บทความนี้ต้องการตรวจสอบความถูกต้องจากผู้เชี่ยวชาญในเรื่องนั้น ๆ โปรดเพิ่มพารามิเตอร์ reason หรือ talk ลงในแม่แบบนี้เพื่ออธิบายปัญหาของบทความ |
ตุลาการ คือผู้มีอำนาจและหน้าที่ในการพิจารณาอรรถคดี ตำแหน่งของตุลาการเรียกว่า "ผู้พิพากษา" โบราณเรียกว่า "ตระลาการ" หรือ "กระลาการ" ทั้งนี้ ตุลาการกับผู้พิพากษาของไทยในสมัยโบราณนั้นมีอำนาจหน้าที่คนละอย่างกัน ปัจจุบัน ในศาลยุติธรรมนั้น ตุลาการเป็นชื่อข้าราชการประเภทหนึ่ง เรียกว่า "ข้าราชการตุลาการ" ส่วนผู้พิพากษาเป็นตำแหน่งของข้าราชการตุลาการ แต่ในศาลปกครองและศาลรัฐธรรมนูญนั้น คำว่า ตุลาการ ใช้เรียกเป็นชื่อข้าราชการและเป็นตำแหน่งด้วย สำหรับศาลยุติธรรมนั้น คำว่า ข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรม นี้รวมถึง ดะโต๊ะยุติธรรมและข้าราชการธุรการที่ปฏิบัติงานให้แก่ฝ่ายตุลาการด้วยที่เรียกว่า ข้าราชการศาลยุติธรรม
อนึ่ง คำว่า "ตุลาการ" ยังเป็นชื่ออำนาจเกี่ยวกับการข้างต้นอีกด้วย โดยเป็นอำนาจฝ่ายหนึ่งในอำนาจทั้งสามตามการแบ่งแยกอำนาจของการปกครองในระบอบประชาธิปไตยซึ่งได้แก่ อำนาจตุลาการ อำนาจนิติบัญญัติ และอำนาจบริหาร
วิวัฒนาการของตุลาการในทางนิรุกติศาสตร์
คำว่า "ตุลาการ"
คำ "ตุลาการ" นั้น มีที่มาจากคำว่า "ตุลา" ซึ่งแปลว่า หรือ + "การ" แปลว่า กระทำ หรือผู้กระทำ เป็นการอุปมาว่าผู้ตัดสินคดีความพึงตั้งอยู่ในความเที่ยงตรงไม่เอนเอียงเปรียบประดุจตราชู และด้วยเหตุนี้ รูปตราชูจึงเป็นสัญลักษณ์สากลของวงการตุลาการและวงการกฎหมาย คำว่า "ตุลาการ" นั้นจึงแปลว่า "ผู้กระทำความเที่ยงตรง" โดยปริยาย
คำว่า "ตระลาการ"
อนึ่ง เท่าที่มีการค้นพบ คำว่า "ตุลาการ" นี้เพิ่งใช้กันในสมัยรัตนโกสินทร์นี้เอง ก่อนหน้านั้นจะใช้คำว่า "ตระลาการ" หรือ "กระลาการ" แทน ซึ่งมีความเดียวกันทั้งสามคำ
หลักฐานของการใช้คำ "ตระลาการ" นี้ ได้แก่ ที่ปรากฏในพระอัยการลักษณะตระลาการ จุลศักราช 1058 (พ.ศ. 2239-2240) อันตราขึ้นในรัชกาลสมเด็จพระเพทราชา และบทพระอัยการเพิ่มเติมลักษณะตระลาการ จุลศักราช 1090 (พ.ศ. 2271-2272) อันตราขึ้นในรัชกาลสมเด็จพระเจ้าท้ายสระ กฎหมายทั้งสองฉบับนี้บัญญัติถึงรายละเอียดแห่งอำนาจหน้าที่ในการตัดสินอรรถคดีของตุลาการ ส่วนใหญ่มีลักษณะเป็นกฎหมายวิธีพิจารณาความ (อังกฤษ: procedural law) ตามความเข้าใจในปัจจุบัน ใจความของกฎหมายดังกล่าวยึดหลักการเดิมตามคัมภีร์พระธรรมศาสตร์ฉบับภาษาบาลีและปรับปรุงให้เข้ากับสภาพสังคมอยุธยา เป็นต้นว่า
1. มีการบัญญัติว่า ตุลาการนั้นต้องปราศจากอคติหรือความลำเอียงทั้งสี่ คือ ฉันทาคติ-ความลำเอียงเพราะรัก โทษาคติ-ความลำเอียงเพราะโกรธ ภยาคติ-ความลำเอียงเพราะกลัว และโมหาคติ-ความลำเอียงเพราะหลงหรือโง่
2. กับทั้งยังกล่าวว่า ตุลาการนั้นได้ชื่อว่าเป็น "อิสโร" (อิสฺสโร) คือ ผู้มีอิสรภาพในการพิจารณาพิพากษาอรรถคดี
3. ตลอดจนมีข้อความสาปแช่งตุลาการที่ประพฤติมิชอบในหน้าที่ เป็นต้นว่า เกียรติยศและโภคศรีสวัสดิ์แห่งตุลาการผู้นั้นจะถอยเสื่อมสูญไปประดุจพระจันทร์ในวันกาฬปักษ์ (วันข้างแรม) และจะประสบกับความเดือดร้อนเป็นอันมาก ถ้าตุลาการผู้ใดกินสินบนสินจ้างมิได้ปฏิบัติหน้าที่ไปตามพระธรรมศาสตร์ เมื่อตายไปจะตกนรกหมกไหม้ทนทุกขเวทนาชั่วนิรันดร์ กลายเป็นเปรตมีเล็บมือใหญ่เท่าใบจอบ มีเปลวไฟปรากฏอยู่รอบตัว เปรตนั้นจะคอยควักเอารุธิรมังสะ (เลือดและเนื้อ) ของตนกินเป็นอาหาร
นอกจากนี้ คำว่า "ตระลาการ" ยังมีกระเส็นกระสายในบทกฎหมายอื่น ๆ ของสมัยอยุธยา เช่น ลักษณะอุทธรณ์ที่ตราขึ้นในรัชกาลสมเด็จพระเจ้าปราสาท มีคำว่า "ผู้พิพากษาตระลาการ" และในลักษณะโจรห้าเส้นที่กล่าวถึงผู้ร้ายประเภทซึ่งจำอยู่ ณ คุก ตะราง หรือทิม ว่ามิให้สอดเสียสินบนให้แก่ "ตระลาการ" เป็นต้น
บรรดากฎหมายเก่าที่มีคำว่า "ตระลาการ" นี้ แม้เมื่อสิ้นกรุงศรีอยุธยาและกรุงธนบุรีแล้วก็ยังมีผลใช้บังคับต่อมา จนกระทั่งในสมัยรัตนโกสินทร์ ในจุลศักราช 1166 (พ.ศ. 2347-2348) ที่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งข้าราชการที่มีสติปัญญาจำนวนสิบเอ็ดนายเป็นคณะกรรมการชำระกฎหมายทั้งปวงที่มีอยู่ในหอหลวง แล้วให้อาลักษณ์จัดทำไว้เป็นสามฉบับประทำตราสามตรา ดังที่เรียกติดปากกันจนทุกวันนี้ว่า "กฎหมายตราสามดวง" กระนั้น คำว่า "ตระลาการ" ก็ยังปรากฏอยู่
ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว กฎหมายหลายฉบับที่ตราขึ้นก็ยังใช้คำ "ตุลาการ" อยู่ กระทั่งมีการประกาศใช้พระธรรมนูญศาลทหารบก รัตนโกสินทรศก 126 (พ.ศ. 2450) ปรากฏคำว่า "ตุลาการศาลกรมยุทธนาธิการ" ซึ่งราชบัณฑิตยสถานกล่าวว่า "...ดูเหมือนจะเป็นครั้งแรกที่เริ่มใช้คำนี้ในกฎหมาย หลังจากนั้นกฎหมายเกี่ยวกับราชการศาลของฝ่ายทหารต่อ ๆ จนปัจจุบันนี้ก็เรียกผู้พิพากษาของศาลทหารว่า ตุลาการศาลทหาร"
ส่วนด้านศาลพลเรือนนั้น การใช้คำ "ตุลาการ" ปรากฏครั้งแรกในพระบรมราชโองการประกาศจัดระเบียบราชการกระทรวงยุติธรรม ร.ศ. 131 (พ.ศ. 2455) อันตราขึ้นในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ประกาศนี้กำหนดให้อธิบดีศาลฎีกา (ประธานศาลฎีกาในปัจจุบัน) มีหน้าที่ดำริวางระเบียบราชการแผนกตุลาการ ในราชการฝ่ายตุลาการนั้นให้เสนาบดีกระทรวงยุติธรรมปรึกษาหารือและฟังความคิดเห็นอธิบดีศาลฎีกา หลังจากนั้นในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาประชาธิปก พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ก็ได้มีการประกาศใช้พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการตุลาการ พุทธศักราช 2471 ซึ่งได้มีการแก้ไขเพิ่มเติมและประกาศใช้ใหม่หลายครั้งเรื่อยมาจนกระทั่งถึงปัจจุบัน
อย่างไรก็ดี ได้มีประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 299 ลงวันที่ 12 ธันวาคม 2515 ประกาศฉบับนี้ ราชบัณฑิตยสถานกล่าวว่า
...ให้ยกเลิกความในบางมาตราแห่งพระราชบัญญัตินั้น [พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการตุลาการ] และให้ใช้ความใหม่แทน ซึ่งความใหม่ที่ให้ใช้แทนนั้นกระทบกระเทือนต่อความรู้สึกของบุคคลเป็นอันมากในขณะนั้น ได้ก่อให้เกิดปัญหาทางการเมือง และมีการแสดงความเห็นคัดค้านอย่างกว้างขวาง ประกาศของคณะปฏิวัติฉบับนั้นจึงไม่มีโอกาสที่จะมีผลในทางปฏิบัติ...
ในวันที่ 25 ธันวาคม 2515 สภานิติบัญญัติแห่งชาติได้กราบบังคมทูลให้พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงตราพระราชบัญญัติยกเลิกประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 299 ลงวันที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2515 พ.ศ. 2515 โดยมาตรา 2 ว่าให้พระราชบัญญัตินี้มีผลใช้บังคับย้อนหลังไปถึงวันที่ 13 ธันวาคม ปีนั้นเอง ซึ่งเป็นวันที่ประกาศคณะปฏิวัตินั้นเริ่มมีผลใช้บังคับ
คำว่า "ตุลาการ" นี้ นอกจากใช้ในราชการศาลยุติธรรมฝ่ายทหารและพลเรือนแล้ว ยังใช้ในทางความสัมพันธ์ระหว่างประเทศด้วยหลายแห่ง เช่น ในสนธิสัญญาการพาณิชย์และการเดินเรือระหว่างประเทศไทยกับอังกฤษ พ.ศ. 2480 ข้อ 1 (3) ได้กล่าวถึงเจ้าหน้าที่และสุภาตุลาการในการรัษฎากร (อังกฤษ: the fiscal authorities and tribunals)
วิวัฒนาการของตุลาการในทางประวัติศาสตร์
วิวัฒนาการของตุลาการไทย
โปรดดู วิวัฒนาการของตุลาการในทางนิรุกติศาสตร์ / คำว่า "ตระลาการ" ข้างบนประกอบ
ในการพิจารณาพิพากษาอรรถคดีแต่โบราณจะมีเจ้าพนักงานสองฝ่าย คือ "ตระลาการ" หรือ"ตุลาการ" มีหน้าที่พิจารณาไต่สวนหาข้อเท็จจริง และ "ผู้พิพากษา" มีหน้าที่ให้คำพิพากษาเมื่อได้ข้อเท็จจริงจากตุลาการแล้ว เมื่อมีการเลิกใช้กฎหมายตราสามดวงโดยปริยาย ฝ่ายตุลาการก็สูญสิ้นไปด้วย ผู้พิพากษาจึงต้องปฏิบัติหน้าที่ของตุลาการอย่างโบราณอีกหน้าที่หนึ่ง อย่างไรก็ดี ต่อมาภายหลังกลับรื้อคำว่า "ตระลาการ" หรือ "ตุลาการ" ขึ้นมาใช้อีก โดยให้ความหมายว่าผู้พิจารณาพิพากษาอรรถคดีเหมือนอย่างผู้พิพากษา จนกระทั่งภายหลังมีกฎหมายว่าด้วยข้าราชการตุลาการขึ้น จึงเป็นที่ทำให้เข้าใจอย่างตายตัวว่า ในบัดนี้ความหมายของคำว่า "ผู้พิพากษา" กับ "ตุลาการ" เป็นอย่างเดียวกัน จนกระทั่งต่อมามีการจัดตั้งศาลรัฐธรรมนูญกับศาลปกครองขึ้น โดยโอนอำนาจของศาลยุติธรรมที่เกี่ยวกับคดีปกครองและการตีความรัฐธรรมนูญไปให้กับศาลที่จัดตั้งใหม่ทั้งสองประเภทดังกล่าว จึงมีการกำหนดในกฎหมายอย่างชัดเจนทำให้เห็นได้ว่าตำแหน่ง "ผู้พิพากษา" นั้นจะใช้กับศาลยุติธรรมเท่านั้น แต่ศาล รัฐธรรมนูญกับศาลปกครองนั้น จะเรียกว่า "ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญและตุลาการศาลปกครอง"
การได้มาและการให้พ้นจากตำแหน่งซึ่งข้าราชการตุลาการ
ข้าราชการตุลาการนี้ พระมหากษัตริย์จะได้ทรงแต่งตั้ง เลื่อนตำแหน่ง หรือถอดถอนตามคำแนะนำของคณะกรรมการข้าราชการตุลาการ (ก.ต.) เว้นแต่สำหรับตำแหน่งผู้ช่วยผู้พิพากษาเป็นอำนาจของประธานศาลฎีกาโดยความเห็นชอบของ ก.ต.
ผู้ที่จะเข้ารับราชการเป็นข้าราชการตุลาการจะต้องเป็นผู้ดำรงตนอยู่ในความดีงาม กับทั้งต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามดังต่อไปนี้
1. มีสัญชาติไทยโดยกำเนิด
2. มีอายุไม่ต่ำกว่ายี่สิบห้าปีบริบูรณ์
3. มีความเลื่อมใสในการปกครองระบอบประชาธิปไตยด้วยความบริสุทธิ์ใจ
4. เป็นสมาชิกแห่งเนติบัณฑิตยสภา
5. ไม่เป็นผู้มี
6. ไม่เป็นผู้อยู่ระหว่างถูกสั่งให้พักราชการหรือถูกสั่งให้ออกจากราชการไว้ก่อนตามกฎหมาย
7. ไม่เคยถูกลงโทษไล่ออก ปลดออก หรือให้ออกจากราชการ หน่วยงานรัฐวิสาหกิจ หรือหน่วยงานอื่นของรัฐ
8. ไม่เคยรับโทษจำคุกโดยคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุก เว้นแต่เป็นกรณีสำหรับความผิดที่ได้กระทำโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ
9. ไม่เป็นคนไร้ความสามารถ คนเสมือนไร้ความสามารถ คนวิกลจริต หรือคนมีจิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ
10. ไม่มีกายภาพหรือจิตภาพพิการจนเป็นเหตุให้ไม่สมควรที่จะรับราชการ
11. ไม่เป็นโรคตามที่ ก.ต. ระบุไว้ในระเบียบของ ก.ต.
12. ได้ผ่านการตรวจร่างกายและจิตใจ และได้รับการรับรองสำหรับการตรวจดังกล่าวจากคณะกรรมการแพทย์ที่ ก.ต. แต่งตั้งแล้ว
13. ได้ผ่านการฝึกหัดเป็นผู้พิพากษามาแล้วไม่น้อยกว่าหนึ่งปี
คุณสมบัติและลักษณะต้องห้ามดังกล่าวนี้ไม่ใช้บังคับแก่ข้าราชการที่มีตำแหน่งไม่ต่ำกว่าระดับปลัดกระทรวงยุติธรรม อัยการ และทนายความที่เคยว่าความมาแล้วไม่ต่ำกว่าห้าปี กับทั้งไม่ใช้บังคับแก่บุคคลที่มีสัญชาติต่างด้าวซึ่งรัฐบาลไทยได้ทำสัญญาว่าจ้างมาเป็นข้าราชการตุลาการไทย
อำนาจและหน้าที่ของข้าราชการตุลาการ
สมัยก่อน ผู้พิพากษาแบ่งออกเป็นสองชั้น ชั้นแรกมีอำนาจหน้าที่ที่จะพิจารณาและพิพากษาความอาญาอันมีโทษจำคุกไม่เกินกว่าหกเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท และความแพ่งอันมีโทษหรือทุนทรัพย์ไม่เกินกว่าหนึ่งพันบาท ส่วนชั้นที่สองมีอำนาจหน้าที่ที่จะออกหมายหรือสั่งให้จับได้ ที่จะบังคับส่งตัวคนไปต่างดินแดน ที่จะออกหมายหรือมีคำสั่งให้ค้นของกลาง ที่จะออกหมายเรียกคู่ความและพยานในคดีซึ่งตนรับผิดชอบอยู่ ที่จะพิจารณาคดีอื่นใดทั้งปวง
ปัจจุบัน ผู้พิพากษามีอำนาจหน้าที่เสมอกันหมดแล้ว โดยผู้พิพากษาคนหนึ่งมีอำนาจที่จะออกหมายเรียก หมายอาญา หรือหมายสั่งให้ส่งคนมาหรือไปยังเขตใด ๆ กับทั้งที่จะออกคำสั่งใด ๆ อันมิใช่เป็นทางวินิจฉัยชี้ขาดคดีความ และมีอำนาจหน้าที่ไต่สวนและวินิจฉัยชี้ขาดคดีความทั้งปวงที่ตนรับผิดชอบ ตลอดจนไต่สวนและออกคำสั่งเกี่ยวกับ ทั้งนี้ แล้วแต่ลำดับศาลด้วย
อ้างอิง
- ราชบัณฑิตยสถาน. (2551, 7 กุมภาพันธ์). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://rirs3.royin.go.th/dictionary.asp 2009-03-03 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน. (เข้าถึงเมื่อ: 17 กันยายน 2551).
- วิกรม เมาลานนท์. (2516-2517). "ตุลาการ". สารานุกรมไทยฉบับราชบัณฑิตยสถาน, (เล่ม 13 : ตัวสงกรานต์-ทะนาน). ปราณบุรี : โรงพิมพ์ศูนย์การทหารราบ. หน้า 8016-8022.
- "พระธรรมนูญศาลทหารบก รัตนโกสินทรศก 126 (พ.ศ. 2450)". (2450, 29 ธันวาคม). ราชกิจจานุเบกษา, (เล่ม 24). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2450/039/1015.PDF. (เข้าถึงเมื่อ: 17 กันยายน 2551).
- "พระบรมราชโองการประกาศจัดระเบียบราชการกระทรวงยุติธรรม ร.ศ. 131 (พ.ศ. 2455)". (2455, 14 เมษายน). ราชกิจจานุเบกษา, (เล่ม 29). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2455/A/3.PDF. (เข้าถึงเมื่อ: 17 กันยายน 2551).
- "พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการตุลาการ พุทธศักราช 2477". (2478, 30 เมษายน). ราชกิจจานุเบกษา, (เล่ม 52). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2478/A/251.PDF. (เข้าถึงเมื่อ: 17 กันยายน 2551).
- "ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 299 ลงวันที่ 12 ธันวาคม 2515". (2515, 12 ธันวาคม). ราชกิจจานุเบกษา, (เล่ม 89, ตอนที่ 189). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2515/A/189/12.PDF. (เข้าถึงเมื่อ: 17 กันยายน 2551).
- "พระราชบัญญัติยกเลิกประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 299 ลงวันที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2515 พ.ศ. 2515". (2515, 26 ธันวาคม). ราชกิจจานุเบกษา, (เล่ม 29, ตอนที่ 198). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2515/A/198/231.PDF. (เข้าถึงเมื่อ: 17 กันยายน 2551).
- "พระบรมราชโองการ ประกาศให้ใช้สนธิสัญญาการพาณิชย์และการเดินเรือระหว่างสยามกับอังกฤษ". (2480, 19 กุมภาพันธ์). ราชกิจจานุเบกษา, (เล่ม 54). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2480/A/1565.PDF. (เข้าถึงเมื่อ: 17 กันยายน 2551).
- ขุนสมาหารหิตะคดี (โป๊ โปรคุปต์). (2549, มีนาคม). "ตระลาการ". พจนานุกรมกฎหมาย. กรุงเทพฯ : วิญญูชน. หน้า 128-129.
- ขุนสมาหารหิตะคดี (โป๊ โปรคุปต์). (2549, มีนาคม). "ผู้พิพากษา". พจนานุกรมกฎหมาย. กรุงเทพฯ : วิญญูชน. หน้า 221-223.
- สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา. (2549, 23 มิถุนายน). พระราชบัญญัติให้ใช้พระธรรมนูญศาลยุติธรรม พ.ศ. 2543. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://www.krisdika.go.th/lawHeadPDF.jsp?formatFile=pdf&hID=0[]. (เข้าถึงเมื่อ: 18 กันยายน 2551).
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamnitxngkartrwcsxbkhwamthuktxngcakphuechiywchayineruxngnn oprdephimpharamietxr reason hrux talk lnginaemaebbniephuxxthibaypyhakhxngbthkhwamemuxwangaethkni ihphicarnaechuxmoyngkhakhxnikbokhrngkarwiki tulakar khuxphumixanacaelahnathiinkarphicarnaxrrthkhdi taaehnngkhxngtulakareriykwa phuphiphaksa obraneriykwa tralakar hrux kralakar thngni tulakarkbphuphiphaksakhxngithyinsmyobrannnmixanachnathikhnlaxyangkn pccubn insalyutithrrmnn tulakarepnchuxkharachkarpraephthhnung eriykwa kharachkartulakar swnphuphiphaksaepntaaehnngkhxngkharachkartulakar aetinsalpkkhrxngaelasalrththrrmnuynn khawa tulakar icheriykepnchuxkharachkaraelaepntaaehnngdwy sahrbsalyutithrrmnn khawa kharachkarfaytulakarsalyutithrrm nirwmthung daotayutithrrmaelakharachkarthurkarthiptibtinganihaekfaytulakardwythieriykwa kharachkarsalyutithrrmphrabathsmedcphraprminthrmhaphumiphlxdulyedchaelasmedcphranangecasirikiti phrabrmrachininaththrngekhruxngaebbkharachkartulakarinthanathithrngepnthimaaehngkhwamyutithrrmtamkhwamechuxobran xnung khawa tulakar yngepnchuxxanacekiywkbkarkhangtnxikdwy odyepnxanacfayhnunginxanacthngsamtamkaraebngaeykxanackhxngkarpkkhrxnginrabxbprachathipitysungidaek xanactulakar xanacnitibyyti aelaxanacbriharwiwthnakarkhxngtulakarinthangniruktisastrkhawa tulakar kha tulakar nn mithimacakkhawa tula sungaeplwa hrux kar aeplwa kratha hruxphukratha epnkarxupmawaphutdsinkhdikhwamphungtngxyuinkhwamethiyngtrngimexnexiyngepriybpraductrachu aeladwyehtuni ruptrachucungepnsylksnsaklkhxngwngkartulakaraelawngkarkdhmay khawa tulakar nncungaeplwa phukrathakhwamethiyngtrng odypriyay khawa tralakar xnung ethathimikarkhnphb khawa tulakar niephingichkninsmyrtnoksinthrniexng kxnhnanncaichkhawa tralakar hrux kralakar aethn sungmikhwamediywknthngsamkha hlkthankhxngkarichkha tralakar ni idaek thipraktinphraxykarlksnatralakar culskrach 1058 ph s 2239 2240 xntrakhuninrchkalsmedcphraephthracha aelabthphraxykarephimetimlksnatralakar culskrach 1090 ph s 2271 2272 xntrakhuninrchkalsmedcphraecathaysra kdhmaythngsxngchbbnibyytithungraylaexiydaehngxanachnathiinkartdsinxrrthkhdikhxngtulakar swnihymilksnaepnkdhmaywithiphicarnakhwam xngkvs procedural law tamkhwamekhaicinpccubn ickhwamkhxngkdhmaydngklawyudhlkkaredimtamkhmphirphrathrrmsastrchbbphasabaliaelaprbprungihekhakbsphaphsngkhmxyuthya epntnwa 1 mikarbyytiwa tulakarnntxngprascakxkhtihruxkhwamlaexiyngthngsi khux chnthakhti khwamlaexiyngephraark othsakhti khwamlaexiyngephraaokrth phyakhti khwamlaexiyngephraaklw aelaomhakhti khwamlaexiyngephraahlnghruxong 2 kbthngyngklawwa tulakarnnidchuxwaepn xisor xis sor khux phumixisrphaphinkarphicarnaphiphaksaxrrthkhdi 3 tlxdcnmikhxkhwamsapaechngtulakarthipraphvtimichxbinhnathi epntnwa ekiyrtiysaelaophkhsriswsdiaehngtulakarphunncathxyesuxmsuyippraducphracnthrinwnkalpks wnkhangaerm aelacaprasbkbkhwameduxdrxnepnxnmak thatulakarphuidkinsinbnsincangmiidptibtihnathiiptamphrathrrmsastr emuxtayipcatknrkhmkihmthnthukkhewthnachwnirndr klayepneprtmielbmuxihyethaibcxb mieplwifpraktxyurxbtw eprtnncakhxykhwkexaruthirmngsa eluxdaelaenux khxngtnkinepnxahar nxkcakni khawa tralakar yngmikraesnkrasayinbthkdhmayxun khxngsmyxyuthya echn lksnaxuththrnthitrakhuninrchkalsmedcphraecaprasath mikhawa phuphiphaksatralakar aelainlksnaocrhaesnthiklawthungphuraypraephthsungcaxyu n khuk tarang hruxthim wamiihsxdesiysinbnihaek tralakar epntn brrdakdhmayekathimikhawa tralakar ni aememuxsinkrungsrixyuthyaaelakrungthnburiaelwkyngmiphlichbngkhbtxma cnkrathnginsmyrtnoksinthr inculskrach 1166 ph s 2347 2348 thiphrabathsmedcphraphuththyxdfaculaolkthrngphrakrunaoprdekla aetngtngkharachkarthimistipyyacanwnsibexdnayepnkhnakrrmkarcharakdhmaythngpwngthimixyuinhxhlwng aelwihxalksncdthaiwepnsamchbbprathatrasamtra dngthieriyktidpakkncnthukwnniwa kdhmaytrasamdwng krann khawa tralakar kyngpraktxyu inrchkalphrabathsmedcphracxmeklaecaxyuhwaelaphrabathsmedcphraprminthrmhaculalngkrn phraculcxmeklaecaxyuhw kdhmayhlaychbbthitrakhunkyngichkha tulakar xyu krathngmikarprakasichphrathrrmnuysalthharbk rtnoksinthrsk 126 ph s 2450 praktkhawa tulakarsalkrmyuththnathikar sungrachbnthitysthanklawwa duehmuxncaepnkhrngaerkthierimichkhaniinkdhmay hlngcaknnkdhmayekiywkbrachkarsalkhxngfaythhartx cnpccubnnikeriykphuphiphaksakhxngsalthharwa tulakarsalthhar swndansalphleruxnnn karichkha tulakar praktkhrngaerkinphrabrmrachoxngkarprakascdraebiybrachkarkrathrwngyutithrrm r s 131 ph s 2455 xntrakhuninrchkalphrabathsmedcphrapremnthrmhawchirawuth phramngkudeklaecaxyuhw prakasnikahndihxthibdisaldika prathansaldikainpccubn mihnathidariwangraebiybrachkaraephnktulakar inrachkarfaytulakarnnihesnabdikrathrwngyutithrrmpruksaharuxaelafngkhwamkhidehnxthibdisaldika hlngcaknninrchkalphrabathsmedcphraprminthrmhaprachathipk phrapkeklaecaxyuhw kidmikarprakasichphrarachbyytiraebiybkharachkartulakar phuththskrach 2471 sungidmikaraekikhephimetimaelaprakasichihmhlaykhrngeruxymacnkrathngthungpccubn xyangirkdi idmiprakaskhxngkhnaptiwti chbbthi 299 lngwnthi 12 thnwakhm 2515 prakaschbbni rachbnthitysthanklawwa ihykelikkhwaminbangmatraaehngphrarachbyytinn phrarachbyytiraebiybkharachkartulakar aelaihichkhwamihmaethn sungkhwamihmthiihichaethnnnkrathbkraethuxntxkhwamrusukkhxngbukhkhlepnxnmakinkhnann idkxihekidpyhathangkaremuxng aelamikaraesdngkhwamehnkhdkhanxyangkwangkhwang prakaskhxngkhnaptiwtichbbnncungimmioxkasthicamiphlinthangptibti inwnthi 25 thnwakhm 2515 sphanitibyytiaehngchatiidkrabbngkhmthulihphrabathsmedcphraprminthrmhaphumiphlxdulyedchthrngtraphrarachbyytiykelikprakaskhxngkhnaptiwti chbbthi 299 lngwnthi 12 thnwakhm ph s 2515 ph s 2515 odymatra 2 waihphrarachbyytinimiphlichbngkhbyxnhlngipthungwnthi 13 thnwakhm pinnexng sungepnwnthiprakaskhnaptiwtinnerimmiphlichbngkhb khawa tulakar ni nxkcakichinrachkarsalyutithrrmfaythharaelaphleruxnaelw yngichinthangkhwamsmphnthrahwangpraethsdwyhlayaehng echn insnthisyyakarphanichyaelakaredineruxrahwangpraethsithykbxngkvs ph s 2480 khx 1 3 idklawthungecahnathiaelasuphatulakarinkarrsdakr xngkvs the fiscal authorities and tribunals wiwthnakarkhxngtulakarinthangprawtisastrwiwthnakarkhxngtulakarithy oprddu wiwthnakarkhxngtulakarinthangniruktisastr khawa tralakar khangbnprakxb inkarphicarnaphiphaksaxrrthkhdiaetobrancamiecaphnkngansxngfay khux tralakar hrux tulakar mihnathiphicarnaitswnhakhxethccring aela phuphiphaksa mihnathiihkhaphiphaksaemuxidkhxethccringcaktulakaraelw emuxmikarelikichkdhmaytrasamdwngodypriyay faytulakarksuysinipdwy phuphiphaksacungtxngptibtihnathikhxngtulakarxyangobranxikhnathihnung xyangirkdi txmaphayhlngklbruxkhawa tralakar hrux tulakar khunmaichxik odyihkhwamhmaywaphuphicarnaphiphaksaxrrthkhdiehmuxnxyangphuphiphaksa cnkrathngphayhlngmikdhmaywadwykharachkartulakarkhun cungepnthithaihekhaicxyangtaytwwa inbdnikhwamhmaykhxngkhawa phuphiphaksa kb tulakar epnxyangediywkn cnkrathngtxmamikarcdtngsalrththrrmnuykbsalpkkhrxngkhun odyoxnxanackhxngsalyutithrrmthiekiywkbkhdipkkhrxngaelakartikhwamrththrrmnuyipihkbsalthicdtngihmthngsxngpraephthdngklaw cungmikarkahndinkdhmayxyangchdecnthaihehnidwataaehnng phuphiphaksa nncaichkbsalyutithrrmethann aetsal rththrrmnuykbsalpkkhrxngnn caeriykwa tulakarsalrththrrmnuyaelatulakarsalpkkhrxng karidmaaelakarihphncaktaaehnngsungkharachkartulakar kharachkartulakarni phramhakstriycaidthrngaetngtng eluxntaaehnng hruxthxdthxntamkhaaenanakhxngkhnakrrmkarkharachkartulakar k t ewnaetsahrbtaaehnngphuchwyphuphiphaksaepnxanackhxngprathansaldikaodykhwamehnchxbkhxng k t phuthicaekharbrachkarepnkharachkartulakarcatxngepnphudarngtnxyuinkhwamdingam kbthngtxngmikhunsmbtiaelaimmilksnatxnghamdngtxipni 1 misychatiithyodykaenid 2 mixayuimtakwayisibhapibriburn 3 mikhwameluxmisinkarpkkhrxngrabxbprachathipitydwykhwambrisuththiic 4 epnsmachikaehngentibnthityspha 5 imepnphumi 6 imepnphuxyurahwangthuksngihphkrachkarhruxthuksngihxxkcakrachkariwkxntamkdhmay 7 imekhythuklngothsilxxk pldxxk hruxihxxkcakrachkar hnwynganrthwisahkic hruxhnwynganxunkhxngrth 8 imekhyrbothscakhukodykhaphiphaksathungthisudihcakhuk ewnaetepnkrnisahrbkhwamphidthiidkrathaodypramathhruxkhwamphidlhuoths 9 imepnkhnirkhwamsamarth khnesmuxnirkhwamsamarth khnwiklcrit hruxkhnmicitfnefuxnimsmprakxb 10 immikayphaphhruxcitphaphphikarcnepnehtuihimsmkhwrthicarbrachkar 11 imepnorkhtamthi k t rabuiwinraebiybkhxng k t 12 idphankartrwcrangkayaelacitic aelaidrbkarrbrxngsahrbkartrwcdngklawcakkhnakrrmkaraephthythi k t aetngtngaelw 13 idphankarfukhdepnphuphiphaksamaaelwimnxykwahnungpi khunsmbtiaelalksnatxnghamdngklawniimichbngkhbaekkharachkarthimitaaehnngimtakwaradbpldkrathrwngyutithrrm xykar aelathnaykhwamthiekhywakhwammaaelwimtakwahapi kbthngimichbngkhbaekbukhkhlthimisychatitangdawsungrthbalithyidthasyyawacangmaepnkharachkartulakarithy xanacaelahnathikhxngkharachkartulakar smykxn phuphiphaksaaebngxxkepnsxngchn chnaerkmixanachnathithicaphicarnaaelaphiphaksakhwamxayaxnmiothscakhukimekinkwahkeduxn hruxprbimekinhnungphnbath aelakhwamaephngxnmiothshruxthunthrphyimekinkwahnungphnbath swnchnthisxngmixanachnathithicaxxkhmayhruxsngihcbid thicabngkhbsngtwkhniptangdinaedn thicaxxkhmayhruxmikhasngihkhnkhxngklang thicaxxkhmayeriykkhukhwamaelaphyaninkhdisungtnrbphidchxbxyu thicaphicarnakhdixunidthngpwng pccubn phuphiphaksamixanachnathiesmxknhmdaelw odyphuphiphaksakhnhnungmixanacthicaxxkhmayeriyk hmayxaya hruxhmaysngihsngkhnmahruxipyngekhtid kbthngthicaxxkkhasngid xnmiichepnthangwinicchychikhadkhdikhwam aelamixanachnathiitswnaelawinicchychikhadkhdikhwamthngpwngthitnrbphidchxb tlxdcnitswnaelaxxkkhasngekiywkb thngni aelwaetladbsaldwyxangxingwikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb kharachkarfaytulakar praethsithy rachbnthitysthan 2551 7 kumphaphnth phcnanukrmchbbrachbnthitysthan ph s 2542 xxniln ekhathungidcak http rirs3 royin go th dictionary asp 2009 03 03 thi ewyaebkaemchchin ekhathungemux 17 knyayn 2551 wikrm emalannth 2516 2517 tulakar saranukrmithychbbrachbnthitysthan elm 13 twsngkrant thanan pranburi orngphimphsunykarthharrab hna 8016 8022 phrathrrmnuysalthharbk rtnoksinthrsk 126 ph s 2450 2450 29 thnwakhm rachkiccanuebksa elm 24 xxniln ekhathungidcak http www ratchakitcha soc go th DATA PDF 2450 039 1015 PDF ekhathungemux 17 knyayn 2551 phrabrmrachoxngkarprakascdraebiybrachkarkrathrwngyutithrrm r s 131 ph s 2455 2455 14 emsayn rachkiccanuebksa elm 29 xxniln ekhathungidcak http www ratchakitcha soc go th DATA PDF 2455 A 3 PDF ekhathungemux 17 knyayn 2551 phrarachbyytiraebiybkharachkartulakar phuththskrach 2477 2478 30 emsayn rachkiccanuebksa elm 52 xxniln ekhathungidcak http www ratchakitcha soc go th DATA PDF 2478 A 251 PDF ekhathungemux 17 knyayn 2551 prakaskhxngkhnaptiwti chbbthi 299 lngwnthi 12 thnwakhm 2515 2515 12 thnwakhm rachkiccanuebksa elm 89 txnthi 189 xxniln ekhathungidcak http www ratchakitcha soc go th DATA PDF 2515 A 189 12 PDF ekhathungemux 17 knyayn 2551 phrarachbyytiykelikprakaskhxngkhnaptiwti chbbthi 299 lngwnthi 12 thnwakhm ph s 2515 ph s 2515 2515 26 thnwakhm rachkiccanuebksa elm 29 txnthi 198 xxniln ekhathungidcak http www ratchakitcha soc go th DATA PDF 2515 A 198 231 PDF ekhathungemux 17 knyayn 2551 phrabrmrachoxngkar prakasihichsnthisyyakarphanichyaelakaredineruxrahwangsyamkbxngkvs 2480 19 kumphaphnth rachkiccanuebksa elm 54 xxniln ekhathungidcak http www ratchakitcha soc go th DATA PDF 2480 A 1565 PDF ekhathungemux 17 knyayn 2551 khunsmaharhitakhdi op oprkhupt 2549 minakhm tralakar phcnanukrmkdhmay krungethph wiyyuchn hna 128 129 khunsmaharhitakhdi op oprkhupt 2549 minakhm phuphiphaksa phcnanukrmkdhmay krungethph wiyyuchn hna 221 223 sankngankhnakrrmkarkvsdika 2549 23 mithunayn phrarachbyytiihichphrathrrmnuysalyutithrrm ph s 2543 xxniln ekhathungidcak http www krisdika go th lawHeadPDF jsp formatFile pdf amp hID 0 lingkesiy ekhathungemux 18 knyayn 2551 bthkhwamkdhmayniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldk