การโอนมาเป็นของรัฐ (อังกฤษ: nationalization หรือ nationalisation) คือกระบวนการแปลงทรัพย์สินของเอกชนมาเป็นของรัฐบาล โดยทำให้เป็นกรรมสิทธิ์ของรัฐบาลระดับชาติหรือรัฐ ซึ่งมักจะหมายถึงการที่ทรัพย์สินถูกถ่ายโอนจากภาคเอกชนหรือหน่วยราชการระดับล่าง เช่น เทศบาล มาเป็นของหน่วยราชการระดับที่ใหญ่กว่าอย่างรัฐบาล การโอนมาเป็นของรัฐมีความหมายตรงข้ามกับการโอนกิจการของรัฐเป็นของเอกชน (privatization) การโอนมาเป็นของเทศบาล (municipalization) และการแปรรูปตลาดหลักทรัพย์ (demutualization) ทั้งนี้การถ่ายโอนทรัพย์สินของรัฐที่เคยแปรรูปเป็นของเอกชนไปแล้วแต่ภายหลังได้โอนกลับมาเป็นของรัฐอีกครั้งหนึ่งจะเรียกว่า การโอนกลับมาเป็นของรัฐ (อังกฤษ: renationalization หรือ renationalisation) ซึ่งอุตสาหกรรมที่มักจะตกเป็นเป้าของการโอนมาเป็นของรัฐได้แก่ การขนส่ง การสื่อสาร พลังงาน ธนาคาร และทรัพยากรธรรมชาติ
รัฐอาจโอนทรัพย์สินกลับมาเป็นของตนโดยไม่จ่ายค่าชดเชยต่อผู้ครอบครองรายก่อนหน้าก็ได้ ทั้งนี้การโอนดังกล่าวแตกต่างจากการกระจายทรัพย์สิน (property redistribution) ตรงที่รัฐยังคงเป็นเจ้าของและมีอำนาจควบคุมในทรัพย์สินดังกล่าวอยู่ ในบางครั้งรัฐจะทำการโอนทรัพย์สินที่ยึดมาจากการทำผิดกฎหมายมาเป็นของตนได้ด้วยเช่นกัน ตัวอย่างคือในปี ค.ศ. 1945 รัฐบาลฝรั่งเศสยึดกิจการของบริษัทผู้ผลิตรถยนต์ เรอโนลต์ เนื่องจากให้ความร่วมมือกับนาซีเยอรมนี ซึ่งเป็นผู้ยึดครองฝรั่งเศสในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง
นอกจากนี้การโอนมาเป็นของรัฐยังแตกต่างจาก "การโอนมาเป็นของสังคม" (socialization) ซึ่งใช้หมายถึงกระบวนการปรับเปลี่ยนกรอบแนวคิดทางเศรษฐศาสตร์ โครงสร้างองค์กร และสถาบันทางเศรษฐกิจ ให้เป็นไปในแนวทางสังคมนิยม ในทางกลับกันการโอนกิจการมาเป็นของรัฐไม่ได้หมายความว่าจำเป็นจะต้องให้สังคมมารวมเป็นเจ้าของในสินทรัพย์ที่ได้มาหรือต้องมีการปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจ และกระบวนการดังกล่าวไม่มีความเกี่ยวข้องกับแนวคิดสังคมนิยมแต่ประการใด โดยในประวัติศาสตร์สามารถเกิดขึ้นจากหลายสาเหตุภายใต้และระบบเศรษฐกิจที่แตกต่างกันไปหลายแบบ อย่างไรก็ตาม การโอนกิจการมาเป็นของรัฐในกรณีส่วนมากมักจะถูกต่อต้านโดยนักทุนนิยมเสรี (เลเซแฟร์) เนื่องจากมองว่าเป็นการแทรกแซงและควบคุมกิจกรรมทางเศรษฐกิจของประชาชนแต่ละปัจเจกบุคคลที่มากเกินความจำเป็น
ภาพรวม
อุตสาหกรรมที่ถูกโอนมาเป็นของรัฐอาจถูกสังคมและการเมืองกดดันอย่างมากให้ใส่ใจต่อผลกระทบภายนอกมากขึ้น และอาจยินยอมดำเนินธุรกิจทั้ง ๆ ที่ทำให้มีผลขาดทุน เนื่องจากมองว่าผลประโยชน์ของสังคมต้องมาก่อนต้นทุนทางธุรกิจ เช่น บริการขนส่งและไปรษณีย์ในถิ่นทุรกันดาร เป็นต้น ส่วนรัฐบาลก็อาจตระหนักถึงภารกิจด้านสังคมเหล่านี้ และในบางกรณีได้ร่วมสมทบเงินทุน (อุดหนุนราคา) เพื่อให้มีบริการที่ไม่ใช่เชิงพาณิชย์ (ไม่ใช่เพื่อกำไร) อยู่ต่อไป
เนื่องจากอุตสาหกรรมที่โอนมาเหล่านี้มีรัฐเป็นผู้ครอบครอง จึงเป็นความรับผิดชอบของรัฐบาลต่อหนี้สินใด ๆ ก็ตามที่อุตสาหกรรมนั้นมีอยู่ ทั้งนี้อุตสาหกรรมดังกล่าวไม่นิยมกู้ยืมหนี้สินจากแหล่งเงินทุนภายในประเทศ เว้นแต่ว่าเป็นการกู้ยืมระยะสั้นเท่านั้น และถ้าหากมีผลประกอบการเป็นกำไรก็มักจะนำไปช่วยเหลือหรืออุดหนุนบริการของรัฐในด้านอื่น ๆ เช่น โครงการสวัสดิการสังคมหรืองานวิจัยของรัฐ เป็นต้น ซึ่งจะช่วยลดภาระงบประมาณที่ต้องจัดหามาจากการเก็บภาษีลง
การชดเชย
จุดยืนต่อการเรียกร้องค่าชดเชยของโลกตะวันตกในแบบฉบับดั้งเดิมคือในกรณีการยึดอุตสาหกรรมปิโตรเลียมมาเป็นของรัฐบาลเม็กซิโก ค.ศ. 1938 เมื่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐอเมริกา คอร์เดลล์ ฮัลล์ เรียกร้องว่าการชดเชยควรจะ "รวดเร็ว เพียงพอ และมีประสิทธิผล" จากมุมมองนี้ รัฐบาลที่ทำการโอนกิจการมาเป็นของตนจึงมีภาระผูกพันต่อกฎหมายระหว่างประเทศให้ต้องจ่ายค่าชดเชยแก่คู่กรณีที่ถูกรอนสิทธิ์ด้วยมูลค่าเต็มของทรัพย์สินที่ถูกโอนมานั้น ซึ่งบรรดาประเทศกำลังพัฒนาส่วนมากต่างพากันต่อต้านแนวคิดนี้ โดยอ้างว่าปัญหาการจ่ายค่าชดเชยควรขึ้นอยู่กับการตัดสินใจของรัฐอธิปไตยแต่ละแห่งล้วน ๆ ตามแนวทางในลัทธิกัลโบ
ด้านประเทศสังคมนิยมหลายแห่งก็มองว่าไม่มีความจำเป็นที่จะต้องจ่ายค่าชดเชยใด ๆ เนื่องจากมีแนวคิดที่ว่าการครอบครองส่วนบุคคล (private ownership) เป็นเรื่องที่ผิดกฎหมาย เป็นการแสวงหาประโยชน์ และเป็นอุปสรรคต่อตัฒนการทางเศรษฐกิจในภายภาคหน้า
ในปี ค.ศ. 1962 สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติออกมติที่ 1803 "อธิปไตยถาวรเหนือทรัพยกรธรรมชาติ" (Permanent Sovereignty over National Resources) โดยระบุว่าเมื่อเกิดการโอนกิจการมาเป็นของรัฐขึ้น ผู้ครอบครองทรัพย์สินนั้น "จะต้องจ่ายค่าชดเชยที่เหมาะสมสอดคล้องกับกฎหมายระหว่างประเทศ" เท่ากับว่าสหประชาชาติปฏิเสธมุมมองของฝ่ายคอมมิวนิสต์และฝ่ายผู้สนับสนุนลัทธิกัลโบ ทั้งนี้คำว่า "ค่าชดเชยที่เหมาะสม" ใช้เป็นตัวแทนของการประณีประนอมระหว่างมุมมองแบบดั้งเดิมที่ใส่ใจต่อความจำเป็นของประเทศกำลังพัฒนาที่ต้องดำเนินการปฏิรูปแม้ว่าจะไม่สามารถจ่ายค่าชดเชยได้เต็มจำนวน กับความกังวลของโลกตะวันตกในประเด็นความคุ้มครอต่อทรัพย์สินส่วนบุคคล
ในสหรัฐอเมริกา บทบัญญัติแก้ไขรัฐธรรมนูญครั้งที่ห้า (Fifth Amendment) กำหนดว่าจะต้องมีการจ่ายค่าชดเชยในกรณีที่ทรัพย์สินส่วนบุคคล (หรือเอกชน) ถูกนำไปใช้ในกิจสาธารณะ
การสนับสนุนทางการเมือง
การโอนมาเป็นของรัฐถือเป็นหนึ่งในกลไกหลักที่นักปฏิรูปฝ่ายสังคมนิยมและนักสังคมประชาธิปไตยใช้ในการเปลี่ยนผ่านไปสู่ระบบสังคมนิยมแบบค่อยเป็นค่อยไป ในบริบทนี้การโอนทรัพย์สินดังกล่าวมีจุดประสงค์เพื่อลิดรอนสิทธิครอบครองของนายทุนรายใหญ่ และเพื่อถ่ายโอนกำไรจากอุตสาหกรรมมาเป็นของสาธารณะส่วนรวม รวมถึงเพื่อก่อตั้งระบบการจัดการด้วยตนเองของชนชั้นแรงงาน (workers' self-management) อันจะนำไปสู่การสถานาระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยมในที่สุด
ในสหราชอาณาจักรช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่สอง พรรคแรงงานและพรรคการเมืองแนวสังคมประชาธิปไตยทั่วยุโรปบางส่วนสนับสนุนให้มีการโอนกิจการมาเป็นของรัฐ เพื่อใช้เป็นกลไกในการปกป้องและพัฒนาอุตสาหกรรมที่ถือว่าสำคัญต่อความสามารถในการแข่งขันของประเทศ เช่น อุตสาหกรรมผลิตเครื่องบินและอุตสาหกรรมต่อเรือ เป็นต้น หรือเพื่อปกป้องตำแหน่งงานในบางอุตสาหกรรมโดยเฉพาะ แม้ว่าบางครั้งการโอนกิจการมาเป็นของรัฐนี้จะเป็นส่วนหนึ่งของยุทธศาสตร์ในการสร้างระบบสังคมนิยมขึ้นมาก็ตาม
การโอนกิจการจากเอกชนกลับมาเป็นของรัฐอีกครั้งเกิดขึ้นเมื่อกิจการที่รัฐเคยแปรรูปไปเป็นของเอกชนแล้วภายหลังได้โอนกลับมาเป็นของรัฐอีกครั้งหนึ่ง ซึ่งมักจะเกิดจากพรรคการเมืองหรือขั้วอำนาจทางการเมืองอีกฝ่ายที่ขึ้นมามีอำนาจในภายหลังย้อนการกระทำหรือการตัดสินใจของผู้มีอำนาจชุดก่อน การโอนกิจการกลับมาเช่นนี้อาจเรียกว่าเป็น "การโอนกิจการของรัฐเป็นของเอกชนแบบสวนทาง" (reverse privatization) ทั้งนี้คำว่าการโอนกิจการมาเป็นของรัฐถูกใช้หมายถึงทั้งการที่รัฐเข้าไปจัดการหรือครอบครองกิจการใด ๆ โดยตรง และการที่รัฐบาลเข้าไปถือหุ้นของบริษัทมหาชน (บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์) ในจำนวนที่มากพอจนได้อำนาจควบคุมกิจการนั้น[]
อ้างอิง
- อ้างอิงจากคำที่ใช้ในเอกสารแนบท้าย (ข้อ 3.1) ของประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 56/2558 เมื่อวันที่ 21 กันยายน พ.ศ. 2558 ซึ่งประกาศไว้ในราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2558
- http://www.merriam-webster.com/dictionary/nationalization
- อ้างอิงจากคำที่ใช้ในบทความข่าวของหนังสือพิมพ์ไทยรัฐ เลิกแปรรูปตลาดหุ้น โดยลม เปลี่ยนทิศ วันที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2555
- Chrisafis, Angelique (December 14, 2011). "Renault descendants demand payout for state confiscation". The Guardian. London.
- Hastings, Mason and Pyper, Adrian, Alistair and Hugh (December 21, 2000). The Oxford Companion to Christian Thought. Oxford University Press. p. 677. ISBN .
At the heart of its vision has been social or common ownership of the means of production. Common ownership and democratic control of these was far more central to the thought of the early socialists than state control or nationalization, which developed later...Nationalization in itself has nothing particularly to do with socialism and has existed under non-socialist and anti-socialist regimes. Kautsky in 1891 pointed out that a ‘co-operative commonwealth’ could not be the result of the ‘general nationalization of all industries’ unless there was a change in ‘the character of the state’.
- The Economics of Feasible Socialism Revisited, by Nove, Alexander. 1991. (P.176): "Nationalisation arouses no enthusiasm, in the minds of most socialists and anti-socialists. It would probably be agreed that hopes which reposed on nationalisation have been disappointed. Conservatives hold that this is due to defects inherent in nationalisation, that private enterprise based on private ownership is inherently superior. (Mrs Thatcher’s government tried to ensure that this was so by preventing essential investments and ordering the nationalized industries to sell off their more successful undertakings.)...The original notion was that nationalization would achieve three objectives. One was to dispossess the big capitalists. The second was to divert the profits from private appropriation to the public purse. Thirdly, the nationalized sector would serve the public good rather than try to make private profits...To these objectives some (but not all) would add some sort of workers' control, the accountability of management to employees."
บรรณานุกรม
การโอนกิจการธนาคารเป็นของรัฐ
- Carter Dougherty, Stopping a Financial Crisis, the Swedish Way, The New York Times," September 23, 2008.
- Rudolf Hilferding (1981) Finance Capital: A Study of the Latest Phase of Capitalist Development (London: Routledge & Kegan Paul), p. 234. ,
- Rafael La Porta, Florencio Lopez-de-Silanes, Andrei Shleifer, Government Ownership of Banks, The Journal of Finance, vol. 57, No. 1 (February 2002), 265-301.
- La Botz, Dan (2008) The Financial Crisis: Will the U.S. Nationalize the Banks? 28 September 2008
- Vladimir Lenin (1917) Nationalisation of the Banks, published in October 1917 in pamphlet form
- Steve Lohr, From Japan's Slump in 1990s, Lessons for U.S., The New York Times, February 9, 2008.
- Sylvia Maxfield, The International Political Economy of Bank Nationalization: Mexico in Comparative Perspective, Latin American Research Review, Vol. 27, No. 1 (1992), pp. 75–103.
- Margaret G. Myers, The Nationalization of Banks in France, Political Science Quarterly, Vol. 64, No. 2 (June 1949), pp. 189–210.
- Political / Nationalization risk resources directory 2012-08-01 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน [www.ipoliticalrisk.com]
แหล่งข้อมูลอื่น
- The importance of public banking 2010-08-25 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน - บทความเกี่ยวกับธนาคารของรัฐในอินเดีย (อังกฤษ)
- Time for Permanent Nationalization - บทความโดยนักเศรษฐศาสตร์ เฟรด มอสลีย์ ในนิตยสาร ดอลลาร์แอนด์เซนส์ ฉบับเดือนมกราคม/กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2009 (อังกฤษ)
- The Corporate Governance of Banks - a concise discussion of concepts and evidence (อังกฤษ)
- Nationalization - ความหมายในสารานุกรมบริตานิกา (อังกฤษ)
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamnixangxingkhristskrach khristthswrrs khriststwrrs sungepnsarasakhykhxngenuxha karoxnmaepnkhxngrth xngkvs nationalization hrux nationalisation khuxkrabwnkaraeplngthrphysinkhxngexkchnmaepnkhxngrthbal odythaihepnkrrmsiththikhxngrthbalradbchatihruxrth sungmkcahmaythungkarthithrphysinthukthayoxncakphakhexkchnhruxhnwyrachkarradblang echn ethsbal maepnkhxnghnwyrachkarradbthiihykwaxyangrthbal karoxnmaepnkhxngrthmikhwamhmaytrngkhamkbkaroxnkickarkhxngrthepnkhxngexkchn privatization karoxnmaepnkhxngethsbal municipalization aelakaraeprruptladhlkthrphy demutualization thngnikarthayoxnthrphysinkhxngrththiekhyaeprrupepnkhxngexkchnipaelwaetphayhlngidoxnklbmaepnkhxngrthxikkhrnghnungcaeriykwa karoxnklbmaepnkhxngrth xngkvs renationalization hrux renationalisation sungxutsahkrrmthimkcatkepnepakhxngkaroxnmaepnkhxngrthidaek karkhnsng karsuxsar phlngngan thnakhar aelathrphyakrthrrmchati rthxacoxnthrphysinklbmaepnkhxngtnodyimcaykhachdechytxphukhrxbkhrxngraykxnhnakid thngnikaroxndngklawaetktangcakkarkracaythrphysin property redistribution trngthirthyngkhngepnecakhxngaelamixanackhwbkhuminthrphysindngklawxyu inbangkhrngrthcathakaroxnthrphysinthiyudmacakkarthaphidkdhmaymaepnkhxngtniddwyechnkn twxyangkhuxinpi kh s 1945 rthbalfrngessyudkickarkhxngbristhphuphlitrthynt erxonlt enuxngcakihkhwamrwmmuxkbnasieyxrmni sungepnphuyudkhrxngfrngessinchwngsngkhramolkkhrngthisxng nxkcaknikaroxnmaepnkhxngrthyngaetktangcak karoxnmaepnkhxngsngkhm socialization sungichhmaythungkrabwnkarprbepliynkrxbaenwkhidthangesrsthsastr okhrngsrangxngkhkr aelasthabnthangesrsthkic ihepnipinaenwthangsngkhmniym inthangklbknkaroxnkickarmaepnkhxngrthimidhmaykhwamwacaepncatxngihsngkhmmarwmepnecakhxnginsinthrphythiidmahruxtxngmikarprbokhrngsrangthangesrsthkic aelakrabwnkardngklawimmikhwamekiywkhxngkbaenwkhidsngkhmniymaetprakarid odyinprawtisastrsamarthekidkhuncakhlaysaehtuphayitaelarabbesrsthkicthiaetktangkniphlayaebb xyangirktam karoxnkickarmaepnkhxngrthinkrniswnmakmkcathuktxtanodynkthunniymesri elesaefr enuxngcakmxngwaepnkaraethrkaesngaelakhwbkhumkickrrmthangesrsthkickhxngprachachnaetlapceckbukhkhlthimakekinkhwamcaepnphaphrwmxutsahkrrmthithukoxnmaepnkhxngrthxacthuksngkhmaelakaremuxngkddnxyangmakihisictxphlkrathbphaynxkmakkhun aelaxacyinyxmdaeninthurkicthng thithaihmiphlkhadthun enuxngcakmxngwaphlpraoychnkhxngsngkhmtxngmakxntnthunthangthurkic echn brikarkhnsngaelaiprsniyinthinthurkndar epntn swnrthbalkxactrahnkthungpharkicdansngkhmehlani aelainbangkrniidrwmsmthbenginthun xudhnunrakha ephuxihmibrikarthiimichechingphanichy imichephuxkair xyutxip enuxngcakxutsahkrrmthioxnmaehlanimirthepnphukhrxbkhrxng cungepnkhwamrbphidchxbkhxngrthbaltxhnisinid ktamthixutsahkrrmnnmixyu thngnixutsahkrrmdngklawimniymkuyumhnisincakaehlngenginthunphayinpraeths ewnaetwaepnkarkuyumrayasnethann aelathahakmiphlprakxbkarepnkairkmkcanaipchwyehluxhruxxudhnunbrikarkhxngrthindanxun echn okhrngkarswsdikarsngkhmhruxnganwicykhxngrth epntn sungcachwyldpharangbpramanthitxngcdhamacakkarekbphasilng karchdechy cudyuntxkareriykrxngkhachdechykhxngolktawntkinaebbchbbdngedimkhuxinkrnikaryudxutsahkrrmpiotreliymmaepnkhxngrthbalemksiok kh s 1938 emuxrthmntriwakarkrathrwngkartangpraethsshrthxemrika khxredll hll eriykrxngwakarchdechykhwrca rwderw ephiyngphx aelamiprasiththiphl cakmummxngni rthbalthithakaroxnkickarmaepnkhxngtncungmipharaphukphntxkdhmayrahwangpraethsihtxngcaykhachdechyaekkhukrnithithukrxnsiththidwymulkhaetmkhxngthrphysinthithukoxnmann sungbrrdapraethskalngphthnaswnmaktangphakntxtanaenwkhidni odyxangwapyhakarcaykhachdechykhwrkhunxyukbkartdsinickhxngrthxthipityaetlaaehnglwn tamaenwthanginlththiklob danpraethssngkhmniymhlayaehngkmxngwaimmikhwamcaepnthicatxngcaykhachdechyid enuxngcakmiaenwkhidthiwakarkhrxbkhrxngswnbukhkhl private ownership epneruxngthiphidkdhmay epnkaraeswnghapraoychn aelaepnxupsrrkhtxtthnkarthangesrsthkicinphayphakhhna inpi kh s 1962 smchchaihyaehngshprachachatixxkmtithi 1803 xthipitythawrehnuxthrphykrthrrmchati Permanent Sovereignty over National Resources odyrabuwaemuxekidkaroxnkickarmaepnkhxngrthkhun phukhrxbkhrxngthrphysinnn catxngcaykhachdechythiehmaasmsxdkhlxngkbkdhmayrahwangpraeths ethakbwashprachachatiptiesthmummxngkhxngfaykhxmmiwnistaelafayphusnbsnunlththiklob thngnikhawa khachdechythiehmaasm ichepntwaethnkhxngkarpranipranxmrahwangmummxngaebbdngedimthiisictxkhwamcaepnkhxngpraethskalngphthnathitxngdaeninkarptirupaemwacaimsamarthcaykhachdechyidetmcanwn kbkhwamkngwlkhxngolktawntkinpraednkhwamkhumkhrxtxthrphysinswnbukhkhl inshrthxemrika bthbyytiaekikhrththrrmnuykhrngthiha Fifth Amendment kahndwacatxngmikarcaykhachdechyinkrnithithrphysinswnbukhkhl hruxexkchn thuknaipichinkicsatharnakarsnbsnunthangkaremuxngkaroxnmaepnkhxngrththuxepnhnunginklikhlkthinkptirupfaysngkhmniymaelanksngkhmprachathipityichinkarepliynphanipsurabbsngkhmniymaebbkhxyepnkhxyip inbribthnikaroxnthrphysindngklawmicudprasngkhephuxlidrxnsiththikhrxbkhrxngkhxngnaythunrayihy aelaephuxthayoxnkaircakxutsahkrrmmaepnkhxngsatharnaswnrwm rwmthungephuxkxtngrabbkarcdkardwytnexngkhxngchnchnaerngngan workers self management xncanaipsukarsthanarabbesrsthkicaebbsngkhmniyminthisud inshrachxanackrchwnghlngsngkhramolkkhrngthisxng phrrkhaerngnganaelaphrrkhkaremuxngaenwsngkhmprachathipitythwyuorpbangswnsnbsnunihmikaroxnkickarmaepnkhxngrth ephuxichepnklikinkarpkpxngaelaphthnaxutsahkrrmthithuxwasakhytxkhwamsamarthinkaraekhngkhnkhxngpraeths echn xutsahkrrmphlitekhruxngbinaelaxutsahkrrmtxerux epntn hruxephuxpkpxngtaaehnngnganinbangxutsahkrrmodyechphaa aemwabangkhrngkaroxnkickarmaepnkhxngrthnicaepnswnhnungkhxngyuththsastrinkarsrangrabbsngkhmniymkhunmaktam karoxnkickarcakexkchnklbmaepnkhxngrthxikkhrngekidkhunemuxkickarthirthekhyaeprrupipepnkhxngexkchnaelwphayhlngidoxnklbmaepnkhxngrthxikkhrnghnung sungmkcaekidcakphrrkhkaremuxnghruxkhwxanacthangkaremuxngxikfaythikhunmamixanacinphayhlngyxnkarkrathahruxkartdsinickhxngphumixanacchudkxn karoxnkickarklbmaechnnixaceriykwaepn karoxnkickarkhxngrthepnkhxngexkchnaebbswnthang reverse privatization thngnikhawakaroxnkickarmaepnkhxngrththukichhmaythungthngkarthirthekhaipcdkarhruxkhrxbkhrxngkickarid odytrng aelakarthirthbalekhaipthuxhunkhxngbristhmhachn bristhcdthaebiynintladhlkthrphy incanwnthimakphxcnidxanackhwbkhumkickarnn txngkarxangxing xangxingxangxingcakkhathiichinexksaraenbthay khx 3 1 khxngprakasthnakharaehngpraethsithy thi skng 56 2558 emuxwnthi 21 knyayn ph s 2558 sungprakasiwinrachkiccanuebksaemuxwnthi 29 knyayn ph s 2558 http www merriam webster com dictionary nationalization xangxingcakkhathiichinbthkhwamkhawkhxnghnngsuxphimphithyrth elikaeprruptladhun odylm epliynthis wnthi 15 minakhm ph s 2555 Chrisafis Angelique December 14 2011 Renault descendants demand payout for state confiscation The Guardian London Hastings Mason and Pyper Adrian Alistair and Hugh December 21 2000 The Oxford Companion to Christian Thought Oxford University Press p 677 ISBN 978 0198600244 At the heart of its vision has been social or common ownership of the means of production Common ownership and democratic control of these was far more central to the thought of the early socialists than state control or nationalization which developed later Nationalization in itself has nothing particularly to do with socialism and has existed under non socialist and anti socialist regimes Kautsky in 1891 pointed out that a co operative commonwealth could not be the result of the general nationalization of all industries unless there was a change in the character of the state The Economics of Feasible Socialism Revisited by Nove Alexander 1991 P 176 Nationalisation arouses no enthusiasm in the minds of most socialists and anti socialists It would probably be agreed that hopes which reposed on nationalisation have been disappointed Conservatives hold that this is due to defects inherent in nationalisation that private enterprise based on private ownership is inherently superior Mrs Thatcher s government tried to ensure that this was so by preventing essential investments and ordering the nationalized industries to sell off their more successful undertakings The original notion was that nationalization would achieve three objectives One was to dispossess the big capitalists The second was to divert the profits from private appropriation to the public purse Thirdly the nationalized sector would serve the public good rather than try to make private profits To these objectives some but not all would add some sort of workers control the accountability of management to employees brrnanukrmkaroxnkickarthnakharepnkhxngrth Carter Dougherty Stopping a Financial Crisis the Swedish Way The New York Times September 23 2008 Rudolf Hilferding 1981 Finance Capital A Study of the Latest Phase of Capitalist Development London Routledge amp Kegan Paul p 234 ISBN 0 7100 0618 7 ISBN 978 0 7100 0618 9 Rafael La Porta Florencio Lopez de Silanes Andrei Shleifer Government Ownership of Banks The Journal of Finance vol 57 No 1 February 2002 265 301 La Botz Dan 2008 The Financial Crisis Will the U S Nationalize the Banks 28 September 2008 Vladimir Lenin 1917 Nationalisation of the Banks published in October 1917 in pamphlet form Steve Lohr From Japan s Slump in 1990s Lessons for U S The New York Times February 9 2008 Sylvia Maxfield The International Political Economy of Bank Nationalization Mexico in Comparative Perspective Latin American Research Review Vol 27 No 1 1992 pp 75 103 Margaret G Myers The Nationalization of Banks in France Political Science Quarterly Vol 64 No 2 June 1949 pp 189 210 Political Nationalization risk resources directory 2012 08 01 thi ewyaebkaemchchin www ipoliticalrisk com aehlngkhxmulxunThe importance of public banking 2010 08 25 thi ewyaebkaemchchin bthkhwamekiywkbthnakharkhxngrthinxinediy xngkvs Time for Permanent Nationalization bthkhwamodynkesrsthsastr efrd mxsliy innitysar dxllaraexndesns chbbeduxnmkrakhm kumphaphnth kh s 2009 xngkvs The Corporate Governance of Banks a concise discussion of concepts and evidence xngkvs Nationalization khwamhmayinsaranukrmbritanika xngkvs