บทความนี้ไม่มีจาก |
โวลต์ (สัญลักษณ์ : V) คือหน่วยอนุพัทธ์ในระบบเอสไอของความต่างศักย์ไฟฟ้า ปริมาณที่กำกับด้วยหน่วยโวลต์นั้นคือผลการวัดความเข้มของแหล่งจ่ายไฟฟ้าในแง่ที่ว่าจะสร้างพลังงานได้เท่าใดที่ระดับกระแสค่าหนึ่ง ๆ โวลต์ซึ่งเป็นชื่อของหน่วยนี้ตั้งขึ้นเพื่อเป็นเกียรติแก่ อาเลสซันโดร วอลตา (พ.ศ. 2288–2370) ผู้คิดค้นแบตเตอรี่เคมีชนิดแรกที่เรียกว่า (Voltaic Pile)
โวลต์ | |
---|---|
แผนผังวงจรรวมของอาร์เรย์รอยต่อแบบจอเซฟสัน พัฒนาขึ้นโดยสถาบันมาตรวิทยาและเทคโนโลยีแห่งชาติสหรัฐอเมริกา () ซึ่งถูกใช้เป็นค่าโวลต์มาตรฐาน | |
ข้อมูลทั่วไป | |
ระบบการวัด | หน่วยอนุพัทธ์เอสไอ |
เป็นหน่วยของ | ศักย์ไฟฟ้า, แรงเคลื่อนไฟฟ้า |
สัญลักษณ์ | V |
ตั้งชื่อตาม | อาเลสซานโดร โวลตา |
ในหน่วยฐานเอสไอ: | kg·m2·s−3·A−1 |
โวลต์คือหน่วยที่ใช้เรียกเพื่อบอกขนาดของแรงดันไฟฟ้าในบ้าน เช่น 220 V หมายถึง ขนาดของแรงดันไฟฟ้าเท่ากับ 220 โวลต์ (ประเทศไทยใช้ไฟระบบนี้)
1 โวลต์ (V) = 1,000 มิลลิโวลต์ (mV)
นิยาม
นิยามของโวลต์คือความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่างตัวนำที่มีกระแสผ่านหนึ่งแอมแปร์และสูญเสียหนึ่งวัตต์ ดังนั้นหน่วยโวลต์จึงมีค่าเช่นเดียวกับหน่วยฐานเอสไอ ดังนี้ m2 · kg · s-3 · A-1 อันเท่ากับพลังงานหนึ่งจูลต่อประจุหนึ่งคูลอมบ์ (J/C)
- 1 V = 1 W/A = 1 m2·kg·s–3·A–1
ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2533 เป็นต้นมา หน่วยโวลต์ที่ใช้อ้างอิงสำหรับการวัดในทางปฏิบัติ ได้รับการดูแลในระดับสากลโดยอาศัยอุปกรณ์ที่ทำงานด้วย ซึ่งค่าที่วัดได้จากอุปกรณ์ดังกล่าวจะนำไปเทียบกับ ที่มีการกำหนดค่าตายตัวไว้แล้วในการประชุมนานาชาติว่าด้วยการชั่งตวงวัดครั้งที่ 18 (18th General Conference on Weights and Measures) ซึ่ง
- K{J-90} = 0.4835979 GHz/µV.
หน่วยพหุคูณ
พหุคูณย่อย | พหุคูณใหญ่ | |||||
---|---|---|---|---|---|---|
ค่า | สัญลักษณ์ | ชื่อ | ค่า | สัญลักษณ์ | ชื่อ | |
10–1 V | dV | เดซิโวลต์ | 101 V | daV | เดคาโวลต์ | |
10–2 V | cV | เซนติโวลต์ | 102 V | hV | เฮกโตโวลต์ | |
10–3 V | mV | มิลลิโวลต์ | 103 V | kV | กิโลโวลต์ | |
10–6 V | µV | ไมโครโวลต์ | 106 V | MV | เมกะโวลต์ | |
10–9 V | nV | นาโนโวลต์ | 109 V | GV | จิกะโวลต์ | |
10–12 V | pV | พิโกโวลต์ | 1012 V | TV | เทระโวลต์ | |
10–15 V | fV | เฟมโตโวลต์ | 1015 V | PV | เพตะโวลต์ | |
10–18 V | aV | อัตโตโวลต์ | 1018 V | EV | เอกซะโวลต์ | |
10–21 V | zV | เซปโตโวลต์ | 1021 V | ZV | เซตตะโวลต์ | |
10–24 V | yV | ยอกโตโวลต์ | 1024 V | YV | ยอตตะโวลต์ | |
10−27 V | rV | รอนโตโวลต์ | 1027 V | RV | รอนนาโวลต์ | |
10−30 V | qV | เควกโตโวลต์ | 1030 V | QV | เควตตาโวลต์ | |
หน่วยที่นิยมใช้แสดงเป็นตัวหนา |
เครื่องมือวัดไฟฟ้า
โวลต์มิเตอร์ เครื่องมือวัดไฟฟ้า
คือ เครื่องมือวัดไฟฟ้า ที่ใช้วัดแรงดันไฟฟ้าระหว่างจุด 2 จุด ในวงจรความต้านทานภายในของเครื่องโวลต์มิเตอร์มีค่าสูง วิธีใช้ต้องต่อขนานกับวงจรเครื่องมือที่ใช้วัดค่าความต่างศักย์ในวงจรไฟฟ้า ค่าที่วัดได้มีหน่วย โวลต์ (V) โวลต์มิเตอร์ เป็นเครื่องมือที่ดัดแปลงมากจาก โดยต่อความต้านทาน แบบอนุกรม กับแกลแวนอมิเตอร์ และใช้วัดความต่างศักย์ในวงจรโดยต่อแบบขนานกับวงจรที่ต้องการวัด
- โวลต์มิเตอร์ที่สร้างขึ้นมาเพื่อใช้วัดแรงดันไฟฟ้า ระหว่างจุดสองจุด ในวงจร ความจริงแล้วโวลต์มิเตอร์ก็คือนั่นเอง เพราะขณะวัดแรงดันไฟฟ้าในวงจร หรือแหล่ง จ่ายแรงดันจะต้องมี กระแสไฟฟ้าไหลผ่านมิเตอร์จึงทำให้เข็มมิเตอร์บ่ายเบนไป และการที่กระแสไฟฟ้าจะไหล ผ่าน เข้าโวลต์มิเตอร์ได้ ก็ต้องมี แรงดันไฟฟ้าป้อนเข้ามา นั่นเองกระแสไฟฟ้าและแรงดันไฟฟ้ามีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน กระแสไฟฟ้าไหลได้มากน้อยถ้า จ่ายแรงดันไฟฟ้าเข้ามาน้อย กระแสไฟฟ้าไหลน้อย เข็มชี้บ่ายเบนไปน้อยถ้าจ่าย แรงดันไฟฟ้าเข้ามามาก กระแสไฟฟ้าไหลมาก เข็มชี้บ่ายเบนไปมาก การวัด แรงดันไฟฟ้าด้วยโวลต์มิเตอร์
- โวลต์มิเตอร์สร้างขึ้นมาเพื่อวัดค่าความแรงดันไฟฟ้าของแหล่งจ่ายแรงดัน หรือวัดค่าแรงดันไฟฟ้าตกคร่อม ระหว่างจุดสองจุดในวงจร การวัดแรงดันไฟฟ้าด้วย โวลต์มิเตอร์ เหมือนกับการวัดความดันของน้ำในท่อส่ง น้ำด้วยเกจ วัดความดัน โดยต้องต่อท่อเพิ่มจากท่อเดิมไปยังเกจวัดในทำนองเดียวกัน กับการวัดแรงดันไฟฟ้า ใน วงจร ต้องใช้โวลต์มิเตอร์ไปต่อขนานกับจุดวัดในตำแหน่งที่ต้องการวัด เสมอ
การใช้โวลต์มิเตอร์
เมื่อพิจารณาถ่านไฟฉายขนาด 1.5 โวลต์ หรือแบตเตอรี่รถยนต์ 12 โวลต์ หมายถึง ถ่านไฟฉายมีแรงเคลื่อนไฟฟ้า 1.5 โวลต์ หรือ แบตเตอรี่รถยนต์มีแรงเคลื่อนไฟฟ้า 12 โวลต์ แรงเคลื่อนไฟฟ้าหรือแรงดันไฟฟ้า หมายถึง พลังงานไฟฟ้าที่เซลล์ไฟฟ้าจ่ายให้กระแสไฟฟ้าที่เคลื่อนที่ตลอดวงจรไฟฟ้า การวัดความต่างศักย์ระหว่างจุด 2 จุด ในวงจรไฟฟ้า เรานิยมใช้เครื่องมือที่เรียกว่า โวลต์มิเตอร์ โดยมีหน่วยวัด คือ โวลต์ เมื่อเราต้องการวัดแรงดันระหว่างจุด 2 จุดใด ๆ ในวงจรไฟฟ้า เราสามารถทำได้ด้วยการนำโวลต์มิเตอร์ต่อคร่อมระหว่างจุด 2 จุดนั้น ๆ เราเรียกการต่อลักษณะนี้ว่าการต่อแบบขนาน
การใช้โวลต์มิเตอร์ก็เช่นเดียวกับแอมมิเตอร์ ซึ่งมี 2 แบบคือ ใช้กับไฟฟ้ากระแสตรงและไฟฟ้ากระแสสลับ เมื่อต้องการใช้โวลต์มิเตอร์วัดความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่าง จุด 2 จุด ในวงจรไฟฟ้ากระแสตรง จะต้องคำนึงถึงขั้วบวกและขั้วลบด้วย โดยต่อขั้วบวกของโวลต์มิเตอร์เข้ากับขั้วบวกของวงจร และต่อขั้วลบของโวลต์มิเตอร์เข้ากับขั้วลบของวงจร
สำหรับการวัดความต่างศักย์ไฟฟ้าในวงจรที่มีแหล่งจ่ายไฟฟ้าแบบกระแสสลับ เช่น ไฟฟ้าจากเต้ารับภายในบ้าน โดยใช้โวลต์มิเตอร์แบบเข็มชนิดขดลวดเคลื่อนที่และแม่เหล็กถาวร ไฟฟ้ากระแสสลับต้องถูกแปลงไปเป็นไฟฟ้ากระแสตรงก่อนด้วยวงจรเรียงกระแส (rectifier) แล้วจึงนำไฟฟ้ากระแสตรงนั้นไปวัดความต่างศักย์ไฟฟ้ากับโวลต์มิเตอร์ ส่วนมากแล้วใน (multimeter) จะมีการทำวงจรเรียงกระแสมาในตัวอยู่แล้ว
การที่กระแสไฟฟ้าไหลอันเนื่องมาจากความต่างศักย์ไฟฟ้าที่เกิดขึ้นที่ขั้วของแหล่งกำเนิดไฟฟ้าแต่ละชนิดก็จะไม่เท่ากัน เช่น ถ่านไฟฉายมีความต่างศักย์ไฟฟ้าประมาณ 1.5 โวลต์ แบตเตอรี่รถยนต์มีความต่างศักย์ไฟฟ้า 12 โวลต์ ส่วนสายไฟภายในบ้านมีความต่างศักย์ไฟฟ้าประมาณ 220 โวลต์ทั้งนี้ถ้าความต่างศักย์ไฟฟ้ามีค่ามากขึ้นระดับพลังงานไฟฟ้าก็จะมากขึ้นด้วย ซึ่งจะมีผลและเป็นอันตรายต่อชีวิตของมนุษย์มากขึ้นด้วยเช่นกัน
อ้างอิง
- https://tungelectronic.wordpress.com/tag/%E0%B9%82%E0%B8%A7%E0%B8%A5%E0%B8%95%E0%B9%8C%E0%B8%A1%E0%B8%B4%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C/
- https://tungelectronic.wordpress.com/tag/%E0%B9%82%E0%B8%A7%E0%B8%A5%E0%B8%95%E0%B9%8C%E0%B8%A1%E0%B8%B4%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C/
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir owlt sylksn V khuxhnwyxnuphththinrabbexsixkhxngkhwamtangskyiffa primanthikakbdwyhnwyowltnnkhuxphlkarwdkhwamekhmkhxngaehlngcayiffainaengthiwacasrangphlngnganidethaidthiradbkraaeskhahnung owltsungepnchuxkhxnghnwynitngkhunephuxepnekiyrtiaek xaelssnodr wxlta ph s 2288 2370 phukhidkhnaebtetxriekhmichnidaerkthieriykwa Voltaic Pile owltaephnphngwngcrrwmkhxngxareryrxytxaebbcxesfsn phthnakhunodysthabnmatrwithyaaelaethkhonolyiaehngchatishrthxemrika sungthukichepnkhaowltmatrthankhxmulthwiprabbkarwdhnwyxnuphththexsixepnhnwykhxngskyiffa aerngekhluxniffasylksnV tngchuxtamxaelssanodr owltainhnwythanexsix kg m2 s 3 A 1 owltkhuxhnwythiicheriykephuxbxkkhnadkhxngaerngdniffainban echn 220 V hmaythung khnadkhxngaerngdniffaethakb 220 owlt praethsithyichifrabbni 1 owlt V 1 000 milliowlt mV niyamniyamkhxngowltkhuxkhwamtangskyiffarahwangtwnathimikraaesphanhnungaexmaepraelasuyesiyhnungwtt dngnnhnwyowltcungmikhaechnediywkbhnwythanexsix dngni m2 kg s 3 A 1 xnethakbphlngnganhnungcultxpracuhnungkhulxmb J C 1 V 1 W A 1 m2 kg s 3 A 1 tngaetpi ph s 2533 epntnma hnwyowltthiichxangxingsahrbkarwdinthangptibti idrbkarduaelinradbsaklodyxasyxupkrnthithangandwy sungkhathiwdidcakxupkrndngklawcanaipethiybkb thimikarkahndkhataytwiwaelwinkarprachumnanachatiwadwykarchngtwngwdkhrngthi 18 18th General Conference on Weights and Measures sung K J 90 0 4835979 GHz µV hnwyphhukhunphhukhunexsixsahrbhnwyowlt V phhukhunyxy phhukhunihykha sylksn chux kha sylksn chux10 1 V dV edsiowlt 101 V daV edkhaowlt10 2 V cV esntiowlt 102 V hV ehkotowlt10 3 V mV milliowlt 103 V kV kiolowlt10 6 V µV imokhrowlt 106 V MV emkaowlt10 9 V nV naonowlt 109 V GV cikaowlt10 12 V pV phiokowlt 1012 V TV ethraowlt10 15 V fV efmotowlt 1015 V PV ephtaowlt10 18 V aV xtotowlt 1018 V EV exksaowlt10 21 V zV espotowlt 1021 V ZV esttaowlt10 24 V yV yxkotowlt 1024 V YV yxttaowlt10 27 V rV rxnotowlt 1027 V RV rxnnaowlt10 30 V qV ekhwkotowlt 1030 V QV ekhwttaowlthnwythiniymichaesdngepntwhnaekhruxngmuxwdiffaowltmietxr ekhruxngmuxwdiffa khux ekhruxngmuxwdiffa thiichwdaerngdniffarahwangcud 2 cud inwngcrkhwamtanthanphayinkhxngekhruxngowltmietxrmikhasung withiichtxngtxkhnankbwngcrekhruxngmuxthiichwdkhakhwamtangskyinwngcriffa khathiwdidmihnwy owlt V owltmietxr epnekhruxngmuxthiddaeplngmakcak odytxkhwamtanthan aebbxnukrm kbaeklaewnxmietxr aelaichwdkhwamtangskyinwngcrodytxaebbkhnankbwngcrthitxngkarwd owltmietxrthisrangkhunmaephuxichwdaerngdniffa rahwangcudsxngcud inwngcr khwamcringaelwowltmietxrkkhuxnnexng ephraakhnawdaerngdniffainwngcr hruxaehlng cayaerngdncatxngmi kraaesiffaihlphanmietxrcungthaihekhmmietxrbayebnip aelakarthikraaesiffacaihl phan ekhaowltmietxrid ktxngmi aerngdniffapxnekhama nnexngkraaesiffaaelaaerngdniffamikhwamsmphnthsungknaelakn kraaesiffaihlidmaknxytha cayaerngdniffaekhamanxy kraaesiffaihlnxy ekhmchibayebnipnxythacay aerngdniffaekhamamak kraaesiffaihlmak ekhmchibayebnipmak karwd aerngdniffadwyowltmietxrowltmietxrsrangkhunmaephuxwdkhakhwamaerngdniffakhxngaehlngcayaerngdn hruxwdkhaaerngdniffatkkhrxm rahwangcudsxngcudinwngcr karwdaerngdniffadwy owltmietxr ehmuxnkbkarwdkhwamdnkhxngnainthxsng nadwyekc wdkhwamdn odytxngtxthxephimcakthxedimipyngekcwdinthanxngediywkn kbkarwdaerngdniffa in wngcr txngichowltmietxriptxkhnankbcudwdintaaehnngthitxngkarwd esmxkarichowltmietxr emuxphicarnathanifchaykhnad 1 5 owlt hruxaebtetxrirthynt 12 owlt hmaythung thanifchaymiaerngekhluxniffa 1 5 owlt hrux aebtetxrirthyntmiaerngekhluxniffa 12 owlt aerngekhluxniffahruxaerngdniffa hmaythung phlngnganiffathieslliffacayihkraaesiffathiekhluxnthitlxdwngcriffa karwdkhwamtangskyrahwangcud 2 cud inwngcriffa eraniymichekhruxngmuxthieriykwa owltmietxr odymihnwywd khux owlt emuxeratxngkarwdaerngdnrahwangcud 2 cudid inwngcriffa erasamarththaiddwykarnaowltmietxrtxkhrxmrahwangcud 2 cudnn eraeriykkartxlksnaniwakartxaebbkhnan karichowltmietxrkechnediywkbaexmmietxr sungmi 2 aebbkhux ichkbiffakraaestrngaelaiffakraaesslb emuxtxngkarichowltmietxrwdkhwamtangskyiffarahwang cud 2 cud inwngcriffakraaestrng catxngkhanungthungkhwbwkaelakhwlbdwy odytxkhwbwkkhxngowltmietxrekhakbkhwbwkkhxngwngcr aelatxkhwlbkhxngowltmietxrekhakbkhwlbkhxngwngcr sahrbkarwdkhwamtangskyiffainwngcrthimiaehlngcayiffaaebbkraaesslb echn iffacaketarbphayinban odyichowltmietxraebbekhmchnidkhdlwdekhluxnthiaelaaemehlkthawr iffakraaesslbtxngthukaeplngipepniffakraaestrngkxndwywngcreriyngkraaes rectifier aelwcungnaiffakraaestrngnnipwdkhwamtangskyiffakbowltmietxr swnmakaelwin multimeter camikarthawngcreriyngkraaesmaintwxyuaelw karthikraaesiffaihlxnenuxngmacakkhwamtangskyiffathiekidkhunthikhwkhxngaehlngkaenidiffaaetlachnidkcaimethakn echn thanifchaymikhwamtangskyiffapraman 1 5 owlt aebtetxrirthyntmikhwamtangskyiffa 12 owlt swnsayifphayinbanmikhwamtangskyiffapraman 220 owltthngnithakhwamtangskyiffamikhamakkhunradbphlngnganiffakcamakkhundwy sungcamiphlaelaepnxntraytxchiwitkhxngmnusymakkhundwyechnknxangxinghttps tungelectronic wordpress com tag E0 B9 82 E0 B8 A7 E0 B8 A5 E0 B8 95 E0 B9 8C E0 B8 A1 E0 B8 B4 E0 B9 80 E0 B8 95 E0 B8 AD E0 B8 A3 E0 B9 8C https tungelectronic wordpress com tag E0 B9 82 E0 B8 A7 E0 B8 A5 E0 B8 95 E0 B9 8C E0 B8 A1 E0 B8 B4 E0 B9 80 E0 B8 95 E0 B8 AD E0 B8 A3 E0 B9 8C bthkhwamfisiksniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldk