ยานอวกาศจูโน (อังกฤษ: Juno) เป็นของนาซา ไปยังดาวพฤหัสบดี จูโนถูกปล่อยขึ้นจาก เมื่อวันที่ 5 สิงหาคม ค.ศ. 2011 และจะไปถึงจุดหมายในวันที่ 4 กรกฎาคม ค.ศ. 2016 โดยมีรูปแบบการโคจรอยู่ใน เพื่อศึกษาองค์ประกอบของดาวพฤหัสบดี, , สนามแม่เหล็ก และ ศึกษาจุดกำเนิดของดาวรวมถึงค้นหาคำตอบว่าดาวพฤหัสบดีที่มีแกนหินหรือไม่ ปริมาณน้ำในชั้นบรรยากาศที่ลึกลงไป การกระจายมวลและความเร็วลมในบรรยากาศชั้นลึกที่เชื่อว่าจะมีความเร็วลมสูงสุด 618 กิโลเมตรต่อชั่วโมง (384 ไมล์ต่อชั่วโมง)
จูโน | |||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ภาพของยานอวกาศจูโน | |||||||||||||||||||
ประเภทภารกิจ | โคจรรอบดาวพฤหัส | ||||||||||||||||||
ผู้ดำเนินการ | NASA / JPL | ||||||||||||||||||
COSPAR ID | 2011-040A | ||||||||||||||||||
SATCAT no. | 37773 | ||||||||||||||||||
เว็บไซต์ |
| ||||||||||||||||||
ระยะภารกิจ | แผน: 7 ปี รวม: 12 ปี 10 เดือน 11 วัน เดินทาง: 4 ปี 10 เดือน 29 วัน เฟสวิทยาศาสตร์: 4 ปี (จนถึงเดือนกรกฎาคม ค.ศ.2021) | ||||||||||||||||||
ข้อมูลยานอวกาศ | |||||||||||||||||||
ผู้ผลิต | |||||||||||||||||||
มวลขณะส่งยาน | 3,625 kg (7,992 lb) | ||||||||||||||||||
มวลแห้ง | 1,593 kg (3,512 lb) | ||||||||||||||||||
ขนาด | 20.1 × 4.6 m (66 × 15 ft) | ||||||||||||||||||
กำลังไฟฟ้า | 14 กิโลวัตต์จากโลก 435 วัตต์ที่ดาวพฤหัส 2 × 55- lithium-ion batteries | ||||||||||||||||||
เริ่มต้นภารกิจ | |||||||||||||||||||
วันที่ส่งขึ้น | August 5, 2011, 16:25UTC | ||||||||||||||||||
จรวดนำส่ง | (AV-029) | ||||||||||||||||||
ฐานส่ง | Cape Canaveral | ||||||||||||||||||
ผู้ดำเนินงาน | |||||||||||||||||||
บินผ่านโลก | |||||||||||||||||||
เข้าใกล้สุด | 9 ตุลาคม ค.ศ.2013 | ||||||||||||||||||
ระยะทาง | 559 km (347 mi) | ||||||||||||||||||
ยานอวกาศโคจรรอบ ดาวพฤหัส | |||||||||||||||||||
แทรกวงโคจร | 5 กรกฎาคม ค.ศ.2016, 03:53 UTC 7 ปี 11 เดือน 12 วัน ago | ||||||||||||||||||
วงโคจร | 37 (แผน) | ||||||||||||||||||
ลักษณะวงโคจร | |||||||||||||||||||
จุดใกล้ที่สุด | ระดับความสูง4,200 km (2,600 mi) รัศมี75,600 km (47,000 mi) | ||||||||||||||||||
จุดไกลที่สุด | 8.1 ล้าน กิโลเมตร (5.0 ล้าน ไมล์)(*) | ||||||||||||||||||
ความเอียง | 90 องศา (โคจรรอบขั้วดาว) | ||||||||||||||||||
| |||||||||||||||||||
Juno mission insignia |
จูโนเป็นยานอวกาศลำที่สองที่โคจรรอบดาวพฤหัสบดีต่อจากยานอวกาศกาลิเลโอที่โคจรระหว่างปี ค.ศ. 1995 - 2003
ตัวยานอวกาศใช้แผงพลังงานแสงอาทิตย์เป็นแหล่งพลังงานซึ่งมักจะใช้ในดาวเทียมที่โคจรรอบวงโคจรโลกและภารกิจในระบบสุริยจักรวาลชั้นใน ในขณะที่ภารกิจในระบบสุริยจักรวาลชั้นนอกมักจะใช้ เป็นแหล่งพลังงาน อย่างไรแผงพลังแสงอาทิตย์ทั้งสามแผงที่ทำหน้าที่เป็นปีกไปในตัวจะมีหน้าที่เป็นทั้งตัวสร้างสมดุลของตัวยานและแหล่งพลังงาน
ชื่อยานอวกาศนั้นตั้งตามเทพปกรณัมกรีก ตามตำนานเล่าว่าเทพจูปิเตอร์ได้ซ่อนความผิดของตนไว้ภายใต้เมฆหมอก แต่จูโนชายาของจูปิเตอร์สามารถแหวกม่านหมอกนั้นและเห็นตัวตนที่แท้จริงของจูปิเตอร์ แต่อย่างไรก็ตามนาซาได้ระบุถึงชื่อเต็มของจูโนเป็นภาษาอังกฤษว่า JUpiter Near-polar Orbiter
ข้อมูลภารกิจ
ยานอวกาศจูโนได้เดินทางจากโลกไปยังดาวพฤหัสบดีโดยใช้เวลานานถึง 5 ปี และเดินทางถึงจุดหมายในเช้าวันที่ 5 กรกฎาคม ค.ศ. 2016 ตามเวลาในประเทศไทย ยานอวกาศได้เดินทางเป็นระยะทางประมาณ 2.8 พันล้านกิโลเมตร (18.7 หน่วยดาราศาสตร์ หรือ 1.74 พันล้านไมล์) และจะโคจรรอบดาวพฤหัสบดี 37 รอบในระยะเวลา 20 เดือน
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ระยะเวลาการปล่อย
(AV-029) ได้ใช้เครื่องยนต์หลัก ที่ได้รับการออกแบบจากรัสเซีย ที่ขับเคลื่อนโดย น้ำมันก๊าด และออกซิเจนเหลว
การเดินทางไปดาวพฤหัสบดีจะใช้เวลา 5 ปี ซึ่งรวมถึงการบินผ่านโลกในวันที่ 10 ตุลาคม ค.ศ. 2013 ต่อมาในวันที่ 12 สิงหาคม ค.ศ. 2013 จูโนเดินทางได้ครึ่งหนึ่งของการเดินทางไปยังดาวพฤหัสบดี เมื่อไปถึงระบบดาวพฤหัสบดี จูโนจะได้เดินทางไปประมาณ 19 AU
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
อ้างอิง
- . . NASA. April 2009. p. 1. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2018-12-25. สืบค้นเมื่อ April 5, 2011.
- "Jupiter Orbit Insertion Press Kit" (PDF). NASA. 2016. สืบค้นเมื่อ July 7, 2016.
- Foust, Jeff (July 5, 2016). "Juno enters orbit around Jupiter". Space News. สืบค้นเมื่อ August 25, 2016.
- Chang, Kenneth (July 5, 2016). "NASA's Juno Spacecraft Enters Jupiter's Orbit". The New York Times. สืบค้นเมื่อ July 5, 2016.
- Greicius, Tony (September 21, 2015). . NASA. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-12-25. สืบค้นเมื่อ October 2, 2015.
- "Mission Acronyms & Definitions" 2020-09-25 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน (PDF). NASA. Retrieved April 30, 2016.
- Juno Spacecraft Overview 2011-10-02 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน Juno – NASA's Second New Frontiers Mission to Jupiter. Accessed August 6, 2011
- "Atlas/Juno launch timeline". Spaceflight Now. July 28, 2011.
- . NASA. 12 August 2013. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-03-17. สืบค้นเมื่อ 12 August 2013.
แหล่งข้อมูลอื่น
- เว็บไซต์ทางการ on NASA.gov
- Juno mission web site on South West Research Institute
- Juno Mission Profile 2007-06-11 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน by NASA's Solar System Exploration
- NASA Selects New Frontiers Concept Study: Juno Mission to Jupiter 2011-10-15 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน at NASA Jet Propulsion Laboratory
- The Juno Mission to Jupiter at
- NASA 360 New Worlds New Discoveries 1/2. Retrieved June 30, 2011.
- Juno Instruments 2017-05-09 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน (includes link to make paper scale model here 2021-03-17 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน)
- ยานอวกาศจูโน เข้าสู่วงโคจรดาวพฤหัสบดี สำเร็จลุล่วง
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
yanxwkascuon xngkvs Juno epnkhxngnasa ipyngdawphvhsbdi cuonthukplxykhuncak emuxwnthi 5 singhakhm kh s 2011 aelacaipthungcudhmayinwnthi 4 krkdakhm kh s 2016 odymirupaebbkarokhcrxyuin ephuxsuksaxngkhprakxbkhxngdawphvhsbdi snamaemehlk aela suksacudkaenidkhxngdawrwmthungkhnhakhatxbwadawphvhsbdithimiaeknhinhruxim primannainchnbrryakasthiluklngip karkracaymwlaelakhwamerwlminbrryakaschnlukthiechuxwacamikhwamerwlmsungsud 618 kiolemtrtxchwomng 384 imltxchwomng cuonphaphkhxngyanxwkascuonpraephthpharkicokhcrrxbdawphvhsphudaeninkarNASA JPLCOSPAR ID2011 040ASATCAT no 37773ewbistnasa wbr gov wbr juno NASA missionjuno wbr swri wbr edu SwRI rayapharkicaephn 7 pi rwm 12 pi 10 eduxn 11 wn edinthang 4 pi 10 eduxn 29 wn efswithyasastr 4 pi cnthungeduxnkrkdakhm kh s 2021 khxmulyanxwkasphuphlitmwlkhnasngyan3 625 kg 7 992 lb mwlaehng1 593 kg 3 512 lb khnad20 1 4 6 m 66 15 ft kalngiffa14 kiolwttcakolk 435 wttthidawphvhs 2 55 lithium ion batterieserimtnpharkicwnthisngkhunAugust 5 2011 16 25 2011 08 05UTC16 25 UTCcrwdnasng AV 029 thansngCape Canaveralphudaeninnganbinphanolkekhaiklsud9 tulakhm kh s 2013rayathang559 km 347 mi yanxwkasokhcrrxb dawphvhsaethrkwngokhcr5 krkdakhm kh s 2016 03 53 UTC 7 pi 11 eduxn 12 wn agowngokhcr37 aephn lksnawngokhcrcudiklthisudradbkhwamsung4 200 km 2 600 mi rsmi75 600 km 47 000 mi cudiklthisud8 1 lan kiolemtr 5 0 lan iml khwamexiyng90 xngsa okhcrrxbkhwdaw ekhruxngmuxMWRJIRAMMAGGRAVJADEJEDIWavesUVSJuno mission insignia niwhxirsnsixisris erks cuonepnyanxwkaslathisxngthiokhcrrxbdawphvhsbditxcakyanxwkaskalieloxthiokhcrrahwangpi kh s 1995 2003 twyanxwkasichaephngphlngnganaesngxathityepnaehlngphlngngansungmkcaichindawethiymthiokhcrrxbwngokhcrolkaelapharkicinrabbsuriyckrwalchnin inkhnathipharkicinrabbsuriyckrwalchnnxkmkcaich epnaehlngphlngngan xyangiraephngphlngaesngxathitythngsamaephngthithahnathiepnpikipintwcamihnathiepnthngtwsrangsmdulkhxngtwyanaelaaehlngphlngngan chuxyanxwkasnntngtamethphpkrnmkrik tamtananelawaethphcupietxridsxnkhwamphidkhxngtniwphayitemkhhmxk aetcuonchayakhxngcupietxrsamarthaehwkmanhmxknnaelaehntwtnthiaethcringkhxngcupietxr aetxyangirktamnasaidrabuthungchuxetmkhxngcuonepnphasaxngkvswa JUpiter Near polar Orbiterkhxmulpharkicyanxwkascuonidedinthangcakolkipyngdawphvhsbdiodyichewlananthung 5 pi aelaedinthangthungcudhmayinechawnthi 5 krkdakhm kh s 2016 tamewlainpraethsithy yanxwkasidedinthangepnrayathangpraman 2 8 phnlankiolemtr 18 7 hnwydarasastr hrux 1 74 phnlaniml aelacaokhcrrxbdawphvhsbdi 37 rxbinrayaewla 20 eduxn swnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidrayaewlakarplxy AV 029 idichekhruxngynthlk thiidrbkarxxkaebbcakrsesiy thikhbekhluxnody namnkad aelaxxksiecnehlw karedinthangipdawphvhsbdicaichewla 5 pi sungrwmthungkarbinphanolkinwnthi 10 tulakhm kh s 2013 txmainwnthi 12 singhakhm kh s 2013 cuonedinthangidkhrunghnungkhxngkaredinthangipyngdawphvhsbdi emuxipthungrabbdawphvhsbdi cuoncaidedinthangippraman 19 AU swnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidxangxing NASA April 2009 p 1 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedim PDF emux 2018 12 25 subkhnemux April 5 2011 Jupiter Orbit Insertion Press Kit PDF NASA 2016 subkhnemux July 7 2016 Foust Jeff July 5 2016 Juno enters orbit around Jupiter Space News subkhnemux August 25 2016 Chang Kenneth July 5 2016 NASA s Juno Spacecraft Enters Jupiter s Orbit The New York Times subkhnemux July 5 2016 Greicius Tony September 21 2015 NASA khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2018 12 25 subkhnemux October 2 2015 Mission Acronyms amp Definitions 2020 09 25 thi ewyaebkaemchchin PDF NASA Retrieved April 30 2016 Juno Spacecraft Overview 2011 10 02 thi ewyaebkaemchchin Juno NASA s Second New Frontiers Mission to Jupiter Accessed August 6 2011 Atlas Juno launch timeline Spaceflight Now July 28 2011 NASA 12 August 2013 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2021 03 17 subkhnemux 12 August 2013 aehlngkhxmulxunwikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb Juno ewbistthangkar on NASA gov Juno mission web site on South West Research Institute Juno Mission Profile 2007 06 11 thi ewyaebkaemchchin by NASA s Solar System Exploration NASA Selects New Frontiers Concept Study Juno Mission to Jupiter 2011 10 15 thi ewyaebkaemchchin at NASA Jet Propulsion Laboratory The Juno Mission to Jupiter at NASA 360 New Worlds New Discoveries 1 2 Retrieved June 30 2011 Juno Instruments 2017 05 09 thi ewyaebkaemchchin includes link to make paper scale model here 2021 03 17 thi ewyaebkaemchchin yanxwkascuon ekhasuwngokhcrdawphvhsbdi saerclulwngsthaniyxyrabbsuriya