จารึกวัดพระยืน เป็นจารึกซึ่ง ทรงค้นพบเมื่อ พ.ศ. 2457 โดยตั้งอยู่ประชิดฐานเจดีย์ด้านทิศเหนือใกล้กับบันได้แก้ว โดยได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นเอกสารมรดกความทรงจำแห่งโลกของประเทศไทย โดยคณะกรรมการแห่งชาติว่าด้วยแผนงานความทรงจำแห่งโลกของคณะกรรมการแห่งชาติว่าด้วยการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) เมื่อวันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2558 โดยยังคงเก็บรักษาไว้ที่วัดพระยืน ด้านทิศตะวันตกเฉียงเหนือขององค์พระสถูปเจดีย์
วัสดุ | หินดินดานหรือหินชนวน |
---|---|
ความสูง | 90 เซนติเมตร |
ความกว้าง | 55 เซนติเมตร |
ความลึก | 10.5 เซนติเมตร |
ตัวหนังสือ | จารึกด้วยอักษรไทย (ลายสือไทสุโขทัยแบบอาลักษณ์) ภาษาไทย |
สร้าง | จ.ศ.731 (พ.ศ.1912) |
ช่วงเวลา/วัฒนธรรม | รัชกาลของพญากือนา (ในจารึกเรียก "ท้าวสองแสนนา") กษัตริย์แห่งราชวงศ์มังราย นครเชียงใหม่ (ตรงกับสมัยพญาลิไทแห่งกรุงสุโขทัย) |
ค้นพบ | พ.ศ. 2457 วัดพระยืน จังหวัดลำพูน |
ค้นพบโดย | หม่อมเจ้าทรงวุฒิภาพ ดิศกุล |
ที่อยู่ปัจจุบัน | วัดพระยืน จังหวัดลำพูน |
เลขประจำตัว | ศิลาจารึกหลักที่ 62 (รหัสเดิมก่อนแบบตามจังหวัด) ลพ.38 (กองหอสมุดแห่งชาติ) |
18°34′34″N 99°01′11″E / 18.57611°N 99.01972°E |
ลักษณะ
จารึกเป็นหินดินดานหรือหินชนวนสีเทา รูปใบเสมา ขนาดสูง 90 เซนติเมตร กว้าง 55 เซนติเมตร หนา 10.5 เซนติเมตร ประกอบด้วยจารึก 2 ด้าน ด้านที่ 1 มี 40 บรรทัด ด้านที่ 2 มี 41 บรรทัด
การค้นพบ
ทรงเป็นผู้พบจารึกวัดพระยืนเมื่อ พ.ศ. 2457 จากนั้นได้ทรงส่งสำเนาจารึกมาถวายสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ เมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2457
ต่อมาวันที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2500 กรมศิลปากรได้ส่ง และ เจ้าหน้าที่ผู้อ่านจารึก แผนกหนังสือตัวเขียนและจารึก กองหอสมุดแห่งชาติ เดินทางไปอัดเสนาจารึกที่วัดพระยืน จังหวัดลำพูน และกองหอสมุดแห่งชาติได้ประกาศขึ้นทะเบียนเป็นศิลาจารึกวัดพระยืน หลักที่ 62 (เป็นศิลาจารึกลำดับที่ 62 ทีมีการค้นพบ) ต่อมามีการแบ่งเลขทะเบียนศิลาจารึกตามจังหวัด จึงใช้รหัสเป็น ลพ.38
เนื้อหาในจารึก
จุดประสงค์ของการสร้างจารึกวัดพระยืน คือ เพื่อเป็นการเชิดชูเกียรติพระสุมนเถระที่ได้รับอาราธนาจากพญากือนาให้ไปเผยแผ่ศาสนาพุทธ ลัทธิรามัญวงศ์ที่เชียงใหม่
ด้านที่ 1
ขึ้นต้นด้วยบทนมัสการเป็นภาษาบาลีว่า "นโม ตสฺส ภควโต" ซึ่งเป็นหลักฐานเก่าที่สุดที่ปรากฏในไทยถึงบทนมัสการนี้
รายละเอียดกล่าวถึงพระมหาสุมนเถระ ซึ่งพญากือนา (ในจารึกเรียกว่าท้าวสองแสนนา) อาราธนามาจากสุโขทัย (ตรงกับสมัยพญาลิไท) เพื่อมาเผยแผ่พระพุทธศาสนาในล้านนา ใน พ.ศ. 1912 มีต้อนรับอย่างมโหฬาร และอัญเชิญพระมหาสุมนเถระให้พำนักที่วัดพระยืน เมื่อพระมหาสุมนเถระเห็นวัดดูเก่าแก่แล้ว จึงดำริจะปฏิสังขรณ์ใหม่
ด้านที่ 2
กล่าวถึงการบูรณะ และปฏิสังขรณ์ศาสนสถานในวัดพระยืน รวมทั้งพระเจดีย์ด้วย กล่าวคือ มีการสร้างพระพุทธรูปยืนเพิ่มอีก 3 องค์ คือทิศตะวันตก ทิศเหนือ และทิศใต้ ซึ่งเดิมมีเพียง 1 องค์ ทางทิศตะวันออก
ความสำคัญ
จารึกวัดพระยืนนี้ แสดงให้เห็นถึงการติดต่อสัมพันธ์ทางด้านศาสนาจากสุโขทัยไปยังล้านา การสถานปนาลัทธิรามัญวงศ์ในเมืองเชียงใหม่ และเป็นหลักฐานชั้นต้นร่วมสมัยในการตรวจสอบเอกสารหลักฐานในสมัยต่อ ๆ มา ดังเช่นในประเด็น ดังนี้
- พระนามของพญามังราย ในจารึกวัดพระยืนนี้ระบุพระนามว่า "พญามังรายหลวง" เป็นหลักฐานว่าพระนามของพระองค์คือ "มังราย" มิใช่ "เม็งราย" ตามที่ปรากฎในพงศาวดารโยนกของ ส่วนคำว่า "หลวง" นั้น นาตยา ภูศรี สันนิฐานว่าเป็นคำที่ใช้ยกย่องว่าเป็นกษัตริย์ผู้ยิ่งใหญ่
- พระนามเจ้าท้าวสองแสนนา เป็นพระนามของกษัตริย์เชียงใหม่ที่ถูกระบุในจารึกนี้อันเป็นหลักฐานร่วมสมัย ต่างจากเอกสารล้านนา เช่นชินกาลมาลีปกรณ์ ที่ระบุพระนามว่า "พญากือนา" ซึ่งแปลว่า "พญาร้อยล้านนา" คาดว่าพระนามที่เปลี่ยนแปลงไปเกิดจากการยอพระเกียรติยศในภายหลัง
- ลำดับกษัตริย์ราชวงศ์มังราย มีจารึกมีการระบุถึงความสัมพันธ์ของเจ้าท้าวสองแสนนา (พญากือนา) ว่าเป็นพระโอรสพญาผายู เป็นหลานพญาคำฟู และเป็นเหลนพญามังราย แต่ไม่ปรากฏพระนามกษัตริย์อีก 2 พระองค์ ซึ่งมีปรากฏในชินกาลมาลีปรกณณ์ คือ และพญาแสนภู โดย ศ.ดร.ประเสริฐ ณ นคร อธิบายว่าจารึกวัดพระยืนนี้กล่าวถึงเฉพาะญาติสายตรงเท่านั้น ดังนี้ กษัตริย์ที่ไม่ได้เป็นญาติสายตรงจึงไม่ได้มีการกล่าวถึง และ อธิบายว่าผู้สร้างจารึกนี้เป็นชาวสุโขทัย จึงรับรู้พระนามของกษัตริย์เฉพาะที่ปกครองเมืองเชียงใหม่เท่านั้น ส่วนกษัตริย์ในราชวงศ์มังรายที่ปกครองเชียงรายนั้น ไม่ได้อยู่ในความรับรู้ด้วย จึงมิได้จารึกไว้
- การสถาปนาลัทธิรามัญวงศ์ในเชียงใหม่ ตามความเชื่อเรื่อง "ปัญจอันตรธาน" ที่ทำนายว่าศาสนาพุทธจะมีอายุ 5,000 ปี ซึ่งในรัชสมัยของพญากือนาตรงกับช่วงปลายของศตวรรษที่สอง พระยากือนาต้องการให้พระศาสนาดำรงอยู่ต่อไป จึงได้อาราธนาพระมหาสุมนเถระมาจากสุโขทัย ต่อมาพระมหาสุมนเถระจะเป็นผู้วางรากฐานของพระสงฆ์สายวัดสวนดอก
- การเชื่อมโยงประวัติศาสตร์และอักขรวิธีของอาณาจักรล้านนาและสุโขทัย โดยใช้ตัวอักษรแบบอาลักษณ์สุโขทัยแต่นำมาเขียนเล่นลายมือแบบอักษรล้านนารุ่นแรก ซึ่งจะพัฒนาเป็นอักษรฝักขามต่อไป และมีการปรับอักขรวิธีมอญ นำมาสู่สมมติฐานว่า ทั้งสุโขทัยและล้านนาต่างมีส่วนทั้งเป็นฝ่ายรับและฝ่ายให้ ทำให้เกิดความสัมพันธ์ด้านวัฒธรรมประเพณีด้านอักขรวิธีของไท ซึ่งไม่ปรากฏหลักฐานด้านอักขรวิธีนี้ในจารึกหลักอื่นในสมัยยุคล้านนา
ดูเพิ่ม
- จารึกในประเทศไทย ศูนย์มานุษวิทยาสิรินธรฯ
- การบรรยายเรื่อง “จารึกวัดพระยืนในฐานะเอกสารมรดกความทรงจําทางประวัติศาสตร์กับการส่งเสริม การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม จังหวัดลําพูน” โดย ดร.
- นาตยา ภูศรี (2558). จารึกวัดพระยืน: เอกสารลำดับที่ 12 (100 เอกสารสำคัญ: สรรพสาระประวัติศาสตร์ไทย). สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม.
อ้างอิง
- "จารึกวัดพระยืน". ขึ้นทะเบียนมรดกความทรงจำโลก (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน).
- ตัวอย่างแบบกรอกศิลาจารึกวัดพระยืน
- นาตยา ภูศรี (2558). จารึกวัดพระยืน: เอกสารลำดับที่ 12 (100 เอกสารสำคัญ: สรรพสาระประวัติศาสตร์ไทย). สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม.
- กรมศิลปากร. วิเคราะห์ศิลาจากรึกในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย. หน้า 78-80
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
carukwdphrayun epncaruksung thrngkhnphbemux ph s 2457 odytngxyuprachidthanecdiydanthisehnuxiklkbbnidaekw odyidrbkarkhunthaebiynepnexksarmrdkkhwamthrngcaaehngolkkhxngpraethsithy odykhnakrrmkaraehngchatiwadwyaephnngankhwamthrngcaaehngolkkhxngkhnakrrmkaraehngchatiwadwykarsuksa withyasastr aelawthnthrrmaehngshprachachati yuensok emuxwnthi 21 thnwakhm ph s 2558 odyyngkhngekbrksaiwthiwdphrayun danthistawntkechiyngehnuxkhxngxngkhphrasthupecdiycarukwdphrayunwsduhindindanhruxhinchnwnkhwamsung90 esntiemtrkhwamkwang55 esntiemtrkhwamluk10 5 esntiemtrtwhnngsuxcarukdwyxksrithy laysuxithsuokhthyaebbxalksn phasaithysrangc s 731 ph s 1912 chwngewla wthnthrrmrchkalkhxngphyakuxna incarukeriyk thawsxngaesnna kstriyaehngrachwngsmngray nkhrechiyngihm trngkbsmyphyaliithaehngkrungsuokhthy khnphbph s 2457 wdphrayun cnghwdlaphunkhnphbodyhmxmecathrngwuthiphaph diskulthixyupccubnwdphrayun cnghwdlaphunelkhpracatwsilacarukhlkthi 62 rhsedimkxnaebbtamcnghwd lph 38 kxnghxsmudaehngchati 18 34 34 N 99 01 11 E 18 57611 N 99 01972 E 18 57611 99 01972lksnacarukepnhindindanhruxhinchnwnsietha rupibesma khnadsung 90 esntiemtr kwang 55 esntiemtr hna 10 5 esntiemtr prakxbdwycaruk 2 dan danthi 1 mi 40 brrthd danthi 2 mi 41 brrthdkarkhnphbthrngepnphuphbcarukwdphrayunemux ph s 2457 caknnidthrngsngsaenacarukmathwaysmedcphraecabrmwngsethx krmphrayadarngrachanuphaph emuxwnthi 29 krkdakhm ph s 2457 txmawnthi 8 emsayn ph s 2500 krmsilpakridsng aela ecahnathiphuxancaruk aephnkhnngsuxtwekhiynaelacaruk kxnghxsmudaehngchati edinthangipxdesnacarukthiwdphrayun cnghwdlaphun aelakxnghxsmudaehngchatiidprakaskhunthaebiynepnsilacarukwdphrayun hlkthi 62 epnsilacarukladbthi 62 thimikarkhnphb txmamikaraebngelkhthaebiynsilacaruktamcnghwd cungichrhsepn lph 38 wdphrayun cnghwdlaphunenuxhaincarukcudprasngkhkhxngkarsrangcarukwdphrayun khux ephuxepnkarechidchuekiyrtiphrasumnethrathiidrbxarathnacakphyakuxnaihipephyaephsasnaphuthth lththiramywngsthiechiyngihm danthi 1 khuntndwybthnmskarepnphasabaliwa nom ts s phkhwot sungepnhlkthanekathisudthipraktinithythungbthnmskarni raylaexiydklawthungphramhasumnethra sungphyakuxna incarukeriykwathawsxngaesnna xarathnamacaksuokhthy trngkbsmyphyaliith ephuxmaephyaephphraphuththsasnainlanna in ph s 1912 mitxnrbxyangmohlar aelaxyechiyphramhasumnethraihphankthiwdphrayun emuxphramhasumnethraehnwdduekaaekaelw cungdaricaptisngkhrnihm danthi 2 klawthungkarburna aelaptisngkhrnsasnsthaninwdphrayun rwmthngphraecdiydwy klawkhux mikarsrangphraphuththrupyunephimxik 3 xngkh khuxthistawntk thisehnux aelathisit sungedimmiephiyng 1 xngkh thangthistawnxxkkhwamsakhycarukwdphrayunni aesdngihehnthungkartidtxsmphnththangdansasnacaksuokhthyipynglana karsthanpnalththiramywngsinemuxngechiyngihm aelaepnhlkthanchntnrwmsmyinkartrwcsxbexksarhlkthaninsmytx ma dngechninpraedn dngni phranamkhxngphyamngray incarukwdphrayunnirabuphranamwa phyamngrayhlwng epnhlkthanwaphranamkhxngphraxngkhkhux mngray miich emngray tamthiprakdinphngsawdaroynkkhxng swnkhawa hlwng nn natya phusri snnithanwaepnkhathiichykyxngwaepnkstriyphuyingihy phranamecathawsxngaesnna epnphranamkhxngkstriyechiyngihmthithukrabuincaruknixnepnhlkthanrwmsmy tangcakexksarlanna echnchinkalmalipkrn thirabuphranamwa phyakuxna sungaeplwa phyarxylanna khadwaphranamthiepliynaeplngipekidcakkaryxphraekiyrtiysinphayhlng ladbkstriyrachwngsmngray micarukmikarrabuthungkhwamsmphnthkhxngecathawsxngaesnna phyakuxna waepnphraoxrsphyaphayu epnhlanphyakhafu aelaepnehlnphyamngray aetimpraktphranamkstriyxik 2 phraxngkh sungmipraktinchinkalmaliprknn khux aelaphyaaesnphu ody s dr praesrith n nkhr xthibaywacarukwdphrayunniklawthungechphaayatisaytrngethann dngni kstriythiimidepnyatisaytrngcungimidmikarklawthung aela xthibaywaphusrangcarukniepnchawsuokhthy cungrbruphranamkhxngkstriyechphaathipkkhrxngemuxngechiyngihmethann swnkstriyinrachwngsmngraythipkkhrxngechiyngraynn imidxyuinkhwamrbrudwy cungmiidcarukiw karsthapnalththiramywngsinechiyngihm tamkhwamechuxeruxng pycxntrthan thithanaywasasnaphuththcamixayu 5 000 pi sunginrchsmykhxngphyakuxnatrngkbchwngplaykhxngstwrrsthisxng phrayakuxnatxngkarihphrasasnadarngxyutxip cungidxarathnaphramhasumnethramacaksuokhthy txmaphramhasumnethracaepnphuwangrakthankhxngphrasngkhsaywdswndxk karechuxmoyngprawtisastraelaxkkhrwithikhxngxanackrlannaaelasuokhthy odyichtwxksraebbxalksnsuokhthyaetnamaekhiynelnlaymuxaebbxksrlannarunaerk sungcaphthnaepnxksrfkkhamtxip aelamikarprbxkkhrwithimxy namasusmmtithanwa thngsuokhthyaelalannatangmiswnthngepnfayrbaelafayih thaihekidkhwamsmphnthdanwththrrmpraephnidanxkkhrwithikhxngith sungimprakthlkthandanxkkhrwithiniincarukhlkxuninsmyyukhlannaduephimcarukinpraethsithy sunymanuswithyasirinthr karbrryayeruxng carukwdphrayuninthanaexksarmrdkkhwamthrngcathangprawtisastrkbkarsngesrim karthxngethiywechingwthnthrrm cnghwdlaphun ody dr natya phusri 2558 carukwdphrayun exksarladbthi 12 100 exksarsakhy srrphsaraprawtisastrithy sankngankhnakrrmkarsngesrimwithyasastr wicyaelanwtkrrm xangxing carukwdphrayun khunthaebiynmrdkkhwamthrngcaolk phasaxngkvsaebbxemrikn twxyangaebbkrxksilacarukwdphrayun natya phusri 2558 carukwdphrayun exksarladbthi 12 100 exksarsakhy srrphsaraprawtisastrithy sankngankhnakrrmkarsngesrimwithyasastr wicyaelanwtkrrm krmsilpakr wiekhraahsilacakrukinphiphithphnthsthanaehngchati hriphuyichy hna 78 80