxm aemncuekhachwyprabkbtchawna yudkrungpkkingepnrachthani chwnghlngekidpyhamak praethstawntkaephxiththiphlekhamaincin ekidsngkhramfinkbxngkvs 1839 42 kbtitping 1850 sngkhramyipun 1894 ekidkhbwnkarxngyi karchxrastrbnghlwng l cnkrathngphraecapuyihxngetxngkhsudthayslarachsmbti pi 1911cinekhasurabbkarpkkhrxngsatharnrthaelaepnkarsinsudprawtisastrxnyaw nankhxngdntricinrachsankdwy ekidkhwamkhdaeyngrahwangeka ihm khnrunihm chnchnklangsnbsnuneriyndntritawntkknmakkhun mikartngphakhwicha duriyangkhsastrinmhawithyalypkkinginpi 1923aelaorngeriynsilpadntritawntkinesiyngihpi 1927 dntrifrngklayepnaefchnkhxngpyyachncinyukhihminkhnann swndntriaebbchbbdngedimaelaekhruxngdntriaethkhxngcinklbepnkhxngpaethuxnla smyip bthephlngekidihmtngaet 1930 epntnmaichethkhnikhkarpraphnthaelaeriyberiyngesiyngprasanaebbtawntk ekhruxngdntrithiichbrrelngkepnfrngxyangimmithangeliyng rupaebbkhitniphnththiphlitxxkmamithng leider sonata concerto symphony choral aela opera aetkyngmikhitkwirunihmbangkhnphyayamthicahawithiprasmprasanrahwangdntricin ekakbdntritawntkephuxihepnmatrthanihmkhxngwthnthrrmcin nxkcakaenwkhlassik dntriphxphkepnthiefuxngfumakodyechphaainekhtesrsthkicsakhykhuxemuxngesiyngih eriykdntriphxphniwa Yellow music enuxhapraolmolky ethkhnikhkarrxngaebbtawntk thanxngchaenibhwan minganephlngihmmakmayelninbar intkhlb nganeliyngsngsrrkh aelamibthbathsubenuxngipthungxutsahkrrmphaphyntrthiekidihmincindwy emuxthungpi 1949 ehma ecx tung epliynaeplngkarpkkhrxngepnsngkhmniym khxmmiwnistekhakhwbkhumnganthangwthnthrrm yxnipemuxpi 1937 prathanehmaekhyidklawsunthrphcnthisphaptiwtieynxanekiywkbwrrnkhdiaela dntriwakhwrmihnathiprahnungxawuthxnthrngphlngthicasrangexkphaphaelaihkar suksathangcitsanukaekprachachnephuxexachnaaelathalaylangkhasukthiepnptipks txsngkhmniym emuxptiwtisaerccungekidkarsnxngtxbinechingsrangsrrkhdntriennnoybaysilpa rbichmwlchn mass music dntriephuxsngkhmniymaelaephlngchawbanmibthbathednmakodyechphaachwng 1949 64 ekidwrrnkrrmephlng Geming Guqu ephuxrbichxudmkarnthangkaremuxngkhxngphrrkhkhxmmiwnist aelahnmahawithikarprbaenwtawntkinkarrbichcin snbsnunephlngphunban ephlngptiwti ephlngechidchusngkhmniym krrmachiph niymephlngrxnghmu ephlngmarchthiaesdngphlngmwlchn makkwaephlngrxngediywthi suxsilpaswntw nganxuprakrcinsdudinkrbprachachnidrbkarsnbsnunxyangaekhngkhn rwmthngkarprbepliynthwngthakhxngkaraesdngthixxnchxycakcinedimmasukar ekhluxnihwaenwkhungkhngthrngphlngxyangbleltrsesiy yukhptiwtiwthnthrrm The Cultural Revolution 1966 76 prathanehmaecxtungruxfunxanactnexng epnphunakarthalaylangprabprambukhkhlfaythiyngkhngkhidehninthangtrngkhamxyang runaerngdwykarsnbsnuneyawchnerdkard kxngkalngtidxawuth aelakardaeninnganthangwthnthrrmkaremuxngsaysudkuphayitaekngkhsikhn Gang of four phumibthbathedninkarprbprungrabbwthnthrrmkhuxphrryakhxngprathanehma nangeciyng ching Jiang Qing ngdewndntriskdina dntrikhlassikhtawntkaeladntrirachsank sngpidorngeriynaelakickardntritawntkimwacaepnxutsahkrrmaephnesiyng sthanbnething slaykhnasilpinphunban ykelikpraephniobranechnethskalokhmaelaaekhngerux mikrrmathikartrwcsxbnganaesdngtxsatharnawamikhwamsxdkhlxngkbnoybaykhxngrthhrux imephiyngirimwacaepnenuxrxngthanxnghruxthathanginkaraesdng klawidwayukhptiwtiwthnthrrmniepnyukhmudkhxngdntricinthisudyukhhnung dntricinyukhpccubn hlngcakmrnkrrmkhxngprathanehma khwxanacekaslaytwlng eting esiyw phing ekhapkkhrxngaethn prbepliynaenwthangkaremuxngcinipinthangphxnprnmakkhunrwmthngepidpratukhwam smphnthkbnanachatixikkhrng rthbalrunhlngisicptirupkarpkkhrxngaelaphthnakhninchatiinthukthangxyangidphl rabbdntriepnxisramakkhun khitkwirunihmthimikhwamsanukinchati snichnklbipphthnadntricinedimihthnsmymakkhun mikarkhyaywngdntricinedimcakwngelkklayepnxxrekhstrakhnadihy ephimetimekhruxngdntricinthimisumesiyngaetktangekharwminwngcinedim phthnakarbrrelngihmikhwamrwmsmymakkhuncnepnthiyxmrbthwolk nxkcakniyngmikartngsmaphnthdntriaehngchatiykyxngechidchuekiyrtinkdntricin edimihepnthipracksaeksngkhm swndntrisaklkidrbkarexaicisxyangdicakrthbal mihnwyngankarsuksathimiprasiththiphaph cdkaraekhngkhnthangdntriephuxphlitbukhlakrthimifimuxyxdeyiymxxkmamakmay miwngdntrisaklpracarth pracathxngthin pracasthaniwithyuothrthsn mixutsahkrrmphlitekhruxngdntrithukpraephthsngxxkthwolk silpincinyukhhlngthimichuxesiyng echn esiyn singih xian xinghai 1905 45 aetngephlngaemnaehluxng Yellow River Cantata txmaklayepn Yellow River concerto echin kng Chen gang aelaehx san haw He zhan hoaetngephlngbtetxrflayelifewxrkhxnaechrot the butterfly lovers concerto hw hyn cun Hua Yan Jun 1893 1950 hrux xaping Ah Bing xcchriyatabxd aetngephlngsahrbsxexxrhucanwnmak eting li cwin Deng Li Chun hrux Theresa Deng nkrxngephlngsmyniymcakithwnsungklaymaepnthiniymmakincin tan dun Tan Dun aetngephlngaenwkawhna modern music aelaephlngprakxbphaphyntr film music michuxesiyngmakinpccubn suy eciyn Cui Jian aela hu eteciyn Hou Dejian nkdntrirxkhhwrunaerngthimixiththiphltxkhnhnumsawyukhihmkhxngcinsipxpaebbcaaenkpraephthnxkcakni sipxpyngaeykpraephthphasacinkhxngtnxik echn aemndarinpxp xngkvs Mandopop Mandarin Pop epnaenwephlngsipxpaebbichphasacinklangepnswnihy sungsilpinaenwpxpcinklangthimichuxdngtngaetyukhxditthungpccubn echn hxngkng ithwnkwfueching ehmyynfang hliwetxhw echinehwything sikhaychi l hlincuxxing esiywhutuy exfofr ochw hlw ecec hlin laekhnothpxp xngkvs Cantopop Cantonese Pop epnaenwsipxpaebbichphasacinkwangtung silpinthiprasbkhwamsaerckbaenwniidaek cangesiyaohyw echinxiswin epntn aela 2 aenwniidrbkhwamniymincinmaksipxpinpraethsithyinpraethsithy sipxp mkcamainrupaebbkhxngaefchnkaraetngtwaelathrngphmepnswnihy aelathisipxpcaodngdngmakkkhuxephlngprakxblakhrkbphaphyntrepnswnmak sungdaraithythithathrngphmaebbnkrxngnkaesdngcin inthinirwmipthunghxngkngkbithwndwy echn hnum srram ochkhchy ecriysukh mxs ptiphan epntn swnxiththiphlthrngphmchayhyingithyyukhnn swnihymacakkwfuechingkb hlincuxxing epnswnmakxangxing