บทความนี้ยังต้องการเพิ่มเพื่อ |
จรวดแซตเทิร์น 1 (อังกฤษ: Saturn I) ถือว่าเป็นผู้นำสหรัฐอเมริกาเข้าสู่การสำรวจอวกาศอย่างแท้จริง เพราะเป็นจรวดนำส่งยานอวกาศเข้าสู่วงโคจรของโลกได้ และเป็นตัวพัฒนาต่อไปเป็น ที่นำยานอพอลโลไปสู่ดวงจันทร์
จรวดแซตเทิร์น 1 ที่ถูกปล่อยในวันที่ 27 ตุลาคม ค.ศ.1961 | |
หน้าที่ | Large booster technology Large scientific satellite payloads in LEO development |
---|---|
ผู้ผลิต | () () () - Unflown |
ประเทศ | สหรัฐ |
ขนาด | |
สูง | 55 เมตร (180 ฟุต) |
เส้นผ่านศูนย์กลาง | 6.52 เมตร (21.39 ฟุต) |
มวล | 1,124,000 ปอนด์ (510,000 กิโลกรัม) |
ท่อน | 2 หรือ 3 (ส่วนที่ 3 ไม่ออกตัว) |
ความจุ | |
น้ำหนักบรรทุกสู่วงโคจรต่ำของโลก | 20,000 lb (9,070 kg) (2 ส่วน) |
น้ำหนักบรรทุกสู่ | 4,900 lb (2,220 kg) (2 ส่วน) |
ประวัติการบิน | |
สถานะ | ปลดเกษียณแล้ว |
จุดส่งตัว | & , Cape Canaveral |
จำนวนเที่ยวบิน | 10 |
สำเร็จ | 10 |
ล้มเหลว | 0 |
เที่ยวบินแรก | October 27, 1961 |
เที่ยวบินสุดท้าย | July 30, 1965 |
น้ำหนักบรรทุกที่โดดเด่น | |
จรวดท่อนแรก - | |
เครื่องยนต์ | 8 |
แรงขับ | 1,500,000 (6.7 ) |
เวลาเผาไหม้ | ~150 วินาที |
เชื้อเพลิง | /LOX |
จรวดท่อนที่สอง | |
เครื่องยนตร์ | 6 |
แรงขับ | 90,000 lbf (400 kN) |
เวลาเผาไหม้ | ~482 วินาที |
เชื้อเพลิง | /LOX |
จรวดท่อนที่สาม - (Centaur-C) - ไม่ลอย | |
เครื่องยนต์ | 2 RL10 |
แรงขับ | 133 kN (30,000 lbf) |
เวลาเผาไหม้ | ~430 วินาที |
เชื้อเพลิง | LH2/LOX |
ข้อมูล
จรวดแซตเทิร์น 1 ผลิตโดยบริษัทไครสเลอร์สามารถบรรทุกของหนัก 9000 กิโลกรัม เข้าสู่วงโคจรรอบโลกระดับต่ำ หรือ ภาษาอังกฤษ:Low Earth Orbit (LEO) คือที่ความสูงประมาณ 160 - 2000 กิโลเมตร (100 - 1,240 ไมล์) เหนือพื้นโลกหรือของที่หนัก 2200 กิโลกรัม ที่สามารถหลุดพ้นโรงดึงดูดของโลกได้ จรวดแซตเทิร์น 1 มี 3 ท่อน
- ท่อนแรกคือ เอส 1 มีเครื่องยนต์ H-1 จำนวน 8 ตัว ให้แรงขับดัน ประมาณ 6.7 เมกกะนิวตัน (1,500,000 ฟุตปอนด์) ใช้เวลาเผาใหม้ราว 150 วินาที เชื้อเพลิงที่ใช้คือ RP-1 (Rocket Propellant-1 or Refined Petroleum-1 ) กับออกซิเจนเหลว
- ท่อนที่สอง คือ S-IV มีเครื่องยนต์ RL-10 จำนวน 6 ตัวให้แรงขับดันประมาณ 400 กิโลนิวตัน (90,000 ฟุตปอนด์) ใช้เวลาเผาใหม้ราว 482 วินาที เชื้อเพลิงที่ใช้คือ LH2 หรือ ไฮโดรเจนเหลว กับ ออกซิเจนเหลว
- ท่อนที่สาม คือ S-V (Centaur-C) มีเครื่องยนต์ RL-10 จำนวน 2 ตัว ให้แรงขับดัน ประมาณ 133 กิโลนิวตัน(30,000 ฟุตปอนด์) ใช้เวลาเผาใหม้ราว 430 วินาที เชื้อเพลิงที่ใช้เป็นเชื้อเพลิงเดียวกับท่อนที่ 2
จรวดแซตเทิร์น 1 ผลิตขึ้นมา 10 ลำ มีรหัส SA-1 ถึง SA-10 ยิงขึ้นและประสบความสำเร็จทั้ง 10 ลำ ระหว่าง ค.ศ. 1961 - ค.ศ. 1965 ก่อนที่จะถูกพัฒนาไปเป็นจรวดแซตเทิร์น 1 บี ต่อไป
อ้างอิง
- Encyclopedia Astronautica - Saturn I 2010-12-07 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniyngtxngkarephimaehlngxangxingephuxphisucnkhwamthuktxngkhunsamarthphthnabthkhwamniidodyephimaehlngxangxingtamsmkhwr enuxhathikhadaehlngxangxingxacthuklbxxk haaehlngkhxmul crwdaestethirn 1 khaw hnngsuxphimph hnngsux skxlar JSTOR eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir crwdaestethirn 1 xngkvs Saturn I thuxwaepnphunashrthxemrikaekhasukarsarwcxwkasxyangaethcring ephraaepncrwdnasngyanxwkasekhasuwngokhcrkhxngolkid aelaepntwphthnatxipepn thinayanxphxlolipsudwngcnthrcrwdaestethirn 1crwdaestethirn 1 thithukplxyinwnthi 27 tulakhm kh s 1961hnathiLarge booster technology Large scientific satellite payloads in LEO developmentphuphlit Unflownpraethsshrthkhnadsung55 emtr 180 fut esnphansunyklang6 52 emtr 21 39 fut mwl1 124 000 pxnd 510 000 kiolkrm thxn2 hrux 3 swnthi 3 imxxktw khwamcunahnkbrrthuksuwngokhcrtakhxngolk20 000 lb 9 070 kg 2 swn nahnkbrrthuksu4 900 lb 2 220 kg 2 swn prawtikarbinsthanapldeksiynaelwcudsngtw amp Cape Canaveralcanwnethiywbin10saerc10lmehlw0ethiywbinaerkOctober 27 1961ethiywbinsudthayJuly 30 1965nahnkbrrthukthioddedncrwdthxnaerk ekhruxngynt8aerngkhb1 500 000 6 7 ewlaephaihm 150 winathiechuxephling LOXcrwdthxnthisxngekhruxngyntr6aerngkhb90 000 lbf 400 kN ewlaephaihm 482 winathiechuxephling LOXcrwdthxnthisam Centaur C imlxyekhruxngynt2 RL10aerngkhb133 kN 30 000 lbf ewlaephaihm 430 winathiechuxephlingLH2 LOXkhxmulcrwdaestethirn 1 phlitodybristhikhrselxrsamarthbrrthukkhxnghnk 9000 kiolkrm ekhasuwngokhcrrxbolkradbta hrux phasaxngkvs Low Earth Orbit LEO khuxthikhwamsungpraman 160 2000 kiolemtr 100 1 240 iml ehnuxphunolkhruxkhxngthihnk 2200 kiolkrm thisamarthhludphnorngdungdudkhxngolkid crwdaestethirn 1 mi 3 thxn thxnaerkkhux exs 1 miekhruxngynt H 1 canwn 8 tw ihaerngkhbdn praman 6 7 emkkaniwtn 1 500 000 futpxnd ichewlaephaihmraw 150 winathi echuxephlingthiichkhux RP 1 Rocket Propellant 1 or Refined Petroleum 1 kbxxksiecnehlw thxnthisxng khux S IV miekhruxngynt RL 10 canwn 6 twihaerngkhbdnpraman 400 kiolniwtn 90 000 futpxnd ichewlaephaihmraw 482 winathi echuxephlingthiichkhux LH2 hrux ihodrecnehlw kb xxksiecnehlw thxnthisam khux S V Centaur C miekhruxngynt RL 10 canwn 2 tw ihaerngkhbdn praman 133 kiolniwtn 30 000 futpxnd ichewlaephaihmraw 430 winathi echuxephlingthiichepnechuxephlingediywkbthxnthi 2 crwdaestethirn 1 phlitkhunma 10 la mirhs SA 1 thung SA 10 yingkhunaelaprasbkhwamsaercthng 10 la rahwang kh s 1961 kh s 1965 kxnthicathukphthnaipepncrwdaestethirn 1 bi txipxangxingEncyclopedia Astronautica Saturn I 2010 12 07 thi ewyaebkaemchchin bthkhwamniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmul hmayehtu khxaenanaihcdhmwdhmuokhrngihekhakbenuxhakhxngbthkhwam duephimthi wikiphiediy okhrngkarcdhmwdhmuokhrngthiyngimsmburn dkhk