ในทางสังคมวิทยา จารีต (อังกฤษ: mores) และ วิถีประชา (อังกฤษ: folkways) เป็นบรรทัดฐานอย่างไม่เป็นทางการของสังคม
จารีต
จารีตเป็นบรรทัดฐานที่กำหนดให้คนในสังคมประพฤติปฏิบัติอย่างเข้มงวด มีการควบคุมที่รุนแรงเพื่อป้องกันการฝ่าฝืน โดยคนในสังคมนั้นถือว่าแบบแผนการปฏิบัติดังกล่าวเป็นสิ่งดีสิ่งงาม ผู้ละเมิดเป็นคนผิดคนชั่ว เป็นต้น จารีตประเพณีจึงมีลักษณะเป็นข้อห้าม (อังกฤษ: taboo) เช่น การห้ามสมรสกันระหว่างญาติสืบสายโลหิต และขอให้ปฏิบัติ เช่น ต้องช่วยเหลือผู้อื่น เป็นต้น อันใดจะเป็นจารีตประเพณีได้ ต้องเป็นแนวประพฤติปฏิบัติที่ดำเนินสืบ ๆ ต่อกันมาเป็นเวลาช้านาน โดยผู้ปฏิบัตินั้นรู้สึกร่วมกันว่าจะต้องปฏิบัติตาม เป็นกฎเกณฑ์ควบคุมความประพฤติเช่นเดียวกับกฎหมาย
จารีตประเพณีนั้นวิวัฒนามาจากศีลธรรม (อังกฤษ: morality) ซึ่งเกิดแต่ความรู้สึกนึกคิดของมนุษย์แต่ละคนว่าการกระทำอย่างไรชอบ อย่างไรไม่ชอบ เกิดจากมโนสำนึกและมโนธรรมของแต่ละคน มีขึ้นได้เพราะแต่ละคนมีสติปัญญาจะหยั่งรู้ว่าเมื่อตนกระทำอย่างไรไปแล้ว อีกฝ่ายจะรู้สึกนึกคิดอย่างไร และจะมีปฏิกิริยาอย่างไร
ศีลธรรมนั้นมีอยู่ในทุกสังคมมาแต่โบราณกาล และเป็นกฎเกณฑ์ควบคุมความประพฤติอย่างเดียวกับกฎหมายเช่นกัน แต่ก็มีความแตกต่างกับกฎหมายในหลาย ๆ ด้าน เช่น ศีลธรรมมีวัตถุประสงค์มุ่งเอาความสมบูรณ์ของจิตใจ เน้นมโนสำนึกเป็นหลัก ส่วนกฎหมายนั้นเน้นรักษาความสงบของส่วนรวมเป็นหลัก ซึ่งบางทีก็ไม่เกี่ยวกับมโนสำนึก เช่น การคิดปองร้ายผู้อื่นอยู่ในใจ กฎหมายไม่ถือว่าผิด แต่ทางศีลธรรมว่าเป็นผิดเป็นชั่ว อย่างไรก็ดี ศีลธรรมกับกฎหมายนั้นก็มีความสัมพันธ์กันในฐานะที่เป็นวิวัฒนาการแห่งกัน เป็นต้นว่า มีกฎหมายหลายบทหลายมาตราที่กำหนดว่าการกระทำที่ขัดต่อ "ศีลธรรมอันดีของประชาชน" เป็นสิ่งที่กฎหมายไม่รับรู้ แต่กรณีนี้ต้องเป็นศีลธรรมที่คนหมู่ยืดถือร่วมกัน ไม่ใช่ของใครคนใดคนหนึ่ง และต้องเป็นศีลธรรมอันดีด้วย
อันศีลธรรมนั้น หากเป็นของที่คนหมู่ซึ่งประกอบอาชีพลักษณะเดียวกันถือร่วมกัน ศีลธรรมของวิชาชีพนั้นจะเรียก จริยธรรม (ethics) เช่น จริยธรรมของแพทย์ จริยธรรมของนักกฎหมาย
เมื่อศีลธรรมนั้นได้รับการประพฤติปฏิบัตินานเข้า ๆ และเกิดความรู้สึกร่วมกันว่าจะต้องปฏิบัติเช่นนั้น ก็กลายเป็นกฎเกณฑ์ควบคุมความประพฤติที่เรียกว่า ดังกล่าวมาแล้ว จารีตประเพณีนี้มีสภาพบังคับสำหรับกรณีที่มีการฝ่าฝืน คือ สมาชิกในสังคมนั้นจะร่วมกันประณามหรือเกิดความรู้สึกเป็นผิดเป็นชั่วสำหรับผู้ฝ่าฝืนจารีตประเพณี ซึ่งสภาพบังคับเช่นนี้บางทีก็ไม่ชัดเจน กระนั้น จารีตประเพณีเป็นเรื่องอันครอบคลุมทุกมิติของสังคมมากกว่ากฎหมาย กฎหมายจึงใช้จารีตประเพณีอุดช่องว่างของกฎหมาย เช่น ที่กำหนดในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ว่า ในกรณีที่กฎหมายไม่ครอบคลุม ก็ให้เอาจารีตประเพณีมาใช้
วิถีประชา
วิถีประชาเป็นบรรทัดฐานทางสังคมที่คนยอมรับนับถือจนเกิดความเคยชิน เป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวันของบุคคลในสังคม ไม่ได้มีเนื้อหาเกี่ยวข้องกับความดีความชั่วดังเช่นจารีต บ้างจึงเรียกวิถีประชาเรียกว่า "วิถีชาวบ้าน" เช่น การยกมือไหว้ หรือการสวมชุดดำในงานศพ โดยส่วนใหญ่เป็นมาตรฐานทางพฤติกรรม ไม่มีการบังคับควบคุมอย่างเข้มงวด เมื่อมีการละเมิดผู้ละเมิดก็เพียงได้รับคำติฉินนินทา
วิถีประชาสามารถจำแนกได้ดังนี้
- สมัยนิยม (อังกฤษ: fashion) เป็นปทัสถานทางสังคมที่แสดงออกถึงความนิยมของกลุ่มคนซึ่งแพร่หลายไปรวดเร็วในช่วงเวลาหนึ่ง และก็เสื่อมไปรวดเร็วเช่นกัน ในช่วงแพร่ระบาดนั้น คนในสังคมทั่วไปมีความรู้สึกว่าตนถูกบังคับให้ปฏิบัติตาม มิเช่นนั้นก็ถูกว่า "เชย" เป็นต้น เช่น เรื่องแบบทรงผม แบบเครื่องแต่งกาย
- ความนิยมชั่วครู่ (อังกฤษ: fad) เป็นแบบพฤติกรรมเพียงผิวเผินและไม่จริงจัง เปลี่ยนแปลงง่าย รวดเร็ว มาเร็วไปเร็ว เช่น สมัยหนึ่งคนไทยเคยสนทนากันด้วยสำนวน "อย่าให้เซด"
- ความคลั่งไคล้ (อังกฤษ: craze) เป็นเรื่องราวของความไม่มีเหตุผล เมื่อครอบงำผู้ใดแล้วผู้นั้นก็มักประพฤติปฏิบัติในในทำนองโง่เขลาเบาปัญญา หมกมุ่นอยู่กับเรื่องที่ตนคลั่งไคล้เป็นต้น
- งานพิธี (อังกฤษ: ceremony) เป็นการแสดงออกซึ่งเกียรติยศ ความมีหน้ามีตา ยังผลให้เกิดความรู้สึกว่าเป็นพวกเดียวกัน สนับสนุนความสมานฉันท์ภายในกลุ่ม แต่ใครจะปฏิบัติหรือไม่ก็ได้ เช่น งานฉลองวันครบรอบวันเกิด งานฉลองวันครบรอบวันสมรส เป็นต้น
- พิธีการ (อังกฤษ: rite) เป็นแบบแผนพฤติกรรมที่มีลำดับขั้นตอนแน่นอน และต้องทำซ้ำ ๆ เช่น วันพระ วันสงกรานต์ วันทำบุญขึ้นบ้านใหม่ วันมาฆบูชา
- พิธีกรรม (อังกฤษ: ritual) เป็นแบบแผนพฤติกรรมตามความเชื่อที่มักไม่เปิดเผยต่อสาธารณชนทั้งหมด เช่น พิธีรับน้องใหม่
- มารยาททางสังคม (อังกฤษ: etiquette) เป็นการปฏิบัติตนให้เหมาะสมแก่กาลเทศะในการสมาคม เช่น มารยาทในการรับประทานอาหาร การโดยสารรถประจำทางควรลุกให้เด็ก คนชรา และสตรีมีครรภ์นั่ง เป็นต้น
อ้างอิง
- มานิตย์ จุมปา. (2548). "สังคมและความประพฤติ". ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับกฎหมาย. มานิตย์ จุมปา, บรรณาธิการ. (พิมพ์ครั้งที่หก) กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. หน้า 5 และหน้า 17.
- มานิตย์ จุมปา. (2548). "สังคมและความประพฤติ". ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับกฎหมาย. มานิตย์ จุมปา, บรรณาธิการ. (พิมพ์ครั้งที่หก) กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. หน้า 13.
- ปรีดี เกษมทรัพย์. (2526). กฎหมายแพ่ง : หลักทั่วไป. กรุงเทพฯ : ห้างหุ้นส่วนจำกัด ภาพพิมพ์. หน้า 6.
- มานิตย์ จุมปา. (2548). "สังคมและความประพฤติ". ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับกฎหมาย. มานิตย์ จุมปา, บรรณาธิการ. (พิมพ์ครั้งที่หก) กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. หน้า 14.
- มานิตย์ จุมปา. (2548). "สังคมและความประพฤติ". ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับกฎหมาย. มานิตย์ จุมปา, บรรณาธิการ. (พิมพ์ครั้งที่หก) กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. หน้า 17.
- มานิตย์ จุมปา. (2548). "สังคมและความประพฤติ". ‘‘ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับกฎหมาย.’’ มานิตย์ จุมปา, บรรณาธิการ. (พิมพ์ครั้งที่หก) กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. หน้า 4-5.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
inthangsngkhmwithya carit xngkvs mores aela withipracha xngkvs folkways epnbrrthdthanxyangimepnthangkarkhxngsngkhmhnngsuxsahrbedkinkhriststwrrsthi 19 ekhiyniwwachawdtchepnechuxchatithikhynkhnaekhng aelachawcinepnechuxchatithiekharphechuxfngyatiphuxawuosxyangsungcaritcaritepnbrrthdthanthikahndihkhninsngkhmpraphvtiptibtixyangekhmngwd mikarkhwbkhumthirunaerngephuxpxngknkarfafun odykhninsngkhmnnthuxwaaebbaephnkarptibtidngklawepnsingdisingngam phulaemidepnkhnphidkhnchw epntn caritpraephnicungmilksnaepnkhxham xngkvs taboo echn karhamsmrsknrahwangyatisubsayolhit aelakhxihptibti echn txngchwyehluxphuxun epntn xnidcaepncaritpraephniid txngepnaenwpraphvtiptibtithidaeninsub txknmaepnewlachanan odyphuptibtinnrusukrwmknwacatxngptibtitam epnkdeknthkhwbkhumkhwampraphvtiechnediywkbkdhmay caritpraephninnwiwthnamacaksilthrrm xngkvs morality sungekidaetkhwamrusuknukkhidkhxngmnusyaetlakhnwakarkrathaxyangirchxb xyangirimchxb ekidcakmonsanukaelamonthrrmkhxngaetlakhn mikhunidephraaaetlakhnmistipyyacahyngruwaemuxtnkrathaxyangiripaelw xikfaycarusuknukkhidxyangir aelacamiptikiriyaxyangir silthrrmnnmixyuinthuksngkhmmaaetobrankal aelaepnkdeknthkhwbkhumkhwampraphvtixyangediywkbkdhmayechnkn aetkmikhwamaetktangkbkdhmayinhlay dan echn silthrrmmiwtthuprasngkhmungexakhwamsmburnkhxngcitic ennmonsanukepnhlk swnkdhmaynnennrksakhwamsngbkhxngswnrwmepnhlk sungbangthikimekiywkbmonsanuk echn karkhidpxngrayphuxunxyuinic kdhmayimthuxwaphid aetthangsilthrrmwaepnphidepnchw xyangirkdi silthrrmkbkdhmaynnkmikhwamsmphnthkninthanathiepnwiwthnakaraehngkn epntnwa mikdhmayhlaybthhlaymatrathikahndwakarkrathathikhdtx silthrrmxndikhxngprachachn epnsingthikdhmayimrbru aetkrninitxngepnsilthrrmthikhnhmuyudthuxrwmkn imichkhxngikhrkhnidkhnhnung aelatxngepnsilthrrmxndidwy xnsilthrrmnn hakepnkhxngthikhnhmusungprakxbxachiphlksnaediywknthuxrwmkn silthrrmkhxngwichachiphnncaeriyk criythrrm ethics echn criythrrmkhxngaephthy criythrrmkhxngnkkdhmay emuxsilthrrmnnidrbkarpraphvtiptibtinanekha aelaekidkhwamrusukrwmknwacatxngptibtiechnnn kklayepnkdeknthkhwbkhumkhwampraphvtithieriykwa dngklawmaaelw caritpraephninimisphaphbngkhbsahrbkrnithimikarfafun khux smachikinsngkhmnncarwmknpranamhruxekidkhwamrusukepnphidepnchwsahrbphufafuncaritpraephni sungsphaphbngkhbechnnibangthikimchdecn krann caritpraephniepneruxngxnkhrxbkhlumthukmitikhxngsngkhmmakkwakdhmay kdhmaycungichcaritpraephnixudchxngwangkhxngkdhmay echn thikahndinpramwlkdhmayaephngaelaphanichy wa inkrnithikdhmayimkhrxbkhlum kihexacaritpraephnimaichwithiprachawithiprachaepnbrrthdthanthangsngkhmthikhnyxmrbnbthuxcnekidkhwamekhychin epneruxngthiekiywkhxngkbchiwitpracawnkhxngbukhkhlinsngkhm imidmienuxhaekiywkhxngkbkhwamdikhwamchwdngechncarit bangcungeriykwithiprachaeriykwa withichawban echn karykmuxihw hruxkarswmchuddainngansph odyswnihyepnmatrthanthangphvtikrrm immikarbngkhbkhwbkhumxyangekhmngwd emuxmikarlaemidphulaemidkephiyngidrbkhatichinnintha withiprachasamarthcaaenkiddngni smyniym xngkvs fashion epnpthsthanthangsngkhmthiaesdngxxkthungkhwamniymkhxngklumkhnsungaephrhlayiprwderwinchwngewlahnung aelakesuxmiprwderwechnkn inchwngaephrrabadnn khninsngkhmthwipmikhwamrusukwatnthukbngkhbihptibtitam miechnnnkthukwa echy epntn echn eruxngaebbthrngphm aebbekhruxngaetngkay khwamniymchwkhru xngkvs fad epnaebbphvtikrrmephiyngphiwephinaelaimcringcng epliynaeplngngay rwderw maerwiperw echn smyhnungkhnithyekhysnthnakndwysanwn xyaihesd khwamkhlngikhl xngkvs craze epneruxngrawkhxngkhwamimmiehtuphl emuxkhrxbngaphuidaelwphunnkmkpraphvtiptibtiininthanxngongekhlaebapyya hmkmunxyukberuxngthitnkhlngikhlepntn nganphithi xngkvs ceremony epnkaraesdngxxksungekiyrtiys khwammihnamita yngphlihekidkhwamrusukwaepnphwkediywkn snbsnunkhwamsmanchnthphayinklum aetikhrcaptibtihruximkid echn nganchlxngwnkhrbrxbwnekid nganchlxngwnkhrbrxbwnsmrs epntn phithikar xngkvs rite epnaebbaephnphvtikrrmthimiladbkhntxnaennxn aelatxngthasa echn wnphra wnsngkrant wnthabuykhunbanihm wnmakhbucha phithikrrm xngkvs ritual epnaebbaephnphvtikrrmtamkhwamechuxthimkimepidephytxsatharnchnthnghmd echn phithirbnxngihm maryaththangsngkhm xngkvs etiquette epnkarptibtitnihehmaasmaekkalethsainkarsmakhm echn maryathinkarrbprathanxahar karodysarrthpracathangkhwrlukihedk khnchra aelastrimikhrrphnng epntnxangxingmanity cumpa 2548 sngkhmaelakhwampraphvti khwamruphunthanekiywkbkdhmay manity cumpa brrnathikar phimphkhrngthihk krungethph sankphimphaehngculalngkrnmhawithyaly hna 5 aelahna 17 manity cumpa 2548 sngkhmaelakhwampraphvti khwamruphunthanekiywkbkdhmay manity cumpa brrnathikar phimphkhrngthihk krungethph sankphimphaehngculalngkrnmhawithyaly hna 13 pridi eksmthrphy 2526 kdhmayaephng hlkthwip krungethph hanghunswncakd phaphphimph hna 6 manity cumpa 2548 sngkhmaelakhwampraphvti khwamruphunthanekiywkbkdhmay manity cumpa brrnathikar phimphkhrngthihk krungethph sankphimphaehngculalngkrnmhawithyaly hna 14 manity cumpa 2548 sngkhmaelakhwampraphvti khwamruphunthanekiywkbkdhmay manity cumpa brrnathikar phimphkhrngthihk krungethph sankphimphaehngculalngkrnmhawithyaly hna 17 manity cumpa 2548 sngkhmaelakhwampraphvti khwamruphunthanekiywkbkdhmay manity cumpa brrnathikar phimphkhrngthihk krungethph sankphimphaehngculalngkrnmhawithyaly hna 4 5