จดหมายเหตุความทรงจำของกรมหลวงนรินทรเทวี เป็นชื่อเรียกเอกสารที่หอสมุดวชิรญาณได้รับมาจากวังหน้า โดยเนื้อหาเป็นการบันทึกเหตุการณ์ตั้งแต่ช่วงกรุงศรีอยุธยาล่มสลายในปี พ.ศ. 2310 จนถึงปี พ.ศ. 2363 ในปี พ.ศ. 2451 (ร.ศ.127) กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ทรงเห็นว่าเนื้อหาของเอกสารมีความแปลกจึงได้คัดสำเนาถวายพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อ รัชกาลที่ 5 ได้ทอดพระเนตร ทรงมีพระบรมวินิจฉัยว่าผู้เขียนจดหมายบันทึกความทรงจำนี้ คงจะเป็น "พระเจ้าไปยิกาเธอ กรมหลวงนรินทรเทวี" พระกนิษฐาต่างพระชนนี (น้องสาวต่างแม่) ในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ด้วยทรงเห็นว่าเป็นเอกสารที่บันทึกจากความทรงจำของผู้อยู่ในเหตุการณ์ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ นอกจากนี้ยังได้มีพระราชวิจารณ์ประกอบ จึงโปรดเกล้าฯ ให้จัดพิมพ์เผยแพร่ครั้งแรกในงานไหวพระประจำปีวัดเบญจมบพิตรในปีเดียวกัน
จดหมายเหตุความทรงจำของกรมหลวงนรินทรเทวี | |
---|---|
ประเภท | เอกสารบันทึกความทรงจำ |
ภาษา | ภาษาไทย |
ผู้แต่ง | จดหมายเหตุความทรงจำ - กรมหลวงนรินทรเทวี พระราชวิจารณ์ - พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว |
ผู้รวบรวม | กรมพระยาดำรงราชานุภาพ กรมศิลปากร |
เนื้อหา | เหตุการณ์ตั้งแต่ พ.ศ. 2310 - 2381 (จ.ศ. 1129 - 1182) |
ที่เก็บเดิม | หอสมุดวชิรญาณ |
ที่มา
ต้นฉบับจดหมายเหตุความทรงจำนี้มี 2 ฉบับ คือ
- ฉบับที่ได้จากวังหน้า อันเป็นสมบัติของท่านผู้หญิงพัน ภริยาสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) เขียนด้วยดินสอในสมุดไทยดำ พบเมื่อ พ.ศ. 2451 รายละเอียดเป็นเรื่องราวตั้งแต่ พ.ศ. 2310 - พ.ศ. 2363
- ฉบับที่เป็นสมบัติของ และ เขียนด้วยหมึกในสมุดฝรั่ง ได้รับมอบเมื่อ พ.ศ. 2459 เป็นเหตุการณ์ต่อจากฉบับแรกจนถึง พ.ศ. 2381 (จ.ศ. 1200)
เนื้อหา
- จดหมายเหตุความทรงจำ
- พระราชวิจารณ์ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
- พระราชสาส์นต่าง ๆ
ข้อสันนิฐานผู้แต่ง
ธรรมเนียมเดิมที่ "ผู้แต่ง" ไม่ได้รับความสำคัญเท่ากับ "ผู้คัดลอก" ซึ่งเป็นผู้เอามาบอกต่อหรือเผยแพร่ ทำให้ไม่มีการระบุนามผู้แต่งไว้ รัชกาลที่ 5 จึงทรงสืบค้นว่าผู้ใดเป็นผู้แต่งจดหมายความทรงจำนี้ โดยทรงระบุถึงข้อบ่งชี้ถึงผู้แต่งไว้ 3 ประการคือ
- เป็นสำนวนของผู้หญิง
- ผู้แต่งจดเรื่องราวตามที่ได้รู้เห็นมาด้วยตนเอง
- เป็นพระบรมวงศานุวงศ์ใกล้ชิด
ดังพระราชวิจารณ์ความว่า "หนังสือที่จดลงนี้ ปรากฎโดยโวหารแลทางดำเนินความ ใช้ถ้อยคำเปนสำนวนจดหมายผู้หญิง คงจะเปนเจ้านาย แต่จะเปนเจ้านายเก่าฤๅเจ้านายใหม่ซึ่งเปนราชตระกูลนี้ แต่เนื่องในเชื้อวงษ์เจ้ากรุงธนบุรี ฤๅจะมีเกี่ยวข้องในเชื้อวงษ์เมืองนครศรีธรรมราช ซึ่งได้เปนตระกูลในเวลานั้นคราวหนึ่งก็อาจจะเปนได้" อาจเป็น พระองค์เจ้าประชุมวงษ์ หรือ พระองค์เจ้าอรุณ
ทั้งนี้ ทรงอธิบายต่อไปถึงส่วนที่ข้อบ่งชี้ถึงผู้แต่ง ซึ่งมิใช่เจ้านายทั้งสามพระองค์ที่ทรงสันนิฐานไว้ตอนต้น โดยมาจากข้อความที่กล่าวถึงการสิ้นพระชนม์ของเจ้าฟ้ากรมพระศรีสุนทรเทพ ความว่า
วันเดือนแปดแรมค่ำหนึ่ง ปีมโรงสัมฤทธิศก เจ้าฟ้ากรมพระสุนทรเทพสิ้นพระชนม์ ไว้พระศพบนปราสาท พระโองการตรัสสั่งกรมหมื่น ว่าสิ้นลูกคนนี้แล้ว พระเนตรมืดสี่ด้าน พระกรรณตึงสี่ด้าน อากรขนอนตลาดเจ้าดูชำระเถิดอย่าทูลเลย
— จดหมายความทรงจำ ของพระเจ้าไปยิกาเธอ กรมหลวงนรินทรเทวี (เจ้าครอกวัดโพ)
ตั้งแต่ จ.ศ. 1129 ถึง 1182 เปนเวลา 53 ปี, https://vajirayana.org/, (ร.ศ. 127)
และการสิ้นพระชนม์ของกรมหมื่นนริทรพิทักษ์ ความว่า
ณ เดือนห้าจุลศักราช 1179 ปีฉลูนพศก กรมหมื่นสิ้นชนมายุ ประชุมเพลิงณวัดราชบุรณ
— จดหมายความทรงจำ ของพระเจ้าไปยิกาเธอ กรมหลวงนรินทรเทวี(เจ้าครอกวัดโพ)
ตั้งแต่ จ.ศ. 1129 ถึง 1182 เปนเวลา 53 ปี, https://vajirayana.org/, (ร.ศ. 127)
การที่ผู้บันทึกใช้คำว่า "สิ้นชนมายุ" ต่างจากการบันทึกเรื่องของเจ้านายองค์อื่น เช่น เจ้าฟ้ากรมพระสุนทรที่ใช้คำว่าสิ้นชนม์ และคำว่า "ประชุมเพลิง" แทนคำว่าถวายพระเพลิง อีกทั้งยังบันทึกว่า "กรมหมื่น" ไว้ห้วน ๆ แสดงถึงความคุ้นเคยกับกรมหมื่นนริทรพิทักษ์ จึงใช้คำเรียกอย่างสามัญ ประกอบกับผู้ที่เก็บอากรตลาด ในช่วงที่เจ้าฟ้ากรมพระสุนทรที่ใช้คำว่าสิ้นชนม์ คือ "พระองค์เจ้ากุ" พระกนิษฐาต่างพระชนนีในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช อีกทั้งมีกรมหมื่นนริทรพิทักษ์เป็นพระสวามี ดังนั้น ผู้ที่บันทึกคงจะเป็น "กรมหลวงนรินทรเทวี" (พระองค์เจ้ากุ) นั้นเอง โดยขณะเรียบเรียงจดหมายนี้ คงจะมีอายุราว 70 ปีแล้ว
จึงแก้ชื่อเดิมที่ผู้คัดลอกตั้งไว้ คือ "จดหมายเหตุตั้งแต่กรุงเก่าเสียแล้วเจ้าตากมาตั้งกรุงธนบุรี” เป็น "จดหมายความทรงจำ ของพระเจ้าไปยิกาเธอ กรมหลวงนรินทรเทวี (เจ้าครอกวัดโพ) ตั้งแต่จุลศักราช 1129 ถึงจุลศักราช 1182 เปนเวลา 53 ปี"
หลังจากพระราชวิจารณ์ถึงผู้แต่งจดหมายนี้ ล่วงไปได้ 8 ปี ในปี พ.ศ. 2459 หอสมุดวชิรญาณได้รับจดหมายเหตุความทรงจำอีกส่วนหนึ่ง ซึ่งกล่าวถึงเหตุการณ์เพิ่มเติมจากส่วนแรก ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2363 - พ.ศ. 2381 ซึ่งเป็นการบันทึกภายหลังจากที่กรมหลวงนรินทรเทวี (พระองค์เจ้ากุ) สิ้นพระชนม์ไปแล้วถึง 11 ปี แต่เมื่อพิจารณาแล้ว พบว่าสำนวนที่บันทึกในส่วนหลังนี้ แตกต่างจากสำนวนในส่วนแรกซึ่งรัชกาลที่ 5 มีพระราชวิจารณ์ว่าผู้ที่บันทึกคือ "กรมหลวงนรินทรเทวี" คงจะเป็นการบันทึกเพิ่มเติมของเจ้านายวังหน้าอีกพระองค์หนึ่งซึ่งเป็นผู้คัดลอกเพิ่มเติมเข้าไป และไม่ได้มีผลเปลี่ยนแปลงว่าผู้แต่งจดหมายเหตุความทรงจำนี้ มิใช่กรมหลวงนรินทรเทวี
ข้อมูลที่คลาดเคลื่อน
พระองค์เจ้าศรีสังข์ลี้ภัยไปฮาเตียน
ณ ปีชวดสำฤทธิศก ไปตีเมืองนครหนังราชสีมา กรมหมื่นเทพพิพิธเจ้าศรีสังข์ไปอยู่ ภิมายต่อสู้รบประจัญกัน จับได้กรมหมื่นเทพพิพิธบุตร์ชาย 2 บุตร์หญิง 1 กับเจ้าศรีสังข์ กรมหมื่นเทพพิพิธ ท่านให้สำเร็จโทษเสีย เจ้าศรีสังข์หนีไปเมืองขอม
— จดหมายความทรงจำ ของพระเจ้าไปยิกาเธอ กรมหลวงนรินทรเทวี(เจ้าครอกวัดโพ)
ตั้งแต่ จ.ศ. 1129 ถึง 1182 เปนเวลา 53 ปี, https://vajirayana.org/, (ร.ศ. 127)
ในจดหมายเหตุความทรงจำ ระบุว่าเจ้าศรีสงข์ พระโอรสในเจ้าฟ้าธรรมาธิเบศร์ (เจ้าฟ้งกุ้ง) โดยได้เข้าร่วมกับกรมหมื่นเทพพิพิธ เมื่อครั้งกรมหมื่นเทพพิพิธตั้งก๊กเจ้าพิมาย ต่อมาเมื่อกรมหมื่นเทพพิพิธพ่ายต่อพระเจ้าตากและสำเร็จโทษแล้ว เจ้าศรีสังข์จึงหลบหนีไปยังเมืองพุทไธมาศ (ฮาเตียน) อย่างไรก็ตาม เมื่อพิจารณาจากเอกสารของบาทหลวงฝรั่งเศสและเอกสารเวียดนาม พบว่าเจ้าศรีสงข์ไปยังเมืองฮาเตียนช่วงกรุงศรีอยุธยาแตกในปี พ.ศ. 2310 โดยมิได้มีการเข้าร่วมกับกรมหมื่นเทพพิพิธแต่อย่างใด
พระเจ้าตากสู่ขอพระราชธิดาเจ้ากรุงจีน
ให้แต่งสำเภาทรงพระราชสาสน์ไปถึงพระเจ้าปักกิ่ง ว่าจะขอลูกสาวพระเจ้าปักกิ่ง ให้เจ้าพระยาศรีธรมาธิราชผู้เถ้ากับหลวงนายฤทธิ์ หลวงนายศักดิ์ เปนราชทูตหุ้มแพร มหาดเล็กเลวไปมาก แต่งเครื่องบรรณาการไปกล่าวขอลูกสาวเจ้าปักกิ่ง
— จดหมายความทรงจำ ของพระเจ้าไปยิกาเธอ กรมหลวงนรินทรเทวี (เจ้าครอกวัดโพ)
ตั้งแต่ จ.ศ. 1129 ถึง 1182 เปนเวลา 53 ปี, https://vajirayana.org/, (ร.ศ. 127)
ข้อความส่วนนี้ ไม่สอดคล้องกับเอกสารจดหมายเหตุจีน สมัยราชวงศ์ชิง (ชิงสือลู่) มีลักษณะเป็นการบอกเล่าแบบปากต่อปาก
อนึ่ง เนื่องจากเอกสารฉบับนี้ เป็นการบันทึกเหตุการณ์ตามความทรงจำ จึงมีรายะเอียดของ "เลขศักราช" คลาดเคลื่อน ในส่วนนี้รัชกาลที่ 5 ได้พระราชวิจารณ์ไว้โดยละเอียดแล้ว
ความสำคัญ
รัชกาลที่ 5 ทรงเห็นว่า บันทึกนี้ "ท่านไม่ได้มุ่งหมายที่จะเรียงเปนพงษาวดารฤๅจดหมายเหตุให้ผู้อื่นอ่าน เปนแต่ลูกหลานพี่น้องไปไต่ถามการเก่า ๆ ก็เล่าให้ฟังแล้วเขียนลงไว้" ด้วยความที่เจ้านายฝ่ายหญิงทักจะมีบทบาทในการเล่าพระราชพงศาวดารถวายพระราชวงศ์ จึงเป็นการบันทึกแบบ "วงใน" หรือพงศาวดารกระซิบ ทำให้ได้ทราบรายละเอียดของเหตุการณ์ต่าง ๆ เช่น การที่พระเจ้ากรุงธนบุรีถูกคาดโทษในช่วงก่อนกรุงศรีอยุธยาแตก เนื่องจากยิงปืนใหญ่โดยไม่ได้บอกกล่าวแก่ก่อน หรือ การนางห้ามในพระเจ้ากรุงธนบุรี ประสูติพระราชโอรส แต่ทรงระแวงว่าจะมิใช่ลูกของพระองค์ เพราะถวายงานเพียง “หนเดียว”
การบันทึกของกรมหลวงนรินทรเทวีนี้จัดได้ว่าเป็นบันทึกตามประเพณีบอกเล่า (Oral tradition) แต่ก็ไม่ปรากฏการบอกเล่าเรื่องในลักษณะที่เหนือจริง เป็นการรวบรวมเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ ในช่วงกรุงธนบุรีถึงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ อีกทั้งยังเป็นการบันทึกโดยผู้ที่อยู่ร่วมในเหตุการณ์ อาจกล่าวได้ว่าจดหมายเหตุความทรงจำนี้เป็น “พงศาวดารนอกกรอบ” ก่อนที่เจ้าพระยาทิพากรวงศ์ (ขำ บุนนาค) จะรวบรวมและจัดทำพระราชพงศาวดาร รัชกาลที่ 1 - 3 ซึ่งเป็น “พงศาวดารในกรอบ”
ประการสำคัญคือ ข้อเขียนนี้ต่อประเด็นของพระเจ้ากรุงธนบุรี นับเป็นความต่างเมื่อเปรียบเทียบกับ “พงศาวดารในกรอบ” ที่มักเป็นงานประวัติศาสตร์เพื่อผู้ชนะในขณะที่ “พงศาวดารนอกกรอบ” อย่างของกรมหลวงนรินทรเทวีนั้นเป็นงานประวัติศาสตร์ที่มีมุมมองต่อผู้แพ้อย่างเห็นอกเห็นใจมากกว่าจะทับถมผลิตซ้ําหรือปิดหูปิดตาต่อความไม่เป็นธรรมที่เกิดขึ้น และยังแสดงให้เห็นถึงบทบาทของผู้หญิงในหน้าประวัติศาสตร์ เช่นกรณีของหม่อมฉิมกับหม่อมอุบล เผยให้เห็นลักษณะที่เป็นมนุษย์ปุถุชนของบุคคลในประวัติศาสตร์ ช่วยเปิดมุมมองใหม่ในการศึกษาประวัติศาสตร์
เอกสารฉบับนี้ แม้จะผ่านการคัดลอกมา แต่ไม่ได้ผ่านการ "ชำระ" มาก่อน ดังคำบรรยายในการเรียบเรียงหนังสือเมื่อ ร.ศ. 127 ใจความว่า
“ข้าพเจ้ายืนยันได้ว่าหนังสือฉบับนี้ไม่มีความเท็จเลยความที่คลาดเคลื่อนนั้นด้วยลืมบ้างด้วยทราบผิดไปบ้างเรียงลงไม่ถูกเปนภาษาไม่สู้แจ่มแจ้งบ้างทั้งวิธีเรียงหนังสือในอายุชั้นนั้นไม่สู้จะมีเครื่องมือสําหรับเขียนบริบูรณ์แลคล่องแคล่วเหมือนอย่างทุกวันนี้.. แต่เปนเคราะห์ดีที่สุดที่จดหมายกรมหลวงนรินทรเทวีฉบับนี้ไม่ปรากฏแก่นักเลงแต่งหนังสือในรัชกาลที่ 4 ฤๅในรัชกาลปะจุบันนี้ตกอยู่ในก้นตู้ได้จนถึงรัตนโกสินทรศก 127 นี้นับว่าเปนหนังสือพรมจารีไม่มีด้วงแมลงได้เจาะไชเลยความยังคงเก่าบริบูรณ์เว้นไว้แต่หนังสือไม่ใช่เปนตัวหนังสือเก่าแท้”
— จดหมายความทรงจำ ของพระเจ้าไปยิกาเธอ กรมหลวงนรินทรเทวี (เจ้าครอกวัดโพ)
ตั้งแต่ จ.ศ. 1129 ถึง 1182 เปนเวลา 53 ปี, https://vajirayana.org/, (ร.ศ. 127)
ประกอบกับพระราชวิจารณ์ของรัชกาลที่ 5 ที่ทรงอธิบายเพิ่มเติมทำให้รายละเอียดในเอกสารนี้ถูกต้องยิ่งขึ้น เป็นหนังสือที่ครบถ้วนกระบวนความ โดยเฉพาะเหตุการณ์ในระหว่างสร้างบ้านแปลงเมืองช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์
การตีพิมพ์
- พ.ศ. 2451 (ร.ศ.127) - พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดให้จัดพิมพ์ในงานไหวพระประจำปีวัดเบญจมบพิตร
- พ.ศ. 2459 - จัดพิมพ์ในงานพระราชทานเพลิงพระศพกรมหลวงนครไชยศรีสุรเดช
- พ.ศ. 2459 - หลังการจัดพิมพ์ในการพระราชทานพระศพกรมหลวงนครไชยศรีสุรเดช หอสมุดได้รับเอกสารจดหมายเหตุส่วนที่ 2 ซึ่งเป็นเหตุการณ์ถึง พ.ศ. 2381 จัดพิมพ์ในชื่อ "จดหมายเหตุความทรงจำ" เฉพาะส่วนของจดหมายเหตุความทรงจำ โดยไม่มีส่วนของพระราชวิจารณ์
- พ.ศ. 2470 - หอสมุดจัดพิมพ์ในชื่อ "จดหมายเหตุความทรงจำ" เฉพาะส่วนของจดหมายเหตุความทรงจำ ซ้ำอีกครั้งหนึ่ง
- พ.ศ. 2482 - จัดพิมพ์พร้อมพระราชวิจารณ์ โดยตัดพระราชสาส์นและศุภอักษรท้ายเล่มออก และได้มีการสอบทานกับหลักฐานต่าง ๆ
- พ.ศ. 2501 - จัดพิมพ์ในงานพระราชทานเพลิงพระศพพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงทิพย์รัตนกิริฎกุลินี
- พ.ศ. 2526 - จัดพิมพ์ในงานพระราชทานเพลิงพระศพพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวาปีบุษบากร
- พ.ศ. 2546 - จัดพิมพ์โดยสำนักพิมพ์ต้นฉบับ
- พ.ศ. 2560 - กรมศิลปากรจัดพิมพ์เผยแพร่
- พ.ศ. 2561 - จัดพิมพ์โดยสำนักพิมพ์ไทยควอลิตี้บุ๊คส์ (2006)
ดูเพิ่ม
อ้างอิง
- หอสมุดแห่งชาติ ชลบุรี. จดหมายเหตุความทรงจำ ของ กรมหลวงนรินทรเทวี. https://www.finearts.go.th/chonburilibrary
- กําพล จําปาพันธ์. พระเจ้าไปยิกาเธอ กรมหลวงนรินทรเทวี “พงศาวดารนอกกรอบ” จากมุมมองผู้หญิงและการพลิกฟื้นพระเจ้าตาก ในประวัติศาสตร์ไทย. วารสารไทยคดีศึกษา, Thai Khadi Journal [Internet]. 2020 [cited 2024 Apr 29];17:-99. Available from: https://harrt.in.th/handle/123456789/7890
- เจ้าครอกวัดโพธิ์ "จดหมายเหตุความทรงจำ" ประวัติศาสตร์ฉบับผู้หญิงแต่ง (silpa-mag.com)
- พระราชวิจารณ์-จดหมายเหตุความทรงจำ (vajirayana.org)
- เจ้าศรีสังข์ รัชทายาทกรุงศรีฯ ลี้ภัยการเมืองสู่เขมร (silpa-mag.com)
- "THAMMASAT UNIVERSITY LIBRARY". library.tu.ac.th.
- นรินทรเทวี, พระเจ้าไปยิกาเธอ กรมหลวง (2546). จดหมายความทรงจำของพระเจ้าไปยิกาเธอ กรมหลวงนรินทรเทวี (เจ้าครอกวัดโพ) ตั้งแต่ จ.ศ.1129-1182 เป็นเวลา 53 ปี และจดหมายเหตุความทรงจำ ฉบับ พ.ศ. 2459 [4th]. กรุงเทพฯ: ต้นฉบับ. ISBN .
- "หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ - จดหมายเหตุความทรงจำของกรมหลวงนรินทรเทวี". web.finearts.go.th.
- "จดหมายเหตุความทรงจำของกรมหลวงนรินทรเทวี พิมพ์พร้อมฉบับเพิ่มเติม (พ.ศ.2310-2381)และพระราชวิจารณ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (เฉพาะตอน พ.ศ.2310-2363)". www.car.chula.ac.th.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
cdhmayehtukhwamthrngcakhxngkrmhlwngnrinthrethwi epnchuxeriykexksarthihxsmudwchiryanidrbmacakwnghna odyenuxhaepnkarbnthukehtukarntngaetchwngkrungsrixyuthyalmslayinpi ph s 2310 cnthungpi ph s 2363 inpi ph s 2451 r s 127 krmphrayadarngrachanuphaph thrngehnwaenuxhakhxngexksarmikhwamaeplkcungidkhdsaenathwayphrabathsmedcphraculcxmeklaecaxyuhw emux rchkalthi 5 idthxdphraentr thrngmiphrabrmwinicchywaphuekhiyncdhmaybnthukkhwamthrngcani khngcaepn phraecaipyikaethx krmhlwngnrinthrethwi phraknisthatangphrachnni nxngsawtangaem inphrabathsmedcphraphuththyxdfaculaolkmharach dwythrngehnwaepnexksarthibnthukcakkhwamthrngcakhxngphuxyuinehtukarnchwngtnkrungrtnoksinthr nxkcakniyngidmiphrarachwicarnprakxb cungoprdekla ihcdphimphephyaephrkhrngaerkinnganihwphrapracapiwdebycmbphitrinpiediywkncdhmayehtukhwamthrngcakhxngkrmhlwngnrinthrethwipraephthexksarbnthukkhwamthrngcaphasaphasaithyphuaetngcdhmayehtukhwamthrngca krmhlwngnrinthrethwi phrarachwicarn phrabathsmedcphraculcxmeklaecaxyuhwphurwbrwmkrmphrayadarngrachanuphaph krmsilpakrenuxhaehtukarntngaet ph s 2310 2381 c s 1129 1182 thiekbedimhxsmudwchiryanwikisxrs mingantnchbbekiywkb cdhmayehtukhwamthrngca khxng krmhlwngnrinthrethwi ph s 2310 2381 thimatnchbbcdhmayehtukhwamthrngcanimi 2 chbb khux chbbthiidcakwnghna xnepnsmbtikhxngthanphuhyingphn phriyasmedcecaphrayabrmmhasrisuriywngs chwng bunnakh ekhiyndwydinsxinsmudithyda phbemux ph s 2451 raylaexiydepneruxngrawtngaet ph s 2310 ph s 2363 chbbthiepnsmbtikhxng aela ekhiyndwyhmukinsmudfrng idrbmxbemux ph s 2459 epnehtukarntxcakchbbaerkcnthung ph s 2381 c s 1200 enuxhacdhmayehtukhwamthrngca phrarachwicarnkhxngphrabathsmedcphraculcxmeklaecaxyuhw phrarachsasntang khxsnnithanphuaetngthrrmeniymedimthi phuaetng imidrbkhwamsakhyethakb phukhdlxk sungepnphuexamabxktxhruxephyaephr thaihimmikarrabunamphuaetngiw rchkalthi 5 cungthrngsubkhnwaphuidepnphuaetngcdhmaykhwamthrngcani odythrngrabuthungkhxbngchithungphuaetngiw 3 prakarkhux epnsanwnkhxngphuhying phuaetngcderuxngrawtamthiidruehnmadwytnexng epnphrabrmwngsanuwngsiklchid dngphrarachwicarnkhwamwa hnngsuxthicdlngni prakdodyowharaelthangdaeninkhwam ichthxykhaepnsanwncdhmayphuhying khngcaepnecanay aetcaepnecanayekaviecanayihmsungepnrachtrakulni aetenuxnginechuxwngsecakrungthnburi vicamiekiywkhxnginechuxwngsemuxngnkhrsrithrrmrach sungidepntrakulinewlannkhrawhnungkxaccaepnid xacepn phraxngkhecaprachumwngs hrux phraxngkhecaxrun thngni thrngxthibaytxipthungswnthikhxbngchithungphuaetng sungmiichecanaythngsamphraxngkhthithrngsnnithaniwtxntn odymacakkhxkhwamthiklawthungkarsinphrachnmkhxngecafakrmphrasrisunthrethph khwamwa wneduxnaepdaermkhahnung pimorngsmvththisk ecafakrmphrasunthrethphsinphrachnm iwphrasphbnprasath phraoxngkartrssngkrmhmun wasinlukkhnniaelw phraentrmudsidan phrakrrntungsidan xakrkhnxntladecaducharaethidxyathulely cdhmaykhwamthrngca khxngphraecaipyikaethx krmhlwngnrinthrethwi ecakhrxkwdoph tngaet c s 1129 thung 1182 epnewla 53 pi https vajirayana org r s 127 aelakarsinphrachnmkhxngkrmhmunnrithrphithks khwamwa n eduxnhaculskrach 1179 pichlunphsk krmhmunsinchnmayu prachumephlingnwdrachburn cdhmaykhwamthrngca khxngphraecaipyikaethx krmhlwngnrinthrethwi ecakhrxkwdoph tngaet c s 1129 thung 1182 epnewla 53 pi https vajirayana org r s 127 karthiphubnthukichkhawa sinchnmayu tangcakkarbnthukeruxngkhxngecanayxngkhxun echn ecafakrmphrasunthrthiichkhawasinchnm aelakhawa prachumephling aethnkhawathwayphraephling xikthngyngbnthukwa krmhmun iwhwn aesdngthungkhwamkhunekhykbkrmhmunnrithrphithks cungichkhaeriykxyangsamy prakxbkbphuthiekbxakrtlad inchwngthiecafakrmphrasunthrthiichkhawasinchnm khux phraxngkhecaku phraknisthatangphrachnniinphrabathsmedcphraphuththyxdfaculaolkmharach xikthngmikrmhmunnrithrphithksepnphraswami dngnn phuthibnthukkhngcaepn krmhlwngnrinthrethwi phraxngkhecaku nnexng odykhnaeriyberiyngcdhmayni khngcamixayuraw 70 piaelw cungaekchuxedimthiphukhdlxktngiw khux cdhmayehtutngaetkrungekaesiyaelwecatakmatngkrungthnburi epn cdhmaykhwamthrngca khxngphraecaipyikaethx krmhlwngnrinthrethwi ecakhrxkwdoph tngaetculskrach 1129 thungculskrach 1182 epnewla 53 pi hlngcakphrarachwicarnthungphuaetngcdhmayni lwngipid 8 pi inpi ph s 2459 hxsmudwchiryanidrbcdhmayehtukhwamthrngcaxikswnhnung sungklawthungehtukarnephimetimcakswnaerk tngaetpi ph s 2363 ph s 2381 sungepnkarbnthukphayhlngcakthikrmhlwngnrinthrethwi phraxngkhecaku sinphrachnmipaelwthung 11 pi aetemuxphicarnaaelw phbwasanwnthibnthukinswnhlngni aetktangcaksanwninswnaerksungrchkalthi 5 miphrarachwicarnwaphuthibnthukkhux krmhlwngnrinthrethwi khngcaepnkarbnthukephimetimkhxngecanaywnghnaxikphraxngkhhnungsungepnphukhdlxkephimetimekhaip aelaimidmiphlepliynaeplngwaphuaetngcdhmayehtukhwamthrngcani miichkrmhlwngnrinthrethwikhxmulthikhladekhluxnphraxngkhecasrisngkhliphyiphaetiyn n pichwdsavththisk iptiemuxngnkhrhnngrachsima krmhmunethphphiphithecasrisngkhipxyu phimaytxsurbpracykn cbidkrmhmunethphphiphithbutrchay 2 butrhying 1 kbecasrisngkh krmhmunethphphiphith thanihsaercothsesiy ecasrisngkhhniipemuxngkhxm cdhmaykhwamthrngca khxngphraecaipyikaethx krmhlwngnrinthrethwi ecakhrxkwdoph tngaet c s 1129 thung 1182 epnewla 53 pi https vajirayana org r s 127 incdhmayehtukhwamthrngca rabuwaecasrisngkh phraoxrsinecafathrrmathiebsr ecafngkung odyidekharwmkbkrmhmunethphphiphith emuxkhrngkrmhmunethphphiphithtngkkecaphimay txmaemuxkrmhmunethphphiphithphaytxphraecatakaelasaercothsaelw ecasrisngkhcunghlbhniipyngemuxngphuthithmas haetiyn xyangirktam emuxphicarnacakexksarkhxngbathhlwngfrngessaelaexksarewiydnam phbwaecasrisngkhipyngemuxnghaetiynchwngkrungsrixyuthyaaetkinpi ph s 2310 odymiidmikarekharwmkbkrmhmunethphphiphithaetxyangid phraecataksukhxphrarachthidaecakrungcin ihaetngsaephathrngphrarachsasnipthungphraecapkking wacakhxluksawphraecapkking ihecaphrayasrithrmathirachphuethakbhlwngnayvththi hlwngnayskdi epnrachthuthumaephr mhadelkelwipmak aetngekhruxngbrrnakaripklawkhxluksawecapkking cdhmaykhwamthrngca khxngphraecaipyikaethx krmhlwngnrinthrethwi ecakhrxkwdoph tngaet c s 1129 thung 1182 epnewla 53 pi https vajirayana org r s 127 khxkhwamswnni imsxdkhlxngkbexksarcdhmayehtucin smyrachwngsching chingsuxlu milksnaepnkarbxkelaaebbpaktxpak xnung enuxngcakexksarchbbni epnkarbnthukehtukarntamkhwamthrngca cungmirayaexiydkhxng elkhskrach khladekhluxn inswnnirchkalthi 5 idphrarachwicarniwodylaexiydaelwkhwamsakhyrchkalthi 5 thrngehnwa bnthukni thanimidmunghmaythicaeriyngepnphngsawdarvicdhmayehtuihphuxunxan epnaetlukhlanphinxngipitthamkareka kelaihfngaelwekhiynlngiw dwykhwamthiecanayfayhyingthkcamibthbathinkarelaphrarachphngsawdarthwayphrarachwngs cungepnkarbnthukaebb wngin hruxphngsawdarkrasib thaihidthrabraylaexiydkhxngehtukarntang echn karthiphraecakrungthnburithukkhadothsinchwngkxnkrungsrixyuthyaaetk enuxngcakyingpunihyodyimidbxkklawaekkxn hrux karnanghaminphraecakrungthnburi prasutiphrarachoxrs aetthrngraaewngwacamiichlukkhxngphraxngkh ephraathwaynganephiyng hnediyw karbnthukkhxngkrmhlwngnrinthrethwinicdidwaepnbnthuktampraephnibxkela Oral tradition aetkimpraktkarbxkelaeruxnginlksnathiehnuxcring epnkarrwbrwmehtukarnthangprawtisastr inchwngkrungthnburithungtnkrungrtnoksinthr xikthngyngepnkarbnthukodyphuthixyurwminehtukarn xacklawidwacdhmayehtukhwamthrngcaniepn phngsawdarnxkkrxb kxnthiecaphrayathiphakrwngs kha bunnakh carwbrwmaelacdthaphrarachphngsawdar rchkalthi 1 3 sungepn phngsawdarinkrxb prakarsakhykhux khxekhiynnitxpraednkhxngphraecakrungthnburi nbepnkhwamtangemuxepriybethiybkb phngsawdarinkrxb thimkepnnganprawtisastrephuxphuchnainkhnathi phngsawdarnxkkrxb xyangkhxngkrmhlwngnrinthrethwinnepnnganprawtisastrthimimummxngtxphuaephxyangehnxkehnicmakkwacathbthmphlitsahruxpidhupidtatxkhwamimepnthrrmthiekidkhun aelayngaesdngihehnthungbthbathkhxngphuhyinginhnaprawtisastr echnkrnikhxnghmxmchimkbhmxmxubl ephyihehnlksnathiepnmnusyputhuchnkhxngbukhkhlinprawtisastr chwyepidmummxngihminkarsuksaprawtisastr exksarchbbni aemcaphankarkhdlxkma aetimidphankar chara makxn dngkhabrryayinkareriyberiynghnngsuxemux r s 127 ickhwamwa khaphecayunynidwahnngsuxchbbniimmikhwamethcelykhwamthikhladekhluxnnndwylumbangdwythrabphidipbangeriynglngimthukepnphasaimsuaecmaecngbangthngwithieriynghnngsuxinxayuchnnnimsucamiekhruxngmuxsahrbekhiynbriburnaelkhlxngaekhlwehmuxnxyangthukwnni aetepnekhraahdithisudthicdhmaykrmhlwngnrinthrethwichbbniimpraktaeknkelngaetnghnngsuxinrchkalthi 4 viinrchkalpacubnnitkxyuinkntuidcnthungrtnoksinthrsk 127 ninbwaepnhnngsuxphrmcariimmidwngaemlngidecaaichelykhwamyngkhngekabriburnewniwaethnngsuximichepntwhnngsuxekaaeth cdhmaykhwamthrngca khxngphraecaipyikaethx krmhlwngnrinthrethwi ecakhrxkwdoph tngaet c s 1129 thung 1182 epnewla 53 pi https vajirayana org r s 127 prakxbkbphrarachwicarnkhxngrchkalthi 5 thithrngxthibayephimetimthaihraylaexiydinexksarnithuktxngyingkhun epnhnngsuxthikhrbthwnkrabwnkhwam odyechphaaehtukarninrahwangsrangbanaeplngemuxngchwngtnkrungrtnoksinthrcdhmayehtukhwamthrngca cdphimphinnganphrarachthanephlingphrasph krmhlwngnkhrichysrisuredch ph s 2459kartiphimphph s 2451 r s 127 phrabathsmedcphraculcxmeklaecaxyuhw oprdihcdphimphinnganihwphrapracapiwdebycmbphitr ph s 2459 cdphimphinnganphrarachthanephlingphrasphkrmhlwngnkhrichysrisuredch ph s 2459 hlngkarcdphimphinkarphrarachthanphrasphkrmhlwngnkhrichysrisuredch hxsmudidrbexksarcdhmayehtuswnthi 2 sungepnehtukarnthung ph s 2381 cdphimphinchux cdhmayehtukhwamthrngca echphaaswnkhxngcdhmayehtukhwamthrngca odyimmiswnkhxngphrarachwicarn ph s 2470 hxsmudcdphimphinchux cdhmayehtukhwamthrngca echphaaswnkhxngcdhmayehtukhwamthrngca saxikkhrnghnung ph s 2482 cdphimphphrxmphrarachwicarn odytdphrarachsasnaelasuphxksrthayelmxxk aelaidmikarsxbthankbhlkthantang ph s 2501 cdphimphinnganphrarachthanephlingphrasphphraecabrmwngsethx krmhlwngthiphyrtnkiridkulini ph s 2526 cdphimphinnganphrarachthanephlingphrasphphraecabrmwngsethx phraxngkhecawapibusbakr ph s 2546 cdphimphodysankphimphtnchbb ph s 2560 krmsilpakrcdphimphephyaephr ph s 2561 cdphimphodysankphimphithykhwxlitibukhs 2006 duephimphrarachphngsawdarkrungrtnoksinthr krmhlwngnrinthrethwixangxinghxsmudaehngchati chlburi cdhmayehtukhwamthrngca khxng krmhlwngnrinthrethwi https www finearts go th chonburilibrary kaphl capaphnth phraecaipyikaethx krmhlwngnrinthrethwi phngsawdarnxkkrxb cakmummxngphuhyingaelakarphlikfunphraecatak inprawtisastrithy warsarithykhdisuksa Thai Khadi Journal Internet 2020 cited 2024 Apr 29 17 99 Available from https harrt in th handle 123456789 7890 ecakhrxkwdophthi cdhmayehtukhwamthrngca prawtisastrchbbphuhyingaetng silpa mag com phrarachwicarn cdhmayehtukhwamthrngca vajirayana org ecasrisngkh rchthayathkrungsri liphykaremuxngsuekhmr silpa mag com THAMMASAT UNIVERSITY LIBRARY library tu ac th nrinthrethwi phraecaipyikaethx krmhlwng 2546 cdhmaykhwamthrngcakhxngphraecaipyikaethx krmhlwngnrinthrethwi ecakhrxkwdoph tngaet c s 1129 1182 epnewla 53 pi aelacdhmayehtukhwamthrngca chbb ph s 2459 4th krungethph tnchbb ISBN 978 974 91085 7 4 hnngsuxxielkthrxniks cdhmayehtukhwamthrngcakhxngkrmhlwngnrinthrethwi web finearts go th cdhmayehtukhwamthrngcakhxngkrmhlwngnrinthrethwi phimphphrxmchbbephimetim ph s 2310 2381 aelaphrarachwicarninphrabathsmedcphraculcxmeklaecaxyuhw echphaatxn ph s 2310 2363 www car chula ac th