อาหม (อัสสัม: আহোম; อาโหมะ) หรือ ไทอาหม กลุ่มชาติพันธุ์กลุ่มหนึ่งซึ่งอาศัยในรัฐอัสสัมของประเทศอินเดีย เดิมใช้ภาษาอาหม ใน ซึงเป็นภาษาในกลุ่มภาษากัม-ไท ตระกูลภาษาขร้า-ไท แต่ชาวอาหมในปัจจุบันนั้นหันไปใช้ภาษาตระกูลอินโด-ยุโรเปียนแล้ว จนเมื่อปลายคริสต์ศตวรรษที่ 20 จนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 21 ชาวอาหมได้เกิดความสนใจในวัฒนธรรมดั้งเดิมของตน จึงเกิดความพยายามที่จะศึกษาและฟื้นฟูวัฒนธรรมดั้งเดิมมากยิ่งขึ้น
ชาวอาหมในพิธีกรรมตามลัทธิฟ้าหลวง | |
ภูมิภาคที่มีประชากรอย่างมีนัยสำคัญ | |
ภาษา | |
ภาษาอัสสัม อดีตใช้ ภาษาอาหม | |
ศาสนา | |
ลัทธิฟ้าหลวงควบคู่กับฮินดู, ศาสนาพุทธ | |
กลุ่มชาติพันธุ์ที่เกี่ยวข้อง | |
ไทใหญ่, อ่ายตน, คำตี่, คำยัง |
ชาวอาหมในปัจจุบันมีจำนวนมากกว่าชาวไทกลุ่มอื่นที่อพยพมายังอัสสัม ซึ่งในปี ค.ศ. 1990 ชาวอาหมมีจำนวนประชากรราว 2 ล้านคนในรัฐอัสสัม และรัฐอรุณาจัลประเทศ และมีชาวอัสสัมราว 8 ล้านคนที่อ้างว่ามีบรรพบุรุษหรือสืบเชื้อสายมาจากชาวอาหม
ประวัติ
ราว พ.ศ. 1763 ใกล้เคียงกับสมัยที่ตั้งอาณาจักรสุโขทัย ชาวไทพวกหนึ่ง ชื่อว่า "อาหม" ได้อพยพเข้ามาในดินแดนนี้ โดยข้ามภูเขาปาดไก่ทางเหนือของพม่า ไทพวกนี้มาจากอาณาจักรไทโบราณอาณาจักรหนึ่ง เรียกว่า "ปง" คือโมกอง (เมืองกอง) ในพม่าทางเหนือ และเริ่มประวัติศาสตร์อาหมเมื่อ พ.ศ. 1796 เมื่อเสือก่าฟ้า ปฐมบรมราชวงศ์อาหมได้วางรากฐานในอาณาจักรของพระองค์ ช่วงแรกของชาวอาหมนั้นอพยพมาตามตำนานกล่าวไว้ว่ามีกษัตริย์ 1 พระองค์ ขุนนาง 8 คน ช้าง 2 เชือก และม้าอีก 300 ตัว ประชากร 9,000 คน รวมทั้งสตรี และเด็ก
อาหมเป็นไทพวกเดียวกับไทใหญ่ เมื่อแรกเข้าไป ได้ตั้งภูมิลำเนาลงที่ นามรูป และได้พบชนเจ้าของถิ่นสองข้างข้างหนึ่งคือ ซึ่งครองทางตะวันออกของแม่น้ำสุพรรณสิริ อีกข้างหนึ่งมาจากโมราน ยึดครองพื้นที่แม่น้ำทิขุ และแม่น้ำทิหิง พวกอาหมต้องพิพาทกับพวก และราว พ.ศ. 1779 อาหมจึงตั้งเมืองหลวงที่อภัยปุระ ต่อมาอีก 20 ปีก็ขยายตัวออกไปตั้งเมืองใหม่ชื่อ เมืองเจ้รายดอย เป็นเมืองหลวงแรกแห่งอาณาจักรอาหม เมื่อย้ายเมืองหลวงไปที่อื่น ก็ยังให้ความสำคัญแก่เมืองเจ้รายดอย พระศพของกษัตริย์จะถูกฝังที่เมืองนี้ เวลาอาหมรบชนะ ก็จะตัดหัวของข้าศึกมาฝังที่เจ้รายดอย
พงศาวดาร
ชาวไทอาหมเป็นพวกที่รู้หนังสือ จึงมีตำนานพงศาวดารเป็นของตนเอง ตำนานเล่มนี้เรียกว่า (Ahom Buranji อ่านว่า อาหม บุราณจี ) เป็นเอกสารที่ช่วยให้ศึกษาประวัติศาสตร์ของไทอาหมได้ดี และส่วนใหญ่บุราณจีนั้นจะเขียนด้วยภาษา และอักษรอาหม ซึ่งคาดว่าชาวอาหมอ่านไม่ออกตั้งแต่ 200-400 ปีที่แล้ว ในพงศาวดารนี้ก็จะมีเรื่องเกี่ยวกับนิยายการสร้างโลก ประวัติต้นตระกูลกษัตริย์อาหม ประเพณี และวัฒนธรรม รวมไปถึงพระราชประวัติของกษัตริย์อาหมในแต่ละพระองค์
วัฒนธรรม ความเชื่อ ศาสนา
อาหมเป็นชาวไทที่ไม่ได้รับศาสนาพุทธ เมื่อเสือก่าฟ้านำชาวไทจากเมืองเมาหลวงในรัฐฉานจำนวน 90,000 คน ข้ามช่องเขาปาดไก่มาตั้งอาณาจักรในลุ่มแม่น้ำพรหมบุตรในปี ค.ศ. 1228 และตลอดเวลากว่า 600 ปีที่เป็นเอกราช สังคมอาหมเองก็ไม่ได้รับความเชื่อจากศาสนาพุทธเลย
ผีของชาวอาหมเกิดจากธรรมชาติและบรรพบุรุษ โดยอาหมบุราณจีภาคสวรรค์ ได้กล่าวว่า ฟ้า (หรือ ฟ้าตือจึ้ง) เป็นผู้สร้างสรรพสิ่ง เป็นผู้สร้างเลงดอน (หรือ ฟ้าเหนือหัว) ผู้ครองเมืองฟ้า เลงดอนได้ส่งขุนหลวงขุนหลายผู้เป็นหลานลงมาครองเมืองมนุษย์พร้อมกับชาวฟ้าจำนวนหนึ่ง ขุนหลวงขุนหลายจึงเป็นบรรพบุรุษของเสือก่าฟ้า ส่วนชาวฟ้าที่ลงมาด้วยก็เป็นบรรพบุรุษของชาวไท เมื่อขุนหลวงขุนหลายลงมาจากฟ้า ครั้งนั้นบนพื้นดินเองก็มีคนชาติอื่นอยู่แล้ว บนเมืองฟ้าหรือที่ภาษาอาหมเรียกว่า เมืองผี มีเทพหรือผีต่างๆ หลายองค์ ตามที่ปรากฏในอาหมบุราณจี เช่น ฟ้าสางดิน, แสงกำฟ้า (เทพแห่งสายฟ้า), งี่เงาคำ (หรือ ฟ้าบดร่มสางคำ), เจ้าสายฝน, นางแสงดาว, ย่าแสงฟ้า (เทพแห่งปัญญา), แลงแสง, ลาวขรี (เทพแห่งการก่อสร้าง), ขุนเดือน และขุนวัน เป็นต้น ซึ่งจะเห็นได้ว่าผีเหล่านี้เป็นธรรมชาติ คือ ฟ้า ดิน แสง เดือน ตะวัน เป็นต้น นอกจากนี้ยังปรากฏชื่อผีจากธรรมชาติอีกหลายองค์ เช่น สายลม, ผีไฟ, ผีตามทุ่ง, นางอ้ายดอกคำแดง, ผีเถื่อน (ภาษาอาหมเรียก ป่า ว่า เถื่อนหรือ ดง), ผีขุงชั้นหมอก, ผีขุงชั้นขุงเหมือย, ผีดอย ฯลฯ
นอกจากนี้ชาวอาหมยังนับถือผีบรรพบุรุษด้วย โดยบุราณจีภาคสวรรค์ได้กล่าวถึง แสงก่อฟ้า กษัตริย์พระองค์หนึ่ง เมื่อสวรรคตไปแล้วกลายเป็นผีเรือนคอยดูแลทุกข์สุขของคนในครอบครัว ความว่า "แสงก่อฟ้า...ตายเป็นด้ำผีเรือนช่วยคุ้ม" ส่วนอาหมบุราณจีภาคพื้นดินได้กล่าวถึง ผีด้ำ ซึ่งตามพจนานุกรมอาหมแปลว่า คนที่ตายไปแล้ว และคำว่า ด้ำเรือน มีความหมายว่า บรรพบุรุษที่ตายไปแล้วกลายเป็นผีเฝ้าเรือน โดยในอาหมบุราณจีภาคพื้นดิน ได้กล่าวตอนหนึ่งว่า "เจ้าฟ้าจึงมาเมืองมาตักแขก (เคารพบูชา) ผีด้ำที่ว่านี้" และกล่าวถึงกษัตริย์อาหมประกอบพิธีเมด้ำเมผี ชาวอาหมถือว่าบรรพบุรุษที่เหนือเราไปชั้นแรกๆ หรือผู้ที่ตายไปไม่กี่ชั่วอายุคนจะคอยปกป้องครอบครัวญาติพี่น้องที่ยังอยู่ แต่หากตายไปนานมากแล้วก็จะขึ้นไปยังสวรรค์ชั้นฟ้าไม่ลงมาช่วยเราอีก โดยความเชื่อเรื่องผีบรรพบุรุษที่คอบปกป้องดูแลลูกหลานยังมีอยู่ในสังคมไทยในปัจจุบัน ที่มีหิ้งบูชาในเรือน โดยบนหิ้งนั้นถือเป็นที่สิงสถิตของผีบรรพบุรุษหลายซับหลายซ้อน หรือหลายชั่วอายุคนจนนับไม่ได้
ชาวอาหมไม่เคยสูญเสียการบูชาบรรพบุรุษ เพียงแต่หันไปนับถือศาสนาพราหมณ์-ฮินดูมากขึ้นเท่านั้น ด้วยเหตุสูญเสียสถานะในการปกครองไปจึงกลายเป็นพวกนอกวรรณะ ปัญญาชนชาวอาหมที่เป็นผู้นำในการเลิกนับถือศาสนาฮินดูได้ทำให้พิธีการบูชาบรรพบุรุษเด่นชัดขึ้น พร้อมทั้งมีการจัดพิธีไหว้ผีเป็นประจำ โดยมีการตั้งหลักไฟ ซึ่งเป็นเสาไม้จุดรายรอบปะรำเล็กๆ ไหว้บรรพบุรุษ รวมไปถึงพิธีบูชาบรรพบุรุษที่เรียกว่า เมด้ำเมผี ครั้งใหญ่ที่สุดในเมืองรังคปุระ แต่ชาวอาหมฮินดูบางส่วนอย่างเช่นในหมู่บ้านบอราโจโหกีจึงมีแนวโน้มหันไปนับถือศาสนาพุทธกันมากขึ้นเพื่อลดปัญหาเกี่ยวกับวรรณะ โดยมีนายทนุราม โกกอย เป็นชาวไทอาหมคนแรกที่เปลี่ยนมานับถือศาสนาพุทธ โดยปฏิบัติศาสนกิจกันที่วัดทิสังปานี ในหมู่บ้านทิสังปานี ของชาวไทคำยัง
ปัจจุบันชาวอาหมได้มีความพยายามที่จะฟื้นฟูวัฒนธรรมของตนเองขึ้นใหม่ มีความต้องการผู้เชี่ยวชาญทางภาษาชาวไทยให้ความช่วยเหลือทางด้านการฟื้นฟูภาษา เพราะในบรรดาเผ่าไททั้งหลายมีไทยสยามที่มีเสถียรภาพทุกด้าน ทั้งยังมีการเสนอว่าหากใช้ภาษาไทยเป็นแกนกลางในการประสานงานคนไททุกเผ่าเข้าด้วยกัน วัฒนธรรมไทก็จะเป็นเอกภาพมากขึ้น ทั้งนี้อาหมไม่ได้ต้องการความบริสุทธิ์ของภาษา แต่ต้องการให้พัฒนาภาษาไทที่พวกเขาจะกลับมาใช้ในชีวิตประจำวัน
มีการสร้างสัญลักษณ์ทางวัฒนธรรมของชาวอาหมคือ เทพเจ้าของชาวอาหม มีการกลับมาใช้ศักราชเสือก่าฟ้า การใช้คำว่า เจ้า และ นาง นำหน้านาม การตั้งอนุสาวรีย์หล้าเจ็ด ซึ่งเป็นวีรบุรุษชาวอาหม และบางบ้านก็มีการประดับพระบรมฉายาลักษณ์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและพระบรมวงศานุวงศ์ของไทยไว้ด้วย แต่การฟื้นฟูวัฒนธรรมต้องใช้เวลานาน เนื่องจากอัสสัมเป็นดินแดนปิด และรัฐบาลกลางของอินเดียก็ไม่อยากให้อัสสัมติดต่อกับต่างประเทศโดยเฉพาะประเทศไทย เมื่อครั้งที่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จฯ เยือนประเทศอินเดีย อินเดียก็มิได้จัดให้พระองค์เสด็จแวะเยือนชาวไทในอัสสัม นอกจากนี้ชาวต่างประเทศที่จะเดินทางเข้าไปอัสสัมจะต้องขอใบอนุญาตพิเศษจากรัฐบาลกลางของอินเดียเสียก่อน ถือเป็นอุปสรรคต่อการฟื้นฟูวัฒนธรรมอาหมในปัจจุบัน
ประเพณี
ก่อนได้รับอิทธิพลจากพราหมณ์-ฮินดู ชาวอาหมนับถือผี พิธีกรรมมักปรากฏให้เห็นถึงการบูชาผี, ผีธรรมชาติ และผีบรรพบุรุษ เพราะชาวอาหมเชื่อว่าผีสามารถดลบรรดาลให้ชีวิตเป็นอย่างไรก็ได้ ในภาษาอาหมจะเรียกการบูชาผีว่า เมด้ำเมผี, แขกผี, นอกผี, ไหว้ผีไหว้สาง เป็นต้น โดยในอาหมบุราณจีได้ปรากฏเรื่องเกี่ยวกับผี ในรัชสมัยของเสือเปิงเมืองฟ้า (ครองราชย์ 1663-1669) ที่เสียเมืองเจ้หุงแก่จักรวรรดิโมกุล ว่าเป็นเพราะ "ผีสางให้เป็นดังนี้กอย" โดยการบูชาผีจะมีในทุกพิธีที่สำคัญของชาวอาหมอย่างพิธีราชาภิเษก (เฮ็ดเจ้า หรือ เฮ็ดขุนนั่งเมือง), พิธีแต่งงาน (ปลงสาวปลงชู้), ปีที่ดาวให้โทษต่อเมือง (หลักนีค่ำเมือง) หรือเวลาเจ็บไข้ได้ป่วย (ล้มไข้ หรือ หลอนหนาว) โดยในพิธีเรียกขวัญเจ้าฟ้าวันราชาภิเษกทั้งหมดจะเป็นการเรียกผีเฉพาะผีชั้นฟ้าให้ช่วยในการปกครองบ้านเมืองของเจ้าฟ้า เจ้าฟ้าจะอ้างตนเป็นหลานของผีชั้นฟ้า
สิ่งของที่ใช้ในการบูชาผี ได้แก่ ข้าว ผัก ดอกไม้ อ้อย หมากพลู ไข่ ไก่ เป็ด หมู และควาย เป็นต้น สำหรับสิ่งมีชีวิตมีการฆ่าภายในพิธีนั้นเลยในบางครั้ง อย่างเช่นในพิธีราชาภิเษกจะมีการฆ่าควาย ส่วนการฆ่าคนสังเวยผีปรากฏในอาหมบุราณจีเพียงครั้งเดียวในรัชสมัยของเสือปาดฟ้า (ครองราชย์ ค.ศ. 1681-1696) กล่าวว่า "สองขานี้ให้ผีหลวง" และอีกตอนหนึ่งว่า "ชื่อมันเลบา ผู้ 1 หัวปาก (หัวร้อย หรือ นายร้อย)... ผู้ 1 พ้อยเสาแก่โล ผู้ 1 นี้สามตัวว่าจำให้ที่ผีใส่เหล็กขื่อแขวนไว้" ขณะที่กรุงศรีอยุธยาเองก็มีการสังเวยคนเช่นกัน ด้วยการใส่หลุมก่อนลงเสาสร้างเมือง
การฝังคนตายเป็นประเพณีของชาวอาหม ในอาหมบุราณจีมีการกล่าวถึงการฝังศพ เนื่องจากในรัชสมัยของเสือใหญ่ฟ้าคำเมือง (ครองราชย์ ค.ศ. 1769-1780) ได้เกิดปัญหาเกี่ยวกับพิธีปลงพระศพ ว่าจะฝังหรือเผาพระศพกษัตริ์องค์ก่อน เนื่องจากอิทธิพลของศาสนาฮินดูแพร่เข้ามา ทำให้เกิดเป็นประเพณีใหม่ขึ้น จากคริสต์ศตวรรษที่ 18 หมอหลวงของลัทธิฟ้าหลวงของอาหม 2 คน จึง "นั่งต่างผีเล่ากอย แย้มเมื่อแก่นไข่ฟ้า ลงมาชั่วปู่ชั่วพ่อ ปู่เหลนปู่เถ้า ร่างตายฝังไว้" โดยชิฮาบุดดีน ทาลิส (Shihabuddin Talish) ได้ระบุว่า ศพของเจ้าฟ้าและคนธรรมดา จะถูกฝังและใส่สิ่งของโดยเอาหัวหันไปทางทิศตะวันออก แต่สำหรับเจ้าฟ้าจะมีการฝังภรรยาและคนใช้ไปด้วย พร้อมกับตะเกียงและน้ำมันปริมาณมากและคนถือตะเกียง และเขายังอ้างต่อไปว่า พวกโมกุลที่ขุดที่ฝังพระศพกษัตริย์อาหม 10 แห่ง ค้นพบสมบัติมากมาย โดยชาวอาหมจะเรียกสถานที่ฝังศพว่า ป่าเห้ว หรือ สวนผี ปัจจุบันพวกที่สืบเชื้อสายมาจากชั้นพระและตระกูลบางตระกูลยังคงมีการฝังคนตายอยู่
ภาษา
ภาษาอาหมถือเป็นภาษาไทยุคเก่า โดย อ.วิไลวรรณ ขนิษฐานันท์ ได้แสดงความเห็นเกี่ยวกับภาษาอาหมและภาษาในจารึกสุโขทัยที่คล้ายคลึงกันมาก และมากกว่าภาษาถิ่นไทในปัจจุบัน ในภาษาอาหมจะไม่มีการใช้คำราชาศัพท์ คำที่ใช้พูดอยู่ก็สามารถกับกษัตริย์หรือเจ้าได้ การแสดงออกถึงความเป็นเจ้านายทางภาษาจึงไม่มีมากนัก
เมื่อเสือก่าฟ้าได้นำผู้คนอพยพเข้ามายังอัสสัม ก็พบชาวไทเข้ามาตั้งถิ่นฐานอยู่แล้ว โดยในอาหมบุราณจีได้เรียกคนกลุ่มดังกล่าวว่า ผู้เขาอันเก่า และในรัชกาลของเสือก่าฟ้าก็ยังมีการแลกเปลี่ยนทูตระหว่างอาหมกับเมืองเมา จนในรัชสมัยของเสือดังฟ้าทรงปรารภในปี ค.ศ. 1382 ว่านับเวลา 8 ปีแล้วที่ไม่ได้มีสัมพันธ์ทางการทูตกับเมืองเมา ซึ่งแสดงให้เห็นถึงการติดต่อกันระหว่างอาหมกับรัฐไทกลุ่มอื่นตลอดมา แม้แต่ในรัชสมัยของเสือห่มเมืองและ ก็ทรงอภิเษกกับสตรีชาวเมืองกอง ซึ่งเป็นเหตุให้มีชาวไทอพยพเข้ามายังเมืองนุนสุนคำมากขึ้น แต่หลังปี ค.ศ. 1638 เมืองกองได้ตกเป็นเมืองขึ้นของพม่า การติดต่อจากยุติลง ประกอบการเกิดสงครามกลางเมืองของอาหม รวมทั้งการสูญเสียอำนาจของนักบวชเทวไทกับราชสำนัก ทำให้ภาษาอาหมเริ่มถูกละเลย แม้จะมีชาวไทกลุ่มอื่นที่นำภาษาไท และศาสนาพุทธเข้าไป แต่ชาวอาหมก็มิได้ให้ความสนใจ โดยในรัชกาลของเสือใหญ่ฟ้างำเมือง ได้มีการทะเลาะวิวาทระหว่างเทวไทอาหมกับนักบวชฮินดู เกี่ยวกับการปลงพระศพอดีตกษัตริย์ เนื่องจากประเพณีอาหมเดิมให้มีการฝัง กับประเพณีฮินดูที่ให้มีการเผาพระศพ
เซอร์จอร์จ อับราฮัม กรีเออร์สัน (Sir George Abraham Grierson) ได้ระบุว่าภาษาอัสสัมเริ่มเข้ามามีอิทธิพลและเข้ามาแทนที่ภาษาอาหมประมาณต้นศตวรรษที่ 18 จาก ค.ศ. 1720 เป็นต้นมา โดยข้าราชการฮินดูที่มีตำแหน่งทางฮินดูไม่จำเป็นต้องเรียนภาษาอาหม แต่ภาษาอาหมยังถูกใช้เป็นภาษาพูดจนถึงปลายศตวรรษที่ 18 และชนชั้นพระชาวอาหมหรือเทวไท ยังคงใช้พูดระหว่างกันอีก 50 ปีต่อมา หรือจนถึงประมาณ ค.ศ. 1850 ส่วน S.K. Bhuyan ได้เขียนไว้เมื่อปี ค.ศ. 1930 ได้กล่าวถึงว่าในขณะนั้นมีบัณฑิตนามว่า ราย สาหิบ โคลัป จันทรา พารัว (Rai Sahib Golap Chandra Barua) เพียงคนเดียวที่รู้ภาษาอาหมจริง และไม่มีผู้ที่จะสืบความรู้นั้นได้ในระยะใกล้นั้น โดย Bhuyan ได้พยากรณ์ไว้ว่าอย่างช้าอีก 20 ปีข้างหน้า (คือในปี ค.ศ. 1950) จะไม่มีคนรู้ภาษาอาหมเลย และภาษาของผู้ปกครองอัสสัมจะกลายเป็นภาษาลึกลับที่ไม่มีนักโบราณคดีและนักภาษาผู้ใดจะไขความหมายได้
ปัจจุบันแม้ชาวอาหมจะใช้ภาษาอัสสัมในการพูดและเขียนไปแล้ว แต่เหล่านักบวชและชาวอาหมทั่วไปยังคงใช้ภาษาอาหมในการสวดในพิธีกรรมทางศาสนาแบบดั้งเดิมต่าง ๆ มาจนถึงทุกวันนี้ซึ่งปัจจุบันมีเทวไทที่รู้ภาษาอาหมในพิธีกรรมทางศาสนาประมาณ 100-200 คน
การฟื้นฟูภาษา
มีการฟื้นฟูภาษาอาหมโดยขบวนการฟื้นฟูภาษาวัฒนธรรมอาหม โดยมีการตั้งโรงเรียนภาษาไทขึ้นที่หมู่บ้านปัตซากุ เมืองศิวสาคร เมื่อ ดร. บรรจบ พันธุเมธา นักนิรุกติศาสตร์ชาวไทย ได้เดินทางไปยังหมู่บ้านดังกล่าวในปี ค.ศ. 1955 โรงเรียนดังกล่าวก็ได้ล้มเลิกการสอนไปแล้ว เนื่องจากขาดผู้สอน ในช่วงที่ผ่านมาชนชั้นพระโดยเฉพาะท่านทัมพารุธาร เทวไธ ผู้การ (Dambarudhar Deodhai Phukan, 1912-1993) หมออาวุโสแห่งหมู่บ้านปัตซากุได้เสนอให้ชาวอาหมก่อตั้งสมาคมฟื้นฟูวัฒนธรรมไทขึ้นมา ชื่อ วันออกพับลิกเมืองไท (Ban Ok Pop Lik Mioung Tai) ที่เมืองเธมชี (Dhemaji) เมื่อวันที่ 8 เมษายน ค.ศ. 1981 โดยสมาคมได้รื้อฟื้นโรงเรียนภาษาไทที่บ้านปัตซากุ และอีก 350 หมู่บ้านทั่วรัฐอัสสัม มีการผลักดันให้รัฐอัสสัมเริ่มให้การศึกษาภาษาไทระดับประถมศึกษา โดยมีการจ้างครูผู้สอนภาษาไทจำนวน 200 คน เริ่มในปี ค.ศ. 1993 ที่เมืองเธมชี โดยมีปัญญาชนอาหมคนหนึ่งชื่อ เสือดอยฟ้า เถ้าเมือง (Nagen Bargohain) ได้รวบรวมทำตำราภาษาอาหมเล่มหนึ่งเพื่อใช้เป็นบทเรียน โดยสมาคมดังกล่าวได้ออกสิ่งพิมพ์และหนังสือทางวัฒนธรรมวิชาการอย่างสม่ำเสมอ แต่จุดหมายระยะยาวขององค์กรคือการจัดตั้งรัฐอาหม หรือเมืองนุนสุนคำขึ้นใหม่โดยยังเป็นส่วนหนึ่งของประเทศอินเดีย รวมทั้งมีความสัมพันธ์ทางวัฒนธรรมที่ใกล้ชิดกับประเทศไทย, รัฐฉานในพม่า และเขตปกครองตนเองเต๋อหงของจีน
นอกจากนี้ยังมีการจัดตั้ง (Eastern Tai Literary Association) ที่เมืองกูวาฮาติ โดยสมคมมุ่งมั่นปฏิบัติให้พัฒนาการเรียน เขียนอ่านภาษาอาหม พร้อมกันนี้ให้สนับสนุนให้ค้นคว้าศึกษาเอกสารโบราณของชาวอาหมอย่างจริงจัง การฟื้นฟูภาษาอาหมนั้นอาศัยสัทวิทยาของภาษาพี่น้อง เช่น ภาษาอ่ายตน และ โดยภาษาดังกล่าวจะถูกเรียกว่า ภาษาไทในอัสสัม เนื่องจากประกอบไปด้วยคำไททุกกลุ่มในรัฐอัสสัม หากการฟื้นฟูดังกล่าวได้ผลภาษาเขียนในรัฐอัสสัมจะใช้อักษรอาหมเป็นหลักแทนอักษรไทอื่นๆ ในรัฐอัสสัม โดยอาศัยพื้นฐานภาษาอ่ายตนในรัฐอัสสัม เนื่องจากใกล้เคียงกับภาษาอาหมมากที่สุด ชาวอาหมอาจอาศัยชาวอ่ายตนในการรื้อฟื้นภาษา
คำบรรยายเกี่ยวกับชาวอาหม
บุคลิกลักษณะของชาวอาหมนั้น ตามพงศาวดารของยุค แห่งอินเดียในยุคนั้น โดยฟาติยะ อิบริยะ ซึ่งติดตามไปกับกองทัพอิสลามซึ่งรบกับอาหม เมื่อปี พ.ศ. 2200 ได้บรรยายลักษณะของชาวอาหมไว้ว่า
"ชาวอาหมมีรูปร่างล่ำสัน ชอบทะเลาะวิวาท กระหายเลือด ปราศจากความเมตตา ชั่วช้า ทรยศ ในเรื่องความโกหกหลอกลวง ไม่มีใครใต้ดวงอาทิตย์จะสู้พวกอาหมได้ สตรีอาหมมีรูปร่างเล็กแบบบาง ผมยาว ผิวละเอียดอ่อนเกลี้ยงเกลา มือเท้าเล็กเรียว ดูไกล ๆ สวย แต่ช่วงขาไม่ได้ส่วนสัด ถ้าดูใกล้ยิ่งน่าเกลียด ชาวอาหมโกนศีรษะ โกนหนวดเครา ภาษาที่พูดคือภาษาพื้นเมืองไทใหญ่"
ผู้เขียนตำนานอีกคนหนึ่งนามว่า อาลัมกิรนามะ ก็เขียนไว้ว่า
"ชาวอาหมไม่มีศีลธรรม ไม่มีศาสนาประจำชาติ ทำอะไรตามใจตนเองโดยไม่มีกฎเกณฑ์ เห็นว่าการกระทำของตนถูกต้องเสมอ ลักษณะท่าทางของชาวอาหมส่อให้เห็นพลกำลัง และความทรหดอดทน ซ่อนกิริยา และอารมณ์อันโหดร้ายทารุณเอาไว้ข้างใน ชาวอาหมอยู่เหนือชนชาติอื่นๆในด้านกำลังกาย และความทนทาน เป็นชาติขยันขันแข็ง ชอบสงคราม อาฆาตจองเวร ตลบแตลง และหลอกลวง ปราศจากคุณธรรม ความเมตตากรุณา ความเป็นมิตร ความสุภาพ เมล็ดพืชแห่งความอ่อนโยน และมนุษยธรรมไม่ได้หว่านลงในดินแดนของชนชาตินี้เลย"
ชาวอาหมที่มีชื่อเสียง
- โปรบิน โกกอย (Probin Gogoi) รัฐมนตรีรัฐบาลแห่งรัฐอัสสัม
- โจเกนดรา เอ็น พูคาน (Jogendra N. Phukan) นักวิชาการอิสระ และอาจารย์มหาวิทยาลัยกูวาฮาติ
- บุษบา โกกอย (Busba Gogoi) นักวิชาการอิสระ และเลขาธิการสมาคม Ban OK Pub Lik Mioung Tai.
- นาเกน ฮาซาริกา (Naken Harzarika) นักวิชาการอิสระ
- ทนุราม โกกอย ชาวอาหมพุทธคนแรก และผู้นำชาวพุทธอัสสัม
ดูเพิ่ม
อ้างอิง
- http://www.ethnologue.com/show_language.asp?code=aho
- Sikhamoni Gohain Boruah & Ranjit Konwar, The Tai Ahom of India and a Study of Their Present Status Hiteswar Saikia College and Sri Ranjit Konwar, Assam Forest Department
- สารนาถ. เยี่ยมไทอาหมสายเลือดของเรา. หน้า 125
- การศึกษาประวัติศาสตร์ไทอาหม, หน้า 37
- Sir Edward Gait, A History of Assam.
- การศึกษาประวัติศาสตร์ไทอาหม, หน้า 38
- J.N. Phukan, "The Inventory of Ahom Deities and spirits : An Aspect of Ancient Tai Belief"
- อาหมบุราณจี, หน้า 2 ข้อ 7
- Padmeswar Gogoi, Tai-Ahom Religion and Costoms (Gauhati:Publication Board 1976), p. 4
- Ahom-Assam-English Dictionary, p. 318
- อาหมบุราณจี, หน้า 31 ข้อ 4
- อาหมบุราณจี, หน้า 86 ข้อ 69
- การศึกษาประวัติศาสตร์ไทอาหม, หน้า 74
- ประวัติศาสตร์ชนชาติไท, หน้า 108
- การศึกษาประวัติศาสตร์ไทอาหม, หน้า 72
- การศึกษาประวัติศาสตร์ไทอาหม, หน้า 73
- การศึกษาประวัติศาสตร์ไทอาหม, หน้า 75
- อาหมบุราณจี, หน้า 189-190 ข้อ 173
- การศึกษาประวัติศาสตร์ไทอาหม, หน้า 39
- อาหมบุราณจี, หน้า 375 ข้อ 307
- Indira Barua, Social Relations in an Ahom Village, p 92
- อาหมบุราณจี, หน้า 336 ข้อ 319
- J.N. Phukan, "Francis Buchanan's Description of the Ahom Coronation : Reconsidered," Krishna Kanta Hangui Felicitation Volume, August 1983
- อาหมบุราณจี, หน้า 271-271 ข้อ 250
- Sir Edward Gait, A History of Assam, p 174
- B.J. Terwiel, "The Tai of Assam : Sacrifices and Time Reckoning", Southeast Asian Review, Vol. VI, No. 1-2, January-December, 1981, p 71
- B.J. Terwiel, "The Origin and meaning of the Thai "City Pillar", Journal of Siam Society, Vol. 66 p 2, 1978, pp. 159-171
- อาหมบุราณจี, หน้า 325 ข้อ 107
- Judunath Sarkar, "Assam and the Ahom in 1660 A.D.". Journal of the Bihar and Orissa Research Society. Vol. 1, 1915, pp 179-195
- อาหมบุราณจี, หน้า 326 ข้อ 308
- Padmeswar Gogoi, Tai-Ahom Religion and Costoms. Gauhati:Publication Board, 1976. p 88
- เสฐียรโกเศศ. ประเพณีเนื่องในการเกิดและประเพณีเนื่องในการตาย. กรุงเทพฯ:ไทยวัฒนาพานิช, 2513, หน้า 28
- วิไลวรรณ ขนิษฐานันท์. ภาษาเชิงประวัติ:วิวัฒนาการภาษาไทยและภาษาอังกฤษ. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2526, หน้า 213-229
- วิไลวรรณ ขนิษฐานันท์. การศึกษาภาษาไทอาหมตามแนวโครงสร้าง. เสนอในงานสัมนา "ล้านนาคดีศึกษา:ประวัติศาสตร์และโบราณคดี", มกราคม 2538.
- การศึกษาประวัติศาสตร์ไทอาหม, หน้า 105
- การศึกษาประวัติศาสตร์ไทอาหม, หน้า 106
- Sir George Abraham Grierson. "Tai Group," in Linguguistic Survey of India, reprint in Tai language and Ahom-Assamese-English Dictionary, p 5
- S.K. Bhuyan, Studies in the Literature of Assam, p 58
- Dipima Buragohain. Issues of Language Contact and Shift in Tai Ahom
- บรรจบ พันธุเมธา. กาเลหม่านไต. กรุงเทพฯ:สมาคมภาษาและหนังสือ, 2504. หน้า 31
- Chow Nagen Hazarika. "Ban Ok Pop Lik Mioung Tai" in The Tai, Vol. I, 766 Chu-ka-Fa Year (A.D. 1994), pp 1-7
- Chow Nagen Hazarika. "Ban Ok Pop Lik Mioung Tai" in The Tai, Vol. I, 766 Chu-ka-Fa Year (A.D. 1994), pp 68
- การศึกษาประวัติศาสตร์ไทอาหม, หน้า 107
- การศึกษาประวัติศาสตร์ไทอาหม, หน้า 71
- การศึกษาประวัติศาสตร์ไทอาหม, หน้า 123
- วิจิตรวาทการ, พลตรี หลวง. งานค้นคว้าเรื่องชนชาติไทย. หน้า 438
- วิจิตรวาทการ, พลตรี หลวง. งานค้นคว้าเรื่องชนชาติไทย. หน้า 438-439
บรรณานุกรม
- ฉัตรทิพย์ นาถสุภา และเรณู วิชาศิลป์. การศึกษาประวัติศาสตร์ไทอาหม. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ:สร้างสรรค์, 2552.
- วิจิตรวาทการ, พลตรีหลวง. งานค้นคว้าเรื่องชนชาติไทย. กรุงเทพฯ:สร้างสรรค์บุ๊คส์, 2549.
- กัญญา ลีลาลัย. ประวัติศาสตร์ชนชาติไท
แหล่งข้อมูลอื่น
- วารสารเมืองโบราณ
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
xahm xssm আহ ম xaohma hrux ithxahm klumchatiphnthuklumhnungsungxasyinrthxssmkhxngpraethsxinediy edimichphasaxahm in sungepnphasainklumphasakm ith trakulphasakhra ith aetchawxahminpccubnnnhnipichphasatrakulxinod yuorepiynaelw cnemuxplaykhriststwrrsthi 20 cnthungkhriststwrrsthi 21 chawxahmidekidkhwamsnicinwthnthrrmdngedimkhxngtn cungekidkhwamphyayamthicasuksaaelafunfuwthnthrrmdngedimmakyingkhunxahmআহ ম xssm xahm chawxahminphithikrrmtamlththifahlwngphumiphakhthimiprachakrxyangminysakhyphasaphasaxssm xditich phasaxahmsasnalththifahlwngkhwbkhukbhindu sasnaphuththklumchatiphnthuthiekiywkhxngithihy xaytn khati khayng chawxahminpccubnmicanwnmakkwachawithklumxunthixphyphmayngxssm sunginpi kh s 1990 chawxahmmicanwnprachakrraw 2 lankhninrthxssm aelarthxrunaclpraeths aelamichawxssmraw 8 lankhnthixangwamibrrphburushruxsubechuxsaymacakchawxahmprawtixanackrxahm raw ph s 1763 iklekhiyngkbsmythitngxanackrsuokhthy chawithphwkhnung chuxwa xahm idxphyphekhamaindinaednni odykhamphuekhapadikthangehnuxkhxngphma ithphwknimacakxanackrithobranxanackrhnung eriykwa png khuxomkxng emuxngkxng inphmathangehnux aelaerimprawtisastrxahmemux ph s 1796 emuxesuxkafa pthmbrmrachwngsxahmidwangrakthaninxanackrkhxngphraxngkh chwngaerkkhxngchawxahmnnxphyphmatamtananklawiwwamikstriy 1 phraxngkh khunnang 8 khn chang 2 echuxk aelamaxik 300 tw prachakr 9 000 khn rwmthngstri aelaedk xahmepnithphwkediywkbithihy emuxaerkekhaip idtngphumilaenalngthi namrup aelaidphbchnecakhxngthinsxngkhangkhanghnungkhux sungkhrxngthangtawnxxkkhxngaemnasuphrrnsiri xikkhanghnungmacakomran yudkhrxngphunthiaemnathikhu aelaaemnathihing phwkxahmtxngphiphathkbphwk aelaraw ph s 1779 xahmcungtngemuxnghlwngthixphypura txmaxik 20 pikkhyaytwxxkiptngemuxngihmchux emuxngecraydxy epnemuxnghlwngaerkaehngxanackrxahm emuxyayemuxnghlwngipthixun kyngihkhwamsakhyaekemuxngecraydxy phrasphkhxngkstriycathukfngthiemuxngni ewlaxahmrbchna kcatdhwkhxngkhasukmafngthiecraydxyphngsawdarchawithxahmepnphwkthiruhnngsux cungmitananphngsawdarepnkhxngtnexng tananelmnieriykwa Ahom Buranji xanwa xahm buranci epnexksarthichwyihsuksaprawtisastrkhxngithxahmiddi aelaswnihyburancinncaekhiyndwyphasa aelaxksrxahm sungkhadwachawxahmxanimxxktngaet 200 400 pithiaelw inphngsawdarnikcamieruxngekiywkbniyaykarsrangolk prawtitntrakulkstriyxahm praephni aelawthnthrrm rwmipthungphrarachprawtikhxngkstriyxahminaetlaphraxngkhwthnthrrm khwamechux sasnaxahmepnchawiththiimidrbsasnaphuthth emuxesuxkafanachawithcakemuxngemahlwnginrthchancanwn 90 000 khn khamchxngekhapadikmatngxanackrinlumaemnaphrhmbutrinpi kh s 1228 aelatlxdewlakwa 600 pithiepnexkrach sngkhmxahmexngkimidrbkhwamechuxcaksasnaphuththely phikhxngchawxahmekidcakthrrmchatiaelabrrphburus odyxahmburanciphakhswrrkh idklawwa fa hrux fatuxcung epnphusrangsrrphsing epnphusrangelngdxn hrux faehnuxhw phukhrxngemuxngfa elngdxnidsngkhunhlwngkhunhlayphuepnhlanlngmakhrxngemuxngmnusyphrxmkbchawfacanwnhnung khunhlwngkhunhlaycungepnbrrphburuskhxngesuxkafa swnchawfathilngmadwykepnbrrphburuskhxngchawith emuxkhunhlwngkhunhlaylngmacakfa khrngnnbnphundinexngkmikhnchatixunxyuaelw bnemuxngfahruxthiphasaxahmeriykwa emuxngphi miethphhruxphitang hlayxngkh tamthipraktinxahmburanci echn fasangdin aesngkafa ethphaehngsayfa ngiengakha hrux fabdrmsangkha ecasayfn nangaesngdaw yaaesngfa ethphaehngpyya aelngaesng lawkhri ethphaehngkarkxsrang khuneduxn aelakhunwn epntn sungcaehnidwaphiehlaniepnthrrmchati khux fa din aesng eduxn tawn epntn nxkcakniyngpraktchuxphicakthrrmchatixikhlayxngkh echn saylm phiif phitamthung nangxaydxkkhaaedng phiethuxn phasaxahmeriyk pa wa ethuxnhrux dng phikhungchnhmxk phikhungchnkhungehmuxy phidxy l nxkcaknichawxahmyngnbthuxphibrrphburusdwy odyburanciphakhswrrkhidklawthung aesngkxfa kstriyphraxngkhhnung emuxswrrkhtipaelwklayepnphieruxnkhxyduaelthukkhsukhkhxngkhninkhrxbkhrw khwamwa aesngkxfa tayepndaphieruxnchwykhum swnxahmburanciphakhphundinidklawthung phida sungtamphcnanukrmxahmaeplwa khnthitayipaelw aelakhawa daeruxn mikhwamhmaywa brrphburusthitayipaelwklayepnphiefaeruxn odyinxahmburanciphakhphundin idklawtxnhnungwa ecafacungmaemuxngmatkaekhk ekharphbucha phidathiwani aelaklawthungkstriyxahmprakxbphithiemdaemphi chawxahmthuxwabrrphburusthiehnuxeraipchnaerk hruxphuthitayipimkichwxayukhncakhxypkpxngkhrxbkhrwyatiphinxngthiyngxyu aethaktayipnanmakaelwkcakhunipyngswrrkhchnfaimlngmachwyeraxik odykhwamechuxeruxngphibrrphburusthikhxbpkpxngduaellukhlanyngmixyuinsngkhmithyinpccubn thimihingbuchaineruxn odybnhingnnthuxepnthisingsthitkhxngphibrrphburushlaysbhlaysxn hruxhlaychwxayukhncnnbimid chawxahmimekhysuyesiykarbuchabrrphburus ephiyngaethnipnbthuxsasnaphrahmn hindumakkhunethann dwyehtusuyesiysthanainkarpkkhrxngipcungklayepnphwknxkwrrna pyyachnchawxahmthiepnphunainkareliknbthuxsasnahinduidthaihphithikarbuchabrrphburusednchdkhun phrxmthngmikarcdphithiihwphiepnpraca odymikartnghlkif sungepnesaimcudrayrxbparaelk ihwbrrphburus rwmipthungphithibuchabrrphburusthieriykwa emdaemphi khrngihythisudinemuxngrngkhpura aetchawxahmhindubangswnxyangechninhmubanbxraocohkicungmiaenwonmhnipnbthuxsasnaphuththknmakkhunephuxldpyhaekiywkbwrrna odyminaythnuram okkxy epnchawithxahmkhnaerkthiepliynmanbthuxsasnaphuthth odyptibtisasnkicknthiwdthisngpani inhmubanthisngpani khxngchawithkhayng pccubnchawxahmidmikhwamphyayamthicafunfuwthnthrrmkhxngtnexngkhunihm mikhwamtxngkarphuechiywchaythangphasachawithyihkhwamchwyehluxthangdankarfunfuphasa ephraainbrrdaephaiththnghlaymiithysyamthimiesthiyrphaphthukdan thngyngmikaresnxwahakichphasaithyepnaeknklanginkarprasanngankhniththukephaekhadwykn wthnthrrmithkcaepnexkphaphmakkhun thngnixahmimidtxngkarkhwambrisuththikhxngphasa aettxngkarihphthnaphasaiththiphwkekhacaklbmaichinchiwitpracawn mikarsrangsylksnthangwthnthrrmkhxngchawxahmkhux ethphecakhxngchawxahm mikarklbmaichskrachesuxkafa karichkhawa eca aela nang nahnanam kartngxnusawriyhlaecd sungepnwirburuschawxahm aelabangbankmikarpradbphrabrmchayalksnkhxngphrabathsmedcphraecaxyuhwaelaphrabrmwngsanuwngskhxngithyiwdwy aetkarfunfuwthnthrrmtxngichewlanan enuxngcakxssmepndinaednpid aelarthbalklangkhxngxinediykimxyakihxssmtidtxkbtangpraethsodyechphaapraethsithy emuxkhrngthismedcphraethphrtnrachsuda syambrmrachkumari esdc eyuxnpraethsxinediy xinediykmiidcdihphraxngkhesdcaewaeyuxnchawithinxssm nxkcaknichawtangpraethsthicaedinthangekhaipxssmcatxngkhxibxnuyatphiesscakrthbalklangkhxngxinediyesiykxn thuxepnxupsrrkhtxkarfunfuwthnthrrmxahminpccubnpraephnikxnidrbxiththiphlcakphrahmn hindu chawxahmnbthuxphi phithikrrmmkpraktihehnthungkarbuchaphi phithrrmchati aelaphibrrphburus ephraachawxahmechuxwaphisamarthdlbrrdalihchiwitepnxyangirkid inphasaxahmcaeriykkarbuchaphiwa emdaemphi aekhkphi nxkphi ihwphiihwsang epntn odyinxahmburanciidprakteruxngekiywkbphi inrchsmykhxngesuxepingemuxngfa khrxngrachy 1663 1669 thiesiyemuxngechungaekckrwrrdiomkul waepnephraa phisangihepndngnikxy odykarbuchaphicamiinthukphithithisakhykhxngchawxahmxyangphithirachaphiesk ehdeca hrux ehdkhunnngemuxng phithiaetngngan plngsawplngchu pithidawihothstxemuxng hlknikhaemuxng hruxewlaecbikhidpwy lmikh hrux hlxnhnaw odyinphithieriykkhwyecafawnrachaphieskthnghmdcaepnkareriykphiechphaaphichnfaihchwyinkarpkkhrxngbanemuxngkhxngecafa ecafacaxangtnepnhlankhxngphichnfa singkhxngthiichinkarbuchaphi idaek khaw phk dxkim xxy hmakphlu ikh ik epd hmu aelakhway epntn sahrbsingmichiwitmikarkhaphayinphithinnelyinbangkhrng xyangechninphithirachaphieskcamikarkhakhway swnkarkhakhnsngewyphipraktinxahmburanciephiyngkhrngediywinrchsmykhxngesuxpadfa khrxngrachy kh s 1681 1696 klawwa sxngkhaniihphihlwng aelaxiktxnhnungwa chuxmnelba phu 1 hwpak hwrxy hrux nayrxy phu 1 phxyesaaekol phu 1 nisamtwwacaihthiphiisehlkkhuxaekhwniw khnathikrungsrixyuthyaexngkmikarsngewykhnechnkn dwykarishlumkxnlngesasrangemuxng klumsusaninemuxngecraydxy karfngkhntayepnpraephnikhxngchawxahm inxahmburancimikarklawthungkarfngsph enuxngcakinrchsmykhxngesuxihyfakhaemuxng khrxngrachy kh s 1769 1780 idekidpyhaekiywkbphithiplngphrasph wacafnghruxephaphrasphkstrixngkhkxn enuxngcakxiththiphlkhxngsasnahinduaephrekhama thaihekidepnpraephniihmkhun cakkhriststwrrsthi 18 hmxhlwngkhxnglththifahlwngkhxngxahm 2 khn cung nngtangphielakxy aeymemuxaeknikhfa lngmachwpuchwphx puehlnpuetha rangtayfngiw odychihabuddin thalis Shihabuddin Talish idrabuwa sphkhxngecafaaelakhnthrrmda cathukfngaelaissingkhxngodyexahwhnipthangthistawnxxk aetsahrbecafacamikarfngphrryaaelakhnichipdwy phrxmkbtaekiyngaelanamnprimanmakaelakhnthuxtaekiyng aelaekhayngxangtxipwa phwkomkulthikhudthifngphrasphkstriyxahm 10 aehng khnphbsmbtimakmay odychawxahmcaeriyksthanthifngsphwa paehw hrux swnphi pccubnphwkthisubechuxsaymacakchnphraaelatrakulbangtrakulyngkhngmikarfngkhntayxyuphasaphasaxahmthuxepnphasaithyukheka ody x wiilwrrn khnisthannth idaesdngkhwamehnekiywkbphasaxahmaelaphasaincaruksuokhthythikhlaykhlungknmak aelamakkwaphasathinithinpccubn inphasaxahmcaimmikarichkharachasphth khathiichphudxyuksamarthkbkstriyhruxecaid karaesdngxxkthungkhwamepnecanaythangphasacungimmimaknk emuxesuxkafaidnaphukhnxphyphekhamayngxssm kphbchawithekhamatngthinthanxyuaelw odyinxahmburanciideriykkhnklumdngklawwa phuekhaxneka aelainrchkalkhxngesuxkafakyngmikaraelkepliynthutrahwangxahmkbemuxngema cninrchsmykhxngesuxdngfathrngprarphinpi kh s 1382 wanbewla 8 piaelwthiimidmismphnththangkarthutkbemuxngema sungaesdngihehnthungkartidtxknrahwangxahmkbrthithklumxuntlxdma aemaetinrchsmykhxngesuxhmemuxngaela kthrngxphieskkbstrichawemuxngkxng sungepnehtuihmichawithxphyphekhamayngemuxngnunsunkhamakkhun aethlngpi kh s 1638 emuxngkxngidtkepnemuxngkhunkhxngphma kartidtxcakyutilng prakxbkarekidsngkhramklangemuxngkhxngxahm rwmthngkarsuyesiyxanackhxngnkbwchethwithkbrachsank thaihphasaxahmerimthuklaely aemcamichawithklumxunthinaphasaith aelasasnaphuththekhaip aetchawxahmkmiidihkhwamsnic odyinrchkalkhxngesuxihyfangaemuxng idmikarthaelaawiwathrahwangethwithxahmkbnkbwchhindu ekiywkbkarplngphrasphxditkstriy enuxngcakpraephnixahmedimihmikarfng kbpraephnihinduthiihmikarephaphrasph esxrcxrc xbrahm kriexxrsn Sir George Abraham Grierson idrabuwaphasaxssmerimekhamamixiththiphlaelaekhamaaethnthiphasaxahmpramantnstwrrsthi 18 cak kh s 1720 epntnma odykharachkarhinduthimitaaehnngthanghinduimcaepntxngeriynphasaxahm aetphasaxahmyngthukichepnphasaphudcnthungplaystwrrsthi 18 aelachnchnphrachawxahmhruxethwith yngkhngichphudrahwangknxik 50 pitxma hruxcnthungpraman kh s 1850 swn S K Bhuyan idekhiyniwemuxpi kh s 1930 idklawthungwainkhnannmibnthitnamwa ray sahib okhlp cnthra pharw Rai Sahib Golap Chandra Barua ephiyngkhnediywthiruphasaxahmcring aelaimmiphuthicasubkhwamrunnidinrayaiklnn ody Bhuyan idphyakrniwwaxyangchaxik 20 pikhanghna khuxinpi kh s 1950 caimmikhnruphasaxahmely aelaphasakhxngphupkkhrxngxssmcaklayepnphasaluklbthiimminkobrankhdiaelankphasaphuidcaikhkhwamhmayid pccubnaemchawxahmcaichphasaxssminkarphudaelaekhiynipaelw aetehlankbwchaelachawxahmthwipyngkhngichphasaxahminkarswdinphithikrrmthangsasnaaebbdngedimtang macnthungthukwnnisungpccubnmiethwiththiruphasaxahminphithikrrmthangsasnapraman 100 200 khn karfunfuphasa mikarfunfuphasaxahmodykhbwnkarfunfuphasawthnthrrmxahm odymikartngorngeriynphasaithkhunthihmubanptsaku emuxngsiwsakhr emux dr brrcb phnthuemtha nkniruktisastrchawithy idedinthangipynghmubandngklawinpi kh s 1955 orngeriyndngklawkidlmelikkarsxnipaelw enuxngcakkhadphusxn inchwngthiphanmachnchnphraodyechphaathanthmpharuthar ethwith phukar Dambarudhar Deodhai Phukan 1912 1993 hmxxawuosaehnghmubanptsakuidesnxihchawxahmkxtngsmakhmfunfuwthnthrrmithkhunma chux wnxxkphblikemuxngith Ban Ok Pop Lik Mioung Tai thiemuxngethmchi Dhemaji emuxwnthi 8 emsayn kh s 1981 odysmakhmidruxfunorngeriynphasaiththibanptsaku aelaxik 350 hmubanthwrthxssm mikarphlkdnihrthxssmerimihkarsuksaphasaithradbprathmsuksa odymikarcangkhruphusxnphasaithcanwn 200 khn eriminpi kh s 1993 thiemuxngethmchi odymipyyachnxahmkhnhnungchux esuxdxyfa ethaemuxng Nagen Bargohain idrwbrwmthataraphasaxahmelmhnungephuxichepnbtheriyn odysmakhmdngklawidxxksingphimphaelahnngsuxthangwthnthrrmwichakarxyangsmaesmx aetcudhmayrayayawkhxngxngkhkrkhuxkarcdtngrthxahm hruxemuxngnunsunkhakhunihmodyyngepnswnhnungkhxngpraethsxinediy rwmthngmikhwamsmphnththangwthnthrrmthiiklchidkbpraethsithy rthchaninphma aelaekhtpkkhrxngtnexngetxhngkhxngcin nxkcakniyngmikarcdtng Eastern Tai Literary Association thiemuxngkuwahati odysmkhmmungmnptibtiihphthnakareriyn ekhiynxanphasaxahm phrxmknniihsnbsnunihkhnkhwasuksaexksarobrankhxngchawxahmxyangcringcng karfunfuphasaxahmnnxasysthwithyakhxngphasaphinxng echn phasaxaytn aela odyphasadngklawcathukeriykwa phasaithinxssm enuxngcakprakxbipdwykhaiththukkluminrthxssm hakkarfunfudngklawidphlphasaekhiyninrthxssmcaichxksrxahmepnhlkaethnxksrithxun inrthxssm odyxasyphunthanphasaxaytninrthxssm enuxngcakiklekhiyngkbphasaxahmmakthisud chawxahmxacxasychawxaytninkarruxfunphasakhabrryayekiywkbchawxahmxnusawriythharxahmiklemuxngsiwsakhr rthxssm bukhliklksnakhxngchawxahmnn tamphngsawdarkhxngyukh aehngxinediyinyukhnn odyfatiya xibriya sungtidtamipkbkxngthphxislamsungrbkbxahm emuxpi ph s 2200 idbrryaylksnakhxngchawxahmiwwa chawxahmmirupranglasn chxbthaelaawiwath krahayeluxd prascakkhwamemtta chwcha thrys ineruxngkhwamokhkhlxklwng immiikhritdwngxathitycasuphwkxahmid strixahmmiruprangelkaebbbang phmyaw phiwlaexiydxxnekliyngekla muxethaelkeriyw duikl swy aetchwngkhaimidswnsd thaduiklyingnaekliyd chawxahmoknsirsa oknhnwdekhra phasathiphudkhuxphasaphunemuxngithihy phuekhiyntananxikkhnhnungnamwa xalmkirnama kekhiyniwwa chawxahmimmisilthrrm immisasnapracachati thaxairtamictnexngodyimmikdeknth ehnwakarkrathakhxngtnthuktxngesmx lksnathathangkhxngchawxahmsxihehnphlkalng aelakhwamthrhdxdthn sxnkiriya aelaxarmnxnohdraytharunexaiwkhangin chawxahmxyuehnuxchnchatixunindankalngkay aelakhwamthnthan epnchatikhynkhnaekhng chxbsngkhram xakhatcxngewr tlbaetlng aelahlxklwng prascakkhunthrrm khwamemttakruna khwamepnmitr khwamsuphaph emldphuchaehngkhwamxxnoyn aelamnusythrrmimidhwanlngindinaednkhxngchnchatiniely chawxahmthimichuxesiyngoprbin okkxy Probin Gogoi rthmntrirthbalaehngrthxssm ocekndra exn phukhan Jogendra N Phukan nkwichakarxisra aelaxacarymhawithyalykuwahati busba okkxy Busba Gogoi nkwichakarxisra aelaelkhathikarsmakhm Ban OK Pub Lik Mioung Tai naekn hasarika Naken Harzarika nkwichakarxisra thnuram okkxy chawxahmphuththkhnaerk aelaphunachawphuththxssmduephimphasaxahm rachwngsxahm xanackrxahmxangxinghttp www ethnologue com show language asp code aho Sikhamoni Gohain Boruah amp Ranjit Konwar The Tai Ahom of India and a Study of Their Present Status Hiteswar Saikia College and Sri Ranjit Konwar Assam Forest Department sarnath eyiymithxahmsayeluxdkhxngera hna 125 karsuksaprawtisastrithxahm hna 37 Sir Edward Gait A History of Assam karsuksaprawtisastrithxahm hna 38 J N Phukan The Inventory of Ahom Deities and spirits An Aspect of Ancient Tai Belief xahmburanci hna 2 khx 7 Padmeswar Gogoi Tai Ahom Religion and Costoms Gauhati Publication Board 1976 p 4 Ahom Assam English Dictionary p 318 xahmburanci hna 31 khx 4 xahmburanci hna 86 khx 69 karsuksaprawtisastrithxahm hna 74 prawtisastrchnchatiith hna 108 karsuksaprawtisastrithxahm hna 72 karsuksaprawtisastrithxahm hna 73 karsuksaprawtisastrithxahm hna 75 xahmburanci hna 189 190 khx 173 karsuksaprawtisastrithxahm hna 39 xahmburanci hna 375 khx 307 Indira Barua Social Relations in an Ahom Village p 92 xahmburanci hna 336 khx 319 J N Phukan Francis Buchanan s Description of the Ahom Coronation Reconsidered Krishna Kanta Hangui Felicitation Volume August 1983 xahmburanci hna 271 271 khx 250 Sir Edward Gait A History of Assam p 174 B J Terwiel The Tai of Assam Sacrifices and Time Reckoning Southeast Asian Review Vol VI No 1 2 January December 1981 p 71 B J Terwiel The Origin and meaning of the Thai City Pillar Journal of Siam Society Vol 66 p 2 1978 pp 159 171 xahmburanci hna 325 khx 107 Judunath Sarkar Assam and the Ahom in 1660 A D Journal of the Bihar and Orissa Research Society Vol 1 1915 pp 179 195 xahmburanci hna 326 khx 308 Padmeswar Gogoi Tai Ahom Religion and Costoms Gauhati Publication Board 1976 p 88 esthiyrokess praephnienuxnginkarekidaelapraephnienuxnginkartay krungethph ithywthnaphanich 2513 hna 28 wiilwrrn khnisthannth phasaechingprawti wiwthnakarphasaithyaelaphasaxngkvs sankphimphmhawithyalythrrmsastr 2526 hna 213 229 wiilwrrn khnisthannth karsuksaphasaithxahmtamaenwokhrngsrang esnxinngansmna lannakhdisuksa prawtisastraelaobrankhdi mkrakhm 2538 karsuksaprawtisastrithxahm hna 105 karsuksaprawtisastrithxahm hna 106 Sir George Abraham Grierson Tai Group in Linguguistic Survey of India reprint in Tai language and Ahom Assamese English Dictionary p 5 S K Bhuyan Studies in the Literature of Assam p 58 Dipima Buragohain Issues of Language Contact and Shift in Tai Ahom brrcb phnthuemtha kaelhmanit krungethph smakhmphasaaelahnngsux 2504 hna 31 Chow Nagen Hazarika Ban Ok Pop Lik Mioung Tai in The Tai Vol I 766 Chu ka Fa Year A D 1994 pp 1 7 Chow Nagen Hazarika Ban Ok Pop Lik Mioung Tai in The Tai Vol I 766 Chu ka Fa Year A D 1994 pp 68 karsuksaprawtisastrithxahm hna 107 karsuksaprawtisastrithxahm hna 71 karsuksaprawtisastrithxahm hna 123 wicitrwathkar phltri hlwng ngankhnkhwaeruxngchnchatiithy hna 438 wicitrwathkar phltri hlwng ngankhnkhwaeruxngchnchatiithy hna 438 439 brrnanukrm chtrthiphy nathsupha aelaernu wichasilp karsuksaprawtisastrithxahm phimphkhrngthi 2 krungethph srangsrrkh 2552 ISBN 978 974 9936 15 3 wicitrwathkar phltrihlwng ngankhnkhwaeruxngchnchatiithy krungethph srangsrrkhbukhs 2549 ISBN 974 341 442 8 kyya lilaly prawtisastrchnchatiithaehlngkhxmulxunwarsaremuxngobran