สอบสนามหลวง คือการสอบไล่วัดความรู้พระปริยัติธรรมของคณะสงฆ์ไทย โดยคำว่า "สนามหลวง" นั้นสันนิษฐานว่ามาจากคำว่า "การสอบพระปริยัติธรรมบาลีในพระราชวังหลวง" โดยการสอบสนามหลวงในสมัยก่อนนั้นพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจะทรงรับเป็นพระราชภาระ ถวายความอุปถัมภ์การจัดสอบขึ้นในพระบรมมหาราชวัง โดยจัดสอบแบบปากเปล่า คือพระภิกษุหรือสามเณรผู้ศึกษาบาลีมีความรู้พอสมควรแล้ว เข้าสอบบาลีสนามหลวงโดยการแปลคัมภีร์ภาษาบาลีเป็นภาษาไทย หรือแต่งภาษาไทยเป็นภาษาบาลี ต่อหน้าพระที่นั่งและคณะกรรมการพระเถรานุเถระ โดยผู้สอบไล่ได้ในชั้นประโยคต่างๆ จะได้รับการพระราชทานสมณศักดิ์ พัดยศ ไตรจีวร และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ตั้งพระภิกษุสามเณรผู้สอบได้ให้เป็นเปรียญ และรับนิตยภัตของหลวง เป็นการยกย่องเชิดชู
ประวัติความเป็นมาการสอบสนามหลวง
การสอบบาลีสนามหลวงนั้นมีมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา ในสมัยต้นรัตนโกสินทร์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ก็ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดสอบในทำนองเดียวกับสมัยกรุงศรีอยุธยา คือ 3 ปีมีการสอบครั้งหนึ่ง เป็นการสอบแบบปากเปล่า มีพระเถราจารย์ผู้ทรงภูมิความรู้เป็นกรรมการสอบ
การสอบไล่ปากเปล่าในอดีต
วิธีการสอบไล่ในอดีตคือผู้เข้าสอบเข้าไปแปลคัมภีร์อรรถกถาต่อหน้าพระเถราจารย์ และพระเถราจารย์จะซักถามผู้เข้าสอบไล่ จึงเป็นที่มาของคำว่า ไล่ความรู้ หรือ สอบไล่
วิชาที่สอบแต่ละประโยคนั้นก็จะกำหนดพระสูตรต่างๆ สำหรับแต่ละประโยค เริ่มตั้งแต่ประโยค 1 ไปจนถึง ประโยค 9 โดยการสอบนั้น จะมีการสอบตั้งแต่ประโยค 1 ขึ้นไป ถ้าสอบประโยค 1 - 2 ได้ แต่สอบประโยค 3 ไม่ได้ ก็ต้องไปเริ่มสอบประโยค 1 ใหม่ เว้นแต่เมื่อสอบได้ประโยค 3 แล้ว ก็สามารถสอบไล่ไปทีละประโยคหรือหลายประโยคก็ได้
ในยุคต้นรัตนโกสินทร์ต่อเนื่องมาจนถึงสมัยเปลี่ยนแปลงการปกครอง พระภิกษุทุกรูปต้องเล่าเรียนและเข้าสอบบาลีสนามหลวง ภิกษุรูปใดสอบไล่ได้เป็นเปรียญตั้งแต่ 3 ประโยคแล้ว ถ้าได้รับพระราชทานสมณศักดิ์ตั้งแต่พระครูสมณศักดิ์ขึ้นไป เป็นอันหยุดไม่ต้องเข้าสอบบาลีสนามหลวงต่อไปก็ได้ แต่ถ้าสมัครใจจะเข้าแปลต่อก็ได้ ส่วนภิกษุที่ยังไม่ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์ก็ต้องสอบต่อไปเรื่อยๆ จนกว่าจะจบเป็นเปรียญ 9 ประโยค
การเปลี่ยนรูปแบบสอบไล่บาลีมาเป็นข้อเขียน
เมื่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตั้งมหามกุฏราชวิทยาลัยขึ้นในคณะสงฆ์ธรรมยุตินิกาย สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส ซึ่งเวลานั้นทรงเป็นผู้ช่วยเจ้าคณะใหญ่คณะธรรมยุติกนิกายได้ทรงกำหนดหลักสูตรของมหามกุฏราชวิทยาลัยขึ้น โดยกำหนดให้ผู้เรียน เรียนทั้งหนังสือไทยและ โดยผู้เข้าเรียนในสำนักมหามกุฏราชวิทยาลัย นี้มีทั้งพระภิกษุ สามเณร และฆราวาส
จึงทำให้การสอบบาลีสนามหลวงในสมัยนั้นแบ่งออกเป็นสองสนาม คือ สนามที่สอบปากเปล่าแบบเก่า และสนามที่จัดสอบผู้เล่าเรียนตามหลักสูตรมหามกุฏราชวิทยาลัย ซึ่งใช้วิธีสอบแบบข้อเขียน และแบ่งการสอบเป็น 3 ชั้น เรียกว่า เปรียญตรี เทียบคุณวุฒิเสมอเปรียญ 4 แบบเก่า เปรียญโท เทียบคุณวุฒิเสมอเปรียญ 5 และเปรียญเอกเทียบคุณวุฒิเปรียญ 7
การสอบไล่ตามหลักสูตรมหามกุฏราชวิทยาลัย คงดำเนินมาจนถึงต้นรัชกาลพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงได้ปรับหลักสูตรการศึกษาบาลีสนามหลวงทั้งหมด โดยใช้หลักสูตรของมหามกุฏราชวิทยาลัยเป็นหลัก และเลิกการสอบเปรียญ ตรี โท เอก เปลี่ยนมาเป็นสอบบาลีตั้งแต่ประโยค 1 - 9 ดังในปัจจุบัน
การสอบสนามหลวงในปัจจุบัน
การสอบสนามหลวงในปัจจุบันนี้แบ่งเป็นสองประเภทคือการสอบบาลีสนามหลวง และสอบธรรมสนามหลวง
การสอบสนามหลวงแผนกบาลีในระดับชั้นเปรียญตรี (ป.ธ.1-2 ถึง 3) และระดับชั้นเปรียญโทเปรียญแรก (ป.ธ. 4) ในปัจจุบันนับว่ามีความสะดวกสบายกว่าแต่ก่อนมาก คือผู้สมัครสอบไม่ต้องเข้ามาสอบที่ส่วนกลางทั้งหมด แต่ให้มีสนามสอบประจำจังหวัด ๆ ละหนึ่งแห่งทั่วประเทศ ยกเว้นกรุงเทพฯ และปริมณฑลให้เป็นส่วนกลาง
การสอบบาลีสนามหลวงในปัจจุบัน
การสอบพระปริยัติธรรมแผนกบาลี หรือ การสอบบาลีสนามหลวง แบ่งการสอบออกเป็น 9 ประโยค
- ประโยค 1-2 ถึงประโยค 3 เป็นเปรียญตรี (กระทรวงศึกษาธิการเทียบวุฒิให้เทียบเท่ามัธยมศึกษาตอนต้น)
- ประโยค 4 ถึง เป็นเปรียญโท (กระทรวงศึกษาธิการเทียบวุฒิให้เทียบเท่ามัธยมศึกษาตอนปลาย)
- ถึงประโยค 9 เป็นเปรียญเอก (กระทรวงศึกษาธิการเทียบวุฒิให้เทียบเท่าปริญญาตรี)
การจัดสอบวัดผลบาลีสนามหลวงในปัจจุบันนั้นแบ่งเป็นสองครั้ง ครั้งแรกคือชั้นประโยค 6 ถึงประโยค 9 และครั้งที่สองคือ ประโยค 1-2 ถึง ประโยค 5 โดยแต่ละครั้งจะจัดสอบพร้อมกันทั่วประเทศ ใช้ข้อสอบที่ออกโดยแม่กองบาลีสนามหลวง
- ครั้งที่ 1
- ตรงกับวันขึ้น 2, 3 ค่ำ เดือน 3 จัดสอบเปรียญธรรม 6- 7 และวันขึ้น 4, 5, 6 ค่ำ เดือน 3 จัดสอบเปรียญธรรม 8-9
- ครั้งที่ 2
- ตรงกับวันแรม 10, 11 12 ค่ำ เดือน 3 จัดสอบประโยค 1-2 ถึงเปรียญธรรม 5 ประโยค
การสอบธรรมสนามหลวงในปัจจุบัน
การสอบพระปริยัติธรรมแผนกธรรม หรือ การสอบธรรมสนามหลวง แบ่งการสอบออกเป็น 2 ประเภท คือ การสอบ นักธรรม สำหรับพระภิกษุ สามเณร และการสอบ ธรรมศึกษา สำหรับฆราวาส
ชั้นการศึกษา
โดยแบ่งชั้นการศึกษาออกเป็น 3 ระดับ
- นักธรรมตรี, นักธรรมโท, นักธรรมเอก
- สำหรับพระภิกษุ สามเณร (ผู้สอบไล่ได้นักธรรมเอกนั้น กระทรวงศึกษาธิการเทียบวุฒิให้เทียบเท่าประถมศึกษาตอนปลาย)
- ธรรมศึกษาตรี, ธรรมศึกษาโท, ธรรมศึกษาเอก
- สำหรับฆราวาส
การจัดสอบ
การจัดสอบวัดผลธรรมสนามหลวงนั้นจัดให้มีการสอบปีละ 2 ครั้ง
- ครั้งที่ 1
- ตรงกับวันขึ้น 9 - 12 ค่ำ เดือน 11 จัดสอบนักธรรมชั้นตรี สำหรับพระภิกษุ สามเณร
- ครั้งที่ 2
- ตรงกับวันแรม 2 - 5 ค่ำ เดือน 12 จัดสอบนักธรรมชั้นโทและเอก สำหรับพระภิกษุ สามเณร
สำหรับธรรมศึกษานั้นจัดสอบวันเดียวคือวันแรม 5 ค่ำ เดือน 12
ในปีการศึกษา 2551 มียอดฆราวาสเข้าสอบธรรมศึกษาในระดับชั้นตรี โท และเอก 1,833,874 คน
อ้างอิง
- การศึกษาของพระ ป.ธ.3 ถึง ป.ธ. 9 คืออะไร, จุลสารพระธรรมทูตวัดไทยลาสเวกัส
- . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-08-18. สืบค้นเมื่อ 2007-03-11.
- กำหนดการสอบบาลีสนามหลวง
- กำหนดการสอบธรรมสนามหลวง
- โครงการสอบธรรมศึกษา สร้างความดีเพื่อพ่อหลวง. กลุ่มประชาสัมพันธ์ สำนักงานรัฐมนตรี กระทรวงศึกษาธิการ. เรียกข้อมูลเมื่อ 2 มิถุนายน 2552
ดูเพิ่ม
แหล่งข้อมูลอื่น
- ศึกษาภาษาบาลีออนไลน์ กับ"ปาลินารี"
- ประวัติการศึกษาของสงฆ์ 2007-10-07 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- ประวัติการศึกษาแผนกธรรม
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
sxbsnamhlwng khuxkarsxbilwdkhwamruphrapriytithrrmkhxngkhnasngkhithy odykhawa snamhlwng nnsnnisthanwamacakkhawa karsxbphrapriytithrrmbaliinphrarachwnghlwng odykarsxbsnamhlwnginsmykxnnnphrabathsmedcphraecaxyuhwcathrngrbepnphrarachphara thwaykhwamxupthmphkarcdsxbkhuninphrabrmmharachwng odycdsxbaebbpakepla khuxphraphiksuhruxsamenrphusuksabalimikhwamruphxsmkhwraelw ekhasxbbalisnamhlwngodykaraeplkhmphirphasabaliepnphasaithy hruxaetngphasaithyepnphasabali txhnaphrathinngaelakhnakrrmkarphraethranuethra odyphusxbilidinchnpraoykhtang caidrbkarphrarachthansmnskdi phdys itrciwr aelathrngphrakrunaoprdekla tngphraphiksusamenrphusxbidihepnepriyy aelarbnityphtkhxnghlwng epnkarykyxngechidchuprawtikhwamepnmakarsxbsnamhlwngkarsxbbalisnamhlwngnnmimatngaetsmykrungsrixyuthya insmytnrtnoksinthrphrabathsmedcphraecaxyuhw kthrngphrakrunaoprdekla ihcdsxbinthanxngediywkbsmykrungsrixyuthya khux 3 pimikarsxbkhrnghnung epnkarsxbaebbpakepla miphraethracaryphuthrngphumikhwamruepnkrrmkarsxb karsxbilpakeplainxdit pccubnkarsxbsnamhlwngepliynkarsxbaebbpakeplatxhnaphrathinng maepnkarsxbaebbkhxekhiyn odykracaysnamsxbipthwthukphumiphakhkhxngpraeths withikarsxbilinxditkhuxphuekhasxbekhaipaeplkhmphirxrrthkthatxhnaphraethracary aelaphraethracarycaskthamphuekhasxbil cungepnthimakhxngkhawa ilkhwamru hrux sxbil wichathisxbaetlapraoykhnnkcakahndphrasutrtang sahrbaetlapraoykh erimtngaetpraoykh 1 ipcnthung praoykh 9 odykarsxbnn camikarsxbtngaetpraoykh 1 khunip thasxbpraoykh 1 2 id aetsxbpraoykh 3 imid ktxngiperimsxbpraoykh 1 ihm ewnaetemuxsxbidpraoykh 3 aelw ksamarthsxbilipthilapraoykhhruxhlaypraoykhkid inyukhtnrtnoksinthrtxenuxngmacnthungsmyepliynaeplngkarpkkhrxng phraphiksuthukruptxngelaeriynaelaekhasxbbalisnamhlwng phiksurupidsxbilidepnepriyytngaet 3 praoykhaelw thaidrbphrarachthansmnskditngaetphrakhrusmnskdikhunip epnxnhyudimtxngekhasxbbalisnamhlwngtxipkid aetthasmkhriccaekhaaepltxkid swnphiksuthiyngimidrbphrarachthansmnskdiktxngsxbtxiperuxy cnkwacacbepnepriyy 9 praoykh karepliynrupaebbsxbilbalimaepnkhxekhiyn emuxphrabathsmedcphraculcxmeklaecaxyuhwthrngphrakrunaoprdekla ihtngmhamkutrachwithyalykhuninkhnasngkhthrrmyutinikay smedcphramhasmneca krmphrayawchiryanworrs sungewlannthrngepnphuchwyecakhnaihykhnathrrmyutiknikayidthrngkahndhlksutrkhxngmhamkutrachwithyalykhun odykahndihphueriyn eriynthnghnngsuxithyaela odyphuekhaeriyninsankmhamkutrachwithyaly nimithngphraphiksu samenr aelakhrawas cungthaihkarsxbbalisnamhlwnginsmynnaebngxxkepnsxngsnam khux snamthisxbpakeplaaebbeka aelasnamthicdsxbphuelaeriyntamhlksutrmhamkutrachwithyaly sungichwithisxbaebbkhxekhiyn aelaaebngkarsxbepn 3 chn eriykwa epriyytri ethiybkhunwuthiesmxepriyy 4 aebbeka epriyyoth ethiybkhunwuthiesmxepriyy 5 aelaepriyyexkethiybkhunwuthiepriyy 7 karsxbiltamhlksutrmhamkutrachwithyaly khngdaeninmacnthungtnrchkalphrabathsmedcphramngkudeklaecaxyuhw cungidprbhlksutrkarsuksabalisnamhlwngthnghmd odyichhlksutrkhxngmhamkutrachwithyalyepnhlk aelaelikkarsxbepriyy tri oth exk epliynmaepnsxbbalitngaetpraoykh 1 9 dnginpccubnkarsxbsnamhlwnginpccubnpccubnkhrawassamarthsxbsnamhlwngidechnkn aetsamarthsxbidechphaahlksutrthrrmsuksa sungmikhwamekhmkhntangcakthrrmsuksakhxngphrasngkhmak karsxbsnamhlwnginpccubnniaebngepnsxngpraephthkhuxkarsxbbalisnamhlwng aelasxbthrrmsnamhlwng karsxbsnamhlwngaephnkbaliinradbchnepriyytri p th 1 2 thung 3 aelaradbchnepriyyothepriyyaerk p th 4 inpccubnnbwamikhwamsadwksbaykwaaetkxnmak khuxphusmkhrsxbimtxngekhamasxbthiswnklangthnghmd aetihmisnamsxbpracacnghwd lahnungaehngthwpraeths ykewnkrungethph aelaprimnthlihepnswnklang karsxbbalisnamhlwnginpccubn karsxbphrapriytithrrmaephnkbali hrux karsxbbalisnamhlwng aebngkarsxbxxkepn 9 praoykh praoykh 1 2 thungpraoykh 3 epnepriyytri krathrwngsuksathikarethiybwuthiihethiybethamthymsuksatxntn praoykh 4 thung epnepriyyoth krathrwngsuksathikarethiybwuthiihethiybethamthymsuksatxnplay thungpraoykh 9 epnepriyyexk krathrwngsuksathikarethiybwuthiihethiybethapriyyatri karcdsxbwdphlbalisnamhlwnginpccubnnnaebngepnsxngkhrng khrngaerkkhuxchnpraoykh 6 thungpraoykh 9 aelakhrngthisxngkhux praoykh 1 2 thung praoykh 5 odyaetlakhrngcacdsxbphrxmknthwpraeths ichkhxsxbthixxkodyaemkxngbalisnamhlwng khrngthi 1 trngkbwnkhun 2 3 kha eduxn 3 cdsxbepriyythrrm 6 7 aelawnkhun 4 5 6 kha eduxn 3 cdsxbepriyythrrm 8 9 khrngthi 2 trngkbwnaerm 10 11 12 kha eduxn 3 cdsxbpraoykh 1 2 thungepriyythrrm 5 praoykhkarsxbthrrmsnamhlwnginpccubn karsxbphrapriytithrrmaephnkthrrm hrux karsxbthrrmsnamhlwng aebngkarsxbxxkepn 2 praephth khux karsxb nkthrrm sahrbphraphiksu samenr aelakarsxb thrrmsuksa sahrbkhrawas chnkarsuksa odyaebngchnkarsuksaxxkepn 3 radb nkthrrmtri nkthrrmoth nkthrrmexk sahrbphraphiksu samenr phusxbilidnkthrrmexknn krathrwngsuksathikarethiybwuthiihethiybethaprathmsuksatxnplay thrrmsuksatri thrrmsuksaoth thrrmsuksaexk sahrbkhrawaskarcdsxb karcdsxbwdphlthrrmsnamhlwngnncdihmikarsxbpila 2 khrng khrngthi 1 trngkbwnkhun 9 12 kha eduxn 11 cdsxbnkthrrmchntri sahrbphraphiksu samenr khrngthi 2 trngkbwnaerm 2 5 kha eduxn 12 cdsxbnkthrrmchnothaelaexk sahrbphraphiksu samenr sahrbthrrmsuksanncdsxbwnediywkhuxwnaerm 5 kha eduxn 12 inpikarsuksa 2551 miyxdkhrawasekhasxbthrrmsuksainradbchntri oth aelaexk 1 833 874 khnxangxingkarsuksakhxngphra p th 3 thung p th 9 khuxxair culsarphrathrrmthutwdithylasewks khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2007 08 18 subkhnemux 2007 03 11 kahndkarsxbbalisnamhlwng kahndkarsxbthrrmsnamhlwng okhrngkarsxbthrrmsuksa srangkhwamdiephuxphxhlwng klumprachasmphnth sanknganrthmntri krathrwngsuksathikar eriykkhxmulemux 2 mithunayn 2552duephimsanknganaemkxngbalisnamhlwng sanknganaemkxngthrrmsnamhlwng karsuksaphrapriytithrrmaephnkbalikhxngkhnasngkhithyaehlngkhxmulxunwikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb karsxbkhxngphraphiksuinsasnaphuthth suksaphasabalixxniln kb palinari prawtikarsuksakhxngsngkh 2007 10 07 thi ewyaebkaemchchin prawtikarsuksaaephnkthrrm