ไทเขิน ไทขึน หรือ ไตขึน เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ชาวไทกลุ่มหนึ่งที่ส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในเมืองเชียงตุง รัฐฉาน ประเทศพม่า มีบ้างที่อาศัยในประเทศไทยและประเทศจีน
ประชากรทั้งหมด | |
---|---|
ประมาณ 138,000 คน | |
ภูมิภาคที่มีประชากรอย่างมีนัยสำคัญ | |
ประเทศพม่า | 130,000 คน |
ประเทศจีน | 10,000 คน |
ประเทศไทย | 6,800 คน |
ประเทศลาว | 800 คน |
ภาษา | |
ไทเขิน, ไทยวน, ไทย, พม่า | |
ศาสนา | |
ศาสนาพุทธนิกายเถรวาท |
ประวัติ
ชาวไทขึน หรือไทยเรียกว่า ไทเขิน เป็นพลเมืองหลักของเมืองเชียงตุง ที่เข้ามาแทนที่ชนพื้นเมืองที่ตั้งรกรากอยู่ก่อนหน้าคือชาวลัวะ จากแต่เดิมไทเขินเข้าไปอยู่ปะปนก่อนหน้านี้ บางแห่งก็ว่าไทเขินสืบเชื้อสายมาจากไทลื้อ ด้วยมีลักษณะและขนบธรรมเนียมประเพณีคล้ายกัน บ้างก็ว่ามีบรรพบุรุษเป็นไทยวนที่อพยพขึ้นเหนือช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 13 ตั้งแต่สมัยพญามังราย และสันนิษฐานว่าชนกลุ่มนี้น่าจะเคยเรียกตัวเองว่า "โยน" หรือ "ยวน" มาก่อน
ใน ตำนานพื้นเมืองเชียงตุง กล่าวถึง พิธีนั่งเมืองในรัชสมัยพญามังราย ที่ส่งเจ้าน้ำท่วมขึ้นมาครองเมืองว่า เมืองเชียงตุงเป็นเมือง "นามจันทร์" ไม่ต้องโฉลกในโหราศาสตร์กับ "โยน" ซึ่งเป็นเมือง "นามราหู" ดังนั้นพวกโยนขึ้นไปปกครองเมืองเชียงตุงจะอยู่ได้ไม่มั่นคง ต้องแก้เคล็ดด้วยการตามพวก "เขินหลวง" 96 คนจากทางใต้ที่ถูกนามเมืองให้ร่วมพิธีด้วย แล้วให้พวกโยนที่ขึ้นไปอยู่เชียงตุงตัดผมสั้นอย่างเขินหลวง หลังจากนั้นเจ้าน้ำท่วมก็ครองเมืองเชียงตุงด้วยความผาสุกสืบมา จนกระทั่งรัฐบาลทหารพม่ายกเลิกตำแหน่งเจ้านายไป เมื่อปี พ.ศ. 2505
บางแห่งก็ว่าบรรพบุรุษชาวไทเขินเป็นชาวญี่ปุ่น ปรากฏครั้งแรกในงานเขียนของ ดอกเตอร์ วิลเลียม คลิฟตัน ดอดด์ โดยกล่าวว่า ในปี ค.ศ. 1931 มีคณะทูตญี่ปุ่นประจำพม่าได้มาสืบเรื่องราวของชาวญี่ปุ่นในเชียงตุง ก็พบว่าเครื่องมือเครื่องใช้ของชาวไทเขิน อาทิ หมวก, รองเท้า และแบบแผนบ้านเรือนนั้น คล้ายกับชาวญี่ปุ่นในสมัยก่อน และตีความว่า "เขินหลวง" 96 คนในตำนานเมืองเชียงตุงนั้น อาจเป็นซะมุไรในบัญชาของยะมะดะ นะงะมะซะ อดีตขุนนางในสมเด็จพระเจ้าทรงธรรมแห่งกรุงศรีอยุธยา ที่ได้พาพรรคพวกหนีมายังเชียงตุงเมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 17 แต่อย่างไรก็ตามการตีความดังกล่าวเกิดขึ้นในช่วงสงครามโลกครั้งที่สองที่ญี่ปุ่นเข้ายึดครองรัฐฉาน ก็ถือโอกาสแพร่โฆษณาชวนเชื่อว่าชาวเชียงตุงและชาวญี่ปุ่นเป็นสายเลือดเดียวกัน และปัจจุบันนี้เรื่องดังกล่าวก็ได้รับการเชื่อถือจากชาวไทเขินพอสมควร และปรากฏในงานเขียนประวัติศาสตร์ของไทเขินอยู่ดาษดื่น
ชาวไทเขิน ปลูกเรือนยกเสาสูง หลังคามีจั่ว เช่นเดียวกับคนไทยและลาว
ที่มาของชื่อ
สาเหตุที่เขาเรียกตนเองว่า "ขึน" นั้นยังไม่มีข้อยุติ บ้างก็ว่าตั้งชื่อตาม ซึ่งไหลผ่านเมืองเชียงตุงจากตะวันตกขึ้นไปทางเหนือแล้วจึงไหลลงใต้แปลกจากแม่น้ำสายอื่น จึงเรียกแม่น้ำนั้นว่า "ขึน" (ทำนองคำว่า ขัดขืน หรือ ฝืน) ด้วยเหตุนี้พลเมืองที่อาศัยอยู่ตามสองฝั่งน้ำจึงเรียกตนเองว่า "ขึน" หรือ "ไตขึน" บ้างก็ว่าในรัชสมัยพญามังรายรบได้เมืองเชียงตุงแล้ว ได้ส่งไพร่พลจากเชียงแสนและเชียงรายขึ้นไปอยู่ ชาวเมืองทั้งสองไม่ชอบเมืองเชียงตุงจึงหนีกลับกันลงมา พญามังรายก็ส่งกลับขึ้นไปอีกแล้วก็หนีลงมาอีก ชาวเมืองจึงได้ชื่อว่า "ขืน" ที่หมายถึง "กลับคืน"
ศิลปะและวัฒนธรรม
ภาษา
ภาษาไทเขิน มีความคล้ายและใกล้เคียงกับภาษายองและไทลื้อมาก ทั้งยังคล้ายกับภาษาไทยวน ต่างเพียงแค่สำเนียง และการลงท้ายคำ ซึ่งชาวเขินแบ่งออกเป็นสามกลุ่มคือ กลุ่มเขินก่อ-เขินแด้, กลุ่มเขินอู และกลุ่มเขินหวา
นอกจากนี้ชาวไทเขินในเชียงตุงบางส่วนที่เคยได้รับการเรียนภาษาไทยช่วงที่ไทยเข้าปกครอง สามารถพูดและอ่านภาษาไทยได้ดี
อักษร
อักษรไทเขิน ชาวไทเขินได้รับอิทธิพลอักษรจากชาวไทยวนจากการเผยแผ่ศาสนาในเมืองเชียงตุง ไทเขินรับอักษรธรรมล้านนาและอักษรฝักขามไปพร้อม ๆ กับศาสนา อักษรไทเขินจึงมีลักษณะคล้ายกับอักษรธรรมล้านนา รวมทั้งยังรับวรรณกรรมล้านนาที่แพร่หลายสู่เชียงตุงด้วย
การแต่งกาย
ผู้ชาย สวมเสื้อผ้าฝ้ายทอมือแขนสามส่วน คอกลม ผ่าหน้า ติดกระดุม นิยมสวมเสื้อทับข้างนอก ส่วนเสื้อข้างในมักจะเป็นเสื้อยืดหรือเสื้อสีขาวมีปก นิยมผ้าโพกหัวใช้สีครีมหรือสีขาว และมัดเอวด้วยผ้าสีอ่อน สวมกางเกงสะดอใช้ได้ทุกสี
ผู้หญิง สวมเสื้อที่มีลักษณะเดียวกับเสื้อปั๊ด ไม่มีปก เสื้อมีตัวสั้น ชายเสื้อตรงเอวจะงอนขึ้นหรือกางออกเล็กน้อย ใช้ผ้าสีชมพูหรือสีอ่อนโพกหัว และผ้าซิ่น ส่วนบนเป็นลายริ้วหรือที่เรียกกันว่า “ซิ่นก่าน” ส่วนตีนจะต่อด้วยผ้าสีเขียวเป็นเอกลักษณ์ของชาวไทเขิน
อาหาร
ชาวไทเขินรับประทานข้าวเหนียวเช่นเดียวกับชาวไทยวนและชาวไทลื้อ อาหารที่ขึ้นชื่อของชาวไทเขิน คือ ข้าวซอยหน้อยหรือข้าวซอยอ่อน เป็นอาหารประจำถิ่นของชาวไทเขิน และชาวไทใหญ่ นอกจากนี้ยังมีอาหารอย่างอื่นที่เป็นเอกลักษณ์ของชาวไทเขิน เช่น แกงผักแว่น ไส้อั่ว(ไส้ล้องพิก) พริกข่า ข้าวต้มหัวหงอก การประกอบอาหารของชาวไทเขินยังคงนิยมทำกันเกือบทุกครัวเรือน
ประเพณี
ประเพณีของชาวไทเขินมีความคล้ายคลึงกับชาวล้านนาในการจัดพิธีสืบชะตาหรือต่ออายุหมู่บ้านเพื่อเป็นพลังให้แก่กลุ่มชน ส่วนศิลปะการแสดงที่นิยมเล่นกันตามงานประเพณี เช่น การฟ้อนรำหางนกยูง ฟ้อนฆ้องเชิง ฟ้อนรำนก ฟ้อนรำดาบ ฟ้อนโต ซึ่งการฟ้อนโตเป็นการแสดงถึงวัฒนธรรมร่วมของชาวไทใหญ่และชาวไทเขิน
หัตถกรรม
เครื่องเขิน
เครื่องเขินภาชนะของใช้ที่ทำโดยชาวไทเขินที่มีโครงเป็นเครื่องจักสานหรือไม้ เคลือบทาด้วยยางรักเพื่อความคงทน กันน้ำและความชื้น ทั้งเป็นการเพิ่มความสวยงามวิจิตรแก่พื้นผิวของภาชนะ โดยส่วนใหญ่โครงของเครื่องเขินจะเป็นเครื่องไม้ไผ่สาน ทาด้วยยางรักหลายๆชั้น โดยการทารักในชั้นแรกจะเป็นการยึดโครงของภาชนะให้เกิดความมั่นคง ส่วนการทารักในชั้นต่อๆไปเป็นการตกแต่งพื้นผิวภาชนะให้เรียบ และการทารักชั้นสุดท้ายจะเป็นการตกแต่งให้เกิดความสวยงาม เช่น การเขียนลวดลาย การปิดทอง หรือการขุดผิวให้เป็นร่องลึก แล้วฝังรักสีที่ต่างกันเป็นลวดลายสวยงาม หากเป็นภาชนะของใช้ทั่วไปจะมีน้ำหนักเบาจะนิยมใช้รักสีดำและตากแต่งด้วยสีแดงของชาด และกรณีภาชนะที่ใช้ในพิธี จะทำการตกแต่งเชิงศิลปะ เช่น ใช้ทองคำเปลวประดับ บางชิ้นอาจมีการปั้น กดรัก พิมพ์รักให้เป็นลวดลาย เพื่อเพิ่มความงดงามให้แก่ภาชนะ เครื่องเขินที่เป็นที่รู้จักและแพร่หลาย มีดังนี้
- เชี่ยนหมาก
- พาน
- ขันโอ
- ขันน้ำ
- ถาด
ศาสนา
ในอดีตชาวไทเขินนับถือความเชื่อเรื่องและวิญญาณ แม้หลังการรับศาสนาแล้วความเชื่อดังกล่าวก็ยังคงอยู่ นอกจากนี้ยังนับถือกบและนาคเป็นสัญลักษณ์ของความสมบูรณ์ ดังปรากฏในพิธีปั้นกบเรียกฝนในช่วงสงกรานต์ และการระบำนางนาค เป็นต้น
เมืองเชียงตุงมีความสัมพันธ์กับอาณาจักรล้านนาช้านาน จึงมีการติดต่อด้านศาสนาและรับศาสนาพุทธนิกายเถรวาทสืบมา ทั้งนี้พระสงฆ์เขินจะไม่สังฆกรรมร่วมกับพระสงฆ์พม่าและไทใหญ่ แม้จะมีความสัมพันธ์ที่ดีกับคณะสงฆ์ไทใหญ่ แต่คณะสงฆ์เขินกลับสนิทสนมกับคณะสงฆ์ไทยเสียมากกว่า โดยคณะสงฆ์เขินมี สมเด็จอาชญาธรรม เป็นประมุขสงฆ์แห่งเมืองเชียงตุงและหัวเมืองทางฟากตะวันออกของลุ่มน้ำสาละวิน
ครั้นรัฐบาลพม่าได้จัดประชุมตัวแทนพระสงฆ์ทั่วประเทศ โดยให้ตัวแทนของพระสงฆ์แต่ละนิกายแสดงสถานภาพตนเองว่าจะสังกัดนิกายใด หรือจะใช้นิกายเดิม หรือรวมกับนิกายอื่น ปรากฏว่าพระสงฆ์เขินได้มีเจตจำนงรวมเข้ากับนิกายสุธรรมาซึ่งเป็นนิกายที่ใหญ่ที่สุดของพม่า หลังจากนั้นเป็นต้นมา สมเด็จอาชญาธรรม ประมุขของคณะสงฆ์เขินจึงถูกลดฐานะลงเทียบเจ้าคณะอำเภอเชียงตุงเท่านั้น
อย่างไรก็ตามแม้ล้านนาจะถูกผนวกเป็นส่วนหนึ่งของประเทศไทยแล้ว การจัดระเบียบปกครองสงฆ์ล้วนทำเป็นอย่างสงฆ์ในกรุงเทพมหานคร และได้รับอิทธิพลศาสนาพุทธแบบกรุงเทพฯ ในยุคหลังมานี้ แม้คณะสงฆ์เขินจะคงจารีตสมณะศักดิ์แบบล้านนาเดิมไว้ แต่ในด้านการศึกษาของพระสงฆ์เขินเชียงตุงได้พยายามอิงหลักสูตรนักธรรมและบาลีของคณะสงฆ์ไทย ทำให้มีความแตกต่างจากศาสนาพุทธแบบพม่า และแบบไทใหญ่ ทั้งศาสนิกชนยังนิยมพระพุทธรูปที่มีพุทธศิลป์แบบไทย มากกว่าพระพุทธรูปพุทธศิลป์แบบพม่า ทางรัฐบาลพม่าเองก็ไม่พอใจคณะสงฆ์เขินนักด้วยมองว่าคณะสงฆ์เขินฝักใฝ่คณะสงฆ์ไทย
ปัจจุบันชาวเขินส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธควบคู่ไปกับการนับถือผีบรรพบุรุษ มีส่วนน้อยที่เปลี่ยนไปนับถือศาสนาคริสต์และอิสลาม
อ้างอิง
- "Tai Khun". Joshua Project. สืบค้นเมื่อ 30 เมษายน 2558.
{{}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
((help)) - "ไทขึน (ไทเขิน)". ฐานข้อมูลกลุ่มชาติพันธุ์ในไทย ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์กรมหาชน). สืบค้นเมื่อ 30 ธันวาคม 2557.
{{}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
((help))[] - เจนจิรา เบญจพงศ์ (17-23 กุมภาพันธ์ 2555). "ไทขึน เมืองเชียงตุง". สุวรรณภูมิสโมสร. สืบค้นเมื่อ 30 ธันวาคม 2557.
{{}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
((help)) - สรัสวดี อ๋องสกุล (ปริวรรต). พื้นเมืองเชียงแสน. กรุงเทพฯ: อมรินทร์, 2546, หน้า 58
- วิจิตรวาทการ, พลตรี, หลวง. งานค้นคว้าเรื่องชนชาติไทย. กรุงเทพฯ : สร้างสรรค์บุ๊คส์, 2549, หน้า 106
- เสมอชัย พูลสุวรรณ. รัฐฉาน (เมืองไต):พลวัติของชาติพันธุ์ในบริบทประวัติศาสตร์และการเมืองร่วมสมัย. กรุงเทพฯ:ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน), 2552, หน้า 82-83
- เสมอชัย พูลสุวรรณ. รัฐฉาน (เมืองไต):พลวัติของชาติพันธุ์ในบริบทประวัติศาสตร์และการเมืองร่วมสมัย. กรุงเทพฯ:ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน), 2552, หน้า 85
- สรัสวดี อ๋องสกุล. วัฒนธรรมและการเมืองล้านนา. กรุงเทพฯ : ต้นอ้อ 1999 จำกัด, 2542, หน้า 150
- เสมอชัย พูลสุวรรณ. รัฐฉาน (เมืองไต):พลวัติของชาติพันธุ์ในบริบทประวัติศาสตร์และการเมืองร่วมสมัย. กรุงเทพฯ:ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน), 2552, หน้า 86
- จิตร ภูมิศักดิ์. ความเป็นมาของคำสยาม, ไทย ลาว และขอม และลักษณะทางสังคมของชื่อชนชาติ. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ : ชนนิยม, 2556, หน้า 396
- "ไทเขินบ้านต้นแหนนน้อย". ศูนย์ข้อมูลกลางทางวัฒนธรรม. 31 พฤษภาคม 2555. สืบค้นเมื่อ 31 ธันวาคม 2557.
{{}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
((help))[] - บรรจบ พันธุเมธา. ไปสอบคำไทย. กรุงเทพฯ : โครงการเผยแพร่เอกลักษณ์ของไทย กระทรวงศึกษาธิการ, 2522, หน้า 174
- สรัสวดี อ๋องสกุล. ประวัติศาสตร์ล้านนา. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ:อมรินทร์, 2552, หน้า 230
- "ไทเขิน/ขิน". site.sri.cmu.ac.th.
- admin. "เครื่องเขิน: หัตถศิลป์แห่งภูมิปัญญา | Thammasat Museum of Anthropology".
- เสมอชัย พูลสุวรรณ. รัฐฉาน (เมืองไต):พลวัติของชาติพันธุ์ในบริบทประวัติศาสตร์และการเมืองร่วมสมัย. กรุงเทพฯ:ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน), 2552, หน้า 132
- เสมอชัย พูลสุวรรณ. รัฐฉาน (เมืองไต):พลวัติของชาติพันธุ์ในบริบทประวัติศาสตร์และการเมืองร่วมสมัย. กรุงเทพฯ:ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน), 2552, หน้า 131
- เสมอชัย พูลสุวรรณ. รัฐฉาน (เมืองไต):พลวัติของชาติพันธุ์ในบริบทประวัติศาสตร์และการเมืองร่วมสมัย. กรุงเทพฯ:ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน), 2552, หน้า 129-130
- เสมอชัย พูลสุวรรณ. รัฐฉาน (เมืองไต):พลวัติของชาติพันธุ์ในบริบทประวัติศาสตร์และการเมืองร่วมสมัย. กรุงเทพฯ:ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน), 2552, หน้า 135
- . กลุ่มชาติพันธุ์ในประเทศไทย ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์กรมหาชน). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-07-29. สืบค้นเมื่อ 30 กรกฎาคม 2564.
{{}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
((help))
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
ithekhin ithkhun hrux itkhun epnklumchatiphnthuchawithklumhnungthiswnihyxasyxyuinemuxngechiyngtung rthchan praethsphma mibangthixasyinpraethsithyaelapraethscinithekhin ithkhunprachakrthnghmdpraman 138 000 khnphumiphakhthimiprachakrxyangminysakhypraethsphma130 000 khnpraethscin10 000 khnpraethsithy6 800 khnpraethslaw800 khnphasaithekhin ithywn ithy phmasasnasasnaphuththnikayethrwathprawtichawithkhun hruxithyeriykwa ithekhin epnphlemuxnghlkkhxngemuxngechiyngtung thiekhamaaethnthichnphunemuxngthitngrkrakxyukxnhnakhuxchawlwa cakaetedimithekhinekhaipxyupapnkxnhnani bangaehngkwaithekhinsubechuxsaymacakithlux dwymilksnaaelakhnbthrrmeniympraephnikhlaykn bangkwamibrrphburusepnithywnthixphyphkhunehnuxchwngkhriststwrrsthi 13 tngaetsmyphyamngray aelasnnisthanwachnklumninacaekhyeriyktwexngwa oyn hrux ywn makxn in tananphunemuxngechiyngtung klawthung phithinngemuxnginrchsmyphyamngray thisngecanathwmkhunmakhrxngemuxngwa emuxngechiyngtungepnemuxng namcnthr imtxngochlkinohrasastrkb oyn sungepnemuxng namrahu dngnnphwkoynkhunippkkhrxngemuxngechiyngtungcaxyuidimmnkhng txngaekekhlddwykartamphwk ekhinhlwng 96 khncakthangitthithuknamemuxngihrwmphithidwy aelwihphwkoynthikhunipxyuechiyngtungtdphmsnxyangekhinhlwng hlngcaknnecanathwmkkhrxngemuxngechiyngtungdwykhwamphasuksubma cnkrathngrthbalthharphmaykeliktaaehnngecanayip emuxpi ph s 2505 bangaehngkwabrrphburuschawithekhinepnchawyipun praktkhrngaerkinnganekhiynkhxng dxketxr wileliym khliftn dxdd odyklawwa inpi kh s 1931 mikhnathutyipunpracaphmaidmasuberuxngrawkhxngchawyipuninechiyngtung kphbwaekhruxngmuxekhruxngichkhxngchawithekhin xathi hmwk rxngetha aelaaebbaephnbaneruxnnn khlaykbchawyipuninsmykxn aelatikhwamwa ekhinhlwng 96 khnintananemuxngechiyngtungnn xacepnsamuirinbychakhxngyamada nangamasa xditkhunnanginsmedcphraecathrngthrrmaehngkrungsrixyuthya thiidphaphrrkhphwkhnimayngechiyngtungemuxkhriststwrrsthi 17 aetxyangirktamkartikhwamdngklawekidkhuninchwngsngkhramolkkhrngthisxngthiyipunekhayudkhrxngrthchan kthuxoxkasaephrokhsnachwnechuxwachawechiyngtungaelachawyipunepnsayeluxdediywkn aelapccubnnieruxngdngklawkidrbkarechuxthuxcakchawithekhinphxsmkhwr aelapraktinnganekhiynprawtisastrkhxngithekhinxyudasdun chawithekhin plukeruxnykesasung hlngkhamicw echnediywkbkhnithyaelalawthimakhxngchuxsaehtuthiekhaeriyktnexngwa khun nnyngimmikhxyuti bangkwatngchuxtam sungihlphanemuxngechiyngtungcaktawntkkhunipthangehnuxaelwcungihllngitaeplkcakaemnasayxun cungeriykaemnannwa khun thanxngkhawa khdkhun hrux fun dwyehtuniphlemuxngthixasyxyutamsxngfngnacungeriyktnexngwa khun hrux itkhun bangkwainrchsmyphyamngrayrbidemuxngechiyngtungaelw idsngiphrphlcakechiyngaesnaelaechiyngraykhunipxyu chawemuxngthngsxngimchxbemuxngechiyngtungcunghniklbknlngma phyamngrayksngklbkhunipxikaelwkhnilngmaxik chawemuxngcungidchuxwa khun thihmaythung klbkhun silpaaelawthnthrrmphasa phasaithekhin mikhwamkhlayaelaiklekhiyngkbphasayxngaelaithluxmak thngyngkhlaykbphasaithywn tangephiyngaekhsaeniyng aelakarlngthaykha sungchawekhinaebngxxkepnsamklumkhux klumekhinkx ekhinaed klumekhinxu aelaklumekhinhwa nxkcaknichawithekhininechiyngtungbangswnthiekhyidrbkareriynphasaithychwngthiithyekhapkkhrxng samarthphudaelaxanphasaithyiddi xksr xksrithekhin chawithekhinidrbxiththiphlxksrcakchawithywncakkarephyaephsasnainemuxngechiyngtung ithekhinrbxksrthrrmlannaaelaxksrfkkhamipphrxm kbsasna xksrithekhincungmilksnakhlaykbxksrthrrmlanna rwmthngyngrbwrrnkrrmlannathiaephrhlaysuechiyngtungdwy karaetngkayinphithiesksmrskhxng ecahmfa emuxngaesnhwi aelaecanangaewnthiphy emuxngechiyngtungkaraetngkay phuchay swmesuxphafaythxmuxaekhnsamswn khxklm phahna tidkradum niymswmesuxthbkhangnxk swnesuxkhanginmkcaepnesuxyudhruxesuxsikhawmipk niymphaophkhwichsikhrimhruxsikhaw aelamdexwdwyphasixxn swmkangekngsadxichidthuksi phuhying swmesuxthimilksnaediywkbesuxpd immipk esuxmitwsn chayesuxtrngexwcangxnkhunhruxkangxxkelknxy ichphasichmphuhruxsixxnophkhw aelaphasin swnbnepnlayriwhruxthieriykknwa sinkan swntincatxdwyphasiekhiywepnexklksnkhxngchawithekhin xahar chawithekhinrbprathankhawehniywechnediywkbchawithywnaelachawithlux xaharthikhunchuxkhxngchawithekhin khux khawsxyhnxyhruxkhawsxyxxn epnxaharpracathinkhxngchawithekhin aelachawithihy nxkcakniyngmixaharxyangxunthiepnexklksnkhxngchawithekhin echn aekngphkaewn isxw islxngphik phrikkha khawtmhwhngxk karprakxbxaharkhxngchawithekhinyngkhngniymthaknekuxbthukkhrweruxn praephni praephnikhxngchawithekhinmikhwamkhlaykhlungkbchawlannainkarcdphithisubchatahruxtxxayuhmubanephuxepnphlngihaekklumchn swnsilpakaraesdngthiniymelnkntamnganpraephni echn karfxnrahangnkyung fxnkhxngeching fxnrank fxnradab fxnot sungkarfxnotepnkaraesdngthungwthnthrrmrwmkhxngchawithihyaelachawithekhin htthkrrm ekhruxngekhin ekhruxngekhinphachnakhxngichthithaodychawithekhinthimiokhrngepnekhruxngcksanhruxim ekhluxbthadwyyangrkephuxkhwamkhngthn knnaaelakhwamchun thngepnkarephimkhwamswyngamwicitraekphunphiwkhxngphachna odyswnihyokhrngkhxngekhruxngekhincaepnekhruxngimiphsan thadwyyangrkhlaychn odykartharkinchnaerkcaepnkaryudokhrngkhxngphachnaihekidkhwammnkhng swnkartharkinchntxipepnkartkaetngphunphiwphachnaiheriyb aelakartharkchnsudthaycaepnkartkaetngihekidkhwamswyngam echn karekhiynlwdlay karpidthxng hruxkarkhudphiwihepnrxngluk aelwfngrksithitangknepnlwdlayswyngam hakepnphachnakhxngichthwipcaminahnkebacaniymichrksidaaelatakaetngdwysiaedngkhxngchad aelakrniphachnathiichinphithi cathakartkaetngechingsilpa echn ichthxngkhaeplwpradb bangchinxacmikarpn kdrk phimphrkihepnlwdlay ephuxephimkhwamngdngamihaekphachna ekhruxngekhinthiepnthiruckaelaaephrhlay midngni echiynhmak phan khnox khnna thadsasnainxditchawithekhinnbthuxkhwamechuxeruxngaelawiyyan aemhlngkarrbsasnaaelwkhwamechuxdngklawkyngkhngxyu nxkcakniyngnbthuxkbaelanakhepnsylksnkhxngkhwamsmburn dngpraktinphithipnkberiykfninchwngsngkrant aelakarrabanangnakh epntn emuxngechiyngtungmikhwamsmphnthkbxanackrlannachanan cungmikartidtxdansasnaaelarbsasnaphuththnikayethrwathsubma thngniphrasngkhekhincaimsngkhkrrmrwmkbphrasngkhphmaaelaithihy aemcamikhwamsmphnththidikbkhnasngkhithihy aetkhnasngkhekhinklbsnithsnmkbkhnasngkhithyesiymakkwa odykhnasngkhekhinmi smedcxachyathrrm epnpramukhsngkhaehngemuxngechiyngtungaelahwemuxngthangfaktawnxxkkhxnglumnasalawin khrnrthbalphmaidcdprachumtwaethnphrasngkhthwpraeths odyihtwaethnkhxngphrasngkhaetlanikayaesdngsthanphaphtnexngwacasngkdnikayid hruxcaichnikayedim hruxrwmkbnikayxun praktwaphrasngkhekhinidmiectcanngrwmekhakbnikaysuthrrmasungepnnikaythiihythisudkhxngphma hlngcaknnepntnma smedcxachyathrrm pramukhkhxngkhnasngkhekhincungthukldthanalngethiybecakhnaxaephxechiyngtungethann xyangirktamaemlannacathukphnwkepnswnhnungkhxngpraethsithyaelw karcdraebiybpkkhrxngsngkhlwnthaepnxyangsngkhinkrungethphmhankhr aelaidrbxiththiphlsasnaphuththaebbkrungethph inyukhhlngmani aemkhnasngkhekhincakhngcaritsmnaskdiaebblannaedimiw aetindankarsuksakhxngphrasngkhekhinechiyngtungidphyayamxinghlksutrnkthrrmaelabalikhxngkhnasngkhithy thaihmikhwamaetktangcaksasnaphuththaebbphma aelaaebbithihy thngsasnikchnyngniymphraphuththrupthimiphuththsilpaebbithy makkwaphraphuththrupphuththsilpaebbphma thangrthbalphmaexngkimphxickhnasngkhekhinnkdwymxngwakhnasngkhekhinfkifkhnasngkhithy pccubnchawekhinswnihynbthuxsasnaphuththkhwbkhuipkbkarnbthuxphibrrphburus miswnnxythiepliynipnbthuxsasnakhristaelaxislamxangxing Tai Khun Joshua Project subkhnemux 30 emsayn 2558 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite web title aemaebb Cite web cite web a trwcsxbkhawnthiin accessdate help ithkhun ithekhin thankhxmulklumchatiphnthuinithy sunymanusywithyasirinthr xngkhkrmhachn subkhnemux 30 thnwakhm 2557 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite web title aemaebb Cite web cite web a trwcsxbkhawnthiin accessdate help lingkesiy ecncira ebycphngs 17 23 kumphaphnth 2555 ithkhun emuxngechiyngtung suwrrnphumisomsr subkhnemux 30 thnwakhm 2557 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite web title aemaebb Cite web cite web a trwcsxbkhawnthiin accessdate help srswdi xxngskul priwrrt phunemuxngechiyngaesn krungethph xmrinthr 2546 hna 58 wicitrwathkar phltri hlwng ngankhnkhwaeruxngchnchatiithy krungethph srangsrrkhbukhs 2549 hna 106 esmxchy phulsuwrrn rthchan emuxngit phlwtikhxngchatiphnthuinbribthprawtisastraelakaremuxngrwmsmy krungethph sunymanusywithyasirinthr xngkhkarmhachn 2552 hna 82 83 esmxchy phulsuwrrn rthchan emuxngit phlwtikhxngchatiphnthuinbribthprawtisastraelakaremuxngrwmsmy krungethph sunymanusywithyasirinthr xngkhkarmhachn 2552 hna 85 srswdi xxngskul wthnthrrmaelakaremuxnglanna krungethph tnxx 1999 cakd 2542 hna 150 esmxchy phulsuwrrn rthchan emuxngit phlwtikhxngchatiphnthuinbribthprawtisastraelakaremuxngrwmsmy krungethph sunymanusywithyasirinthr xngkhkarmhachn 2552 hna 86 citr phumiskdi khwamepnmakhxngkhasyam ithy law aelakhxm aelalksnathangsngkhmkhxngchuxchnchati phimphkhrngthi 6 krungethph chnniym 2556 hna 396 ithekhinbantnaehnnnxy sunykhxmulklangthangwthnthrrm 31 phvsphakhm 2555 subkhnemux 31 thnwakhm 2557 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite web title aemaebb Cite web cite web a trwcsxbkhawnthiin accessdate help lingkesiy brrcb phnthuemtha ipsxbkhaithy krungethph okhrngkarephyaephrexklksnkhxngithy krathrwngsuksathikar 2522 hna 174 srswdi xxngskul prawtisastrlanna phimphkhrngthi 6 krungethph xmrinthr 2552 hna 230 ithekhin khin site sri cmu ac th admin ekhruxngekhin htthsilpaehngphumipyya Thammasat Museum of Anthropology esmxchy phulsuwrrn rthchan emuxngit phlwtikhxngchatiphnthuinbribthprawtisastraelakaremuxngrwmsmy krungethph sunymanusywithyasirinthr xngkhkarmhachn 2552 hna 132 esmxchy phulsuwrrn rthchan emuxngit phlwtikhxngchatiphnthuinbribthprawtisastraelakaremuxngrwmsmy krungethph sunymanusywithyasirinthr xngkhkarmhachn 2552 hna 131 esmxchy phulsuwrrn rthchan emuxngit phlwtikhxngchatiphnthuinbribthprawtisastraelakaremuxngrwmsmy krungethph sunymanusywithyasirinthr xngkhkarmhachn 2552 hna 129 130 esmxchy phulsuwrrn rthchan emuxngit phlwtikhxngchatiphnthuinbribthprawtisastraelakaremuxngrwmsmy krungethph sunymanusywithyasirinthr xngkhkarmhachn 2552 hna 135 klumchatiphnthuinpraethsithy sunymanusywithyasirinthr xngkhkrmhachn khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2021 07 29 subkhnemux 30 krkdakhm 2564 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite web title aemaebb Cite web cite web a trwcsxbkhawnthiin accessdate help bthkhwammnusy manusywithya aelaeruxngthiekiywkhxngniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldk