คำยืม หมายถึงคำที่ยืมมาจากภาษาของผู้ให้ และผนวกเข้าเป็นส่วนหนึ่งของภาษาของผู้รับ การยืมนี้ไม่เหมือนความหมายทั่วไปเนื่องจากไม่มีการคืนกลับสู่ภาษาของผู้ให้ แต่เปรียบได้กับ "การยืมความคิด" มาใช้ คำยืมอาจไม่ได้เป็นคำเดียวเสมอไป อาจเป็นกลุ่มคำก็ได้อย่างเช่น déjà vu ซึ่งภาษาอังกฤษยืมมาจากภาษาฝรั่งเศส จะใช้ควบคู่กันไปเสมือนคำเดียว คำยืมอาจมีการเขียน การอ่าน และความหมาย ที่เปลี่ยนแปลงไปจากเดิมก็ได้
คำในภาษาของผู้ให้โดยทั่วไปเข้าสู่ภาษาของผู้รับในลักษณะเนื่องจากการเปิดรับวัฒนธรรมต่างชาติ จุดอ้างอิงโดยเฉพาะอาจเป็นวัฒนธรรมต่างชาตินั้นเองหรือขอบข่ายของกิจกรรมของวัฒนธรรมต่างชาติที่ต้องการครอบงำ วัฒนธรรมต่างชาติซึมซับเข้าสู่วัฒนธรรมท้องถิ่นผ่านทางการเผยแผ่ศาสนา ปรัชญา การค้าขาย ศิลปะ วิทยาการ และการอพยพจากคนต่างถิ่น รวมไปถึงความสัมพันธ์ทางการทูต
ภาษาไทยมีคำยืมภาษาต่างประเทศหลายภาษา เช่น ภาษาบาลี ภาษาสันสกฤต ภาษาเขมร กลุ่มภาษาจีน (ภาษาแต้จิ๋ว, ภาษาฮกเกี้ยน และ ภาษาจีนกลาง) ภาษามอญ ภาษามลายู ภาษาโปรตุเกส ภาษาเปอร์เซีย ภาษาอังกฤษ ภาษาญี่ปุ่น ฯลฯ แม้แต่ศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหงก็ยังปรากฏคำยืมภาษาบาลี ภาษาสันสกฤต ภาษาเขมร เข้ามาปะปน
รูปแบบการถ่ายทอดคำยืม
คำยืมในภาษาของผู้รับมีความแตกต่างในสามประเด็นจากภาษาของผู้ให้ ได้แก่การเขียน การอ่าน และความหมาย
ในแง่ของการเขียน เห็นได้ชัดจากภาษาต่าง ๆ ที่ใช้และอักขรวิธีไม่เหมือนกัน เช่น ภาษาอังกฤษใช้อักษรละติน แต่ภาษาไทยใช้อักษรไทย และบางครั้งก็เขียนแผลงไปจากรูปแบบที่ควรจะเป็น อาจจะด้วยหลักการหรือความนิยมก็ตาม เช่น คำบาลีปริวรรตว่า รฏฺ (รฏฺฐ) อฏฺ (อฏฺฐิ) วุฑฺฒิ ในขณะที่คำไทยเขียนว่า รัฐ อัฐิ วุฒิ เป็นต้น อีกตัวอย่างหนึ่ง คำอังกฤษว่า encyclopedia ยืมมาจากคำละติน encyclopaedia ซึ่งก็ยืมมาจากคำกรีก enkúklios paideíā (ἐγκύκλιος παιδείᾱ) อีกชั้นหนึ่ง
ในแง่ของการอ่าน นอกจากชุดอักษรที่ไม่เหมือนกันดังที่กล่าวแล้ว เสียงอ่านของตัวอักษรแต่ละตัวก็มีฐานกรณ์ต่างกัน และรูปอักษรแทนเสียงก็มีไม่เพียงพอต่อการถ่ายทอดให้ออกมาได้ครบถ้วน เสียงอ่านจึงแปรเปลี่ยนไปตามภาษาของผู้รับ ตัวอย่าง คำอังกฤษ volleyball ในขณะที่คำไทยเขียนว่า วอลเลย์บอล คำญี่ปุ่นเขียนว่า バレーボール (บะเรโบรุ) จะเห็นว่าเสียง v ของภาษาอังกฤษไม่มีในภาษาไทยและภาษาญี่ปุ่น ภาษาไทยจึงใช้ ว ซึ่งเป็นเสียงที่ใกล้เคียงที่สุด และภาษาญี่ปุ่นนิยมใช้คะนะกลุ่ม "บ" มากกว่า ถึงแม้ว่าจะสามารถใช้ ヴォ แทนเสียง vo ได้
ในแง่ของความหมาย คำที่ยืมมาใช้อาจมีความหมายต่างไปจากเดิม หรือแม้แต่คำหลายคำที่มีรากศัพท์เดียวกัน ความหมายก็อาจต่างออกไปโดยสิ้นเชิง ตัวอย่างเช่น คำบาลีและคำสันสกฤตว่า วร (วะระ) หมายถึง ดียิ่ง ประเสริฐ ในขณะที่คำไทยใช้ว่า วร (วอระ, วะระ) ตามความหมายเดิม, พร (พอน) หมายถึง คำแสดงความปรารถนาให้ประสบสิ่งที่เป็นสิริมงคล สิ่งที่ขอเลือกเอาตามประสงค์, พระ หมายถึง คำใช้แทนชื่อเรียกภิกษุสงฆ์ หรือใช้ประกอบหน้าคำอื่นแสดงความยกย่อง อีกตัวอย่างหนึ่ง คำเขมรว่า ត្រួត (ตฺรัวต) แปลว่า ควบคุม ดูแล ปกครอง ในขณะที่คำไทยใช้ว่า ตรวจ หมายถึง พิจารณาดูความเรียบร้อย พิจารณาว่าถูกหรือผิด, ตำรวจ หมายถึง เจ้าหน้าที่ของรัฐมีหน้าที่ตรวจตราและรักษาความสงบเรียบร้อยในบ้านเมือง เป็นต้น ความหมายที่เปลี่ยนไปนี้ขึ้นอยู่กับวัฒนธรรมของผู้ใช้ภาษา
การยืมคำกลับ
การยืมคำกลับ (reborrowing) หมายถึง การถ่ายทอดคำไปยังภาษาของผู้รับ แล้วกลับมายังภาษาของผู้ให้ในรูปแบบที่ต่างออกไป ตัวอย่างที่เห็นได้เช่น เดิมภาษาอังกฤษมีคำ animation แปลว่าภาพเคลื่อนไหว ต่อมาภาษาญี่ปุ่นยืมไปใช้เป็น アニメーション (อนิเมะชง) แล้วถูกย่อเป็น アニメ (อนิเมะ) จากนั้นภาษาอังกฤษก็ยืมกลับไปเป็นคำ anime ซึ่งหมายถึงการ์ตูนในแบบญี่ปุ่น เป็นต้น การยืมคำกลับอาจยืมเฉพาะความหมายใหม่ในภาษาของผู้รับ นำมาเพิ่มในภาษาของผู้ให้ก็ได้ โดยที่คำศัพท์ยังเขียนเหมือนเดิม ตัวอย่างเช่น คำภาษาจีน 共和 เดิมแปลว่าก้งเหอคือสมัยหนึ่งของประวัติศาสตร์จีน ภาษาญี่ปุ่นยืม 共和 ไปใช้โดยให้ความหมายใหม่ว่าสาธารณรัฐ ต่อมาภาษาจีนได้รับเอาความหมายว่าสาธารณรัฐมาเพิ่มในคำ 共和 ด้วย
อ้างอิง
- Jespersen, Otto (1964). Language. New York: Norton Library. p. 208. ISBN .
{{}}
: ตรวจสอบค่า|isbn=
: length ((help)) Shakespeare however anticipates this situation in Hamlet, Act I, scene 3: Neither a borrower nor a lender be ..."
ดูเพิ่ม
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
khayum hmaythungkhathiyummacakphasakhxngphuih aelaphnwkekhaepnswnhnungkhxngphasakhxngphurb karyumniimehmuxnkhwamhmaythwipenuxngcakimmikarkhunklbsuphasakhxngphuih aetepriybidkb karyumkhwamkhid maich khayumxacimidepnkhaediywesmxip xacepnklumkhakidxyangechn deja vu sungphasaxngkvsyummacakphasafrngess caichkhwbkhuknipesmuxnkhaediyw khayumxacmikarekhiyn karxan aelakhwamhmay thiepliynaeplngipcakedimkid khainphasakhxngphuihodythwipekhasuphasakhxngphurbinlksnaenuxngcakkarepidrbwthnthrrmtangchati cudxangxingodyechphaaxacepnwthnthrrmtangchatinnexnghruxkhxbkhaykhxngkickrrmkhxngwthnthrrmtangchatithitxngkarkhrxbnga wthnthrrmtangchatisumsbekhasuwthnthrrmthxngthinphanthangkarephyaephsasna prchya karkhakhay silpa withyakar aelakarxphyphcakkhntangthin rwmipthungkhwamsmphnththangkarthut phasaithymikhayumphasatangpraethshlayphasa echn phasabali phasasnskvt phasaekhmr klumphasacin phasaaetciw phasahkekiyn aela phasacinklang phasamxy phasamlayu phasaoprtueks phasaepxresiy phasaxngkvs phasayipun l aemaetsilacarukphxkhunramkhaaehngkyngpraktkhayumphasabali phasasnskvt phasaekhmr ekhamapapnrupaebbkarthaythxdkhayumkhayuminphasakhxngphurbmikhwamaetktanginsampraedncakphasakhxngphuih idaekkarekhiyn karxan aelakhwamhmay inaengkhxngkarekhiyn ehnidchdcakphasatang thiichaelaxkkhrwithiimehmuxnkn echn phasaxngkvsichxksrlatin aetphasaithyichxksrithy aelabangkhrngkekhiynaephlngipcakrupaebbthikhwrcaepn xaccadwyhlkkarhruxkhwamniymktam echn khabalipriwrrtwa rt rt th xt xt thi wuth thi inkhnathikhaithyekhiynwa rth xthi wuthi epntn xiktwxyanghnung khaxngkvswa encyclopedia yummacakkhalatin encyclopaedia sungkyummacakkhakrik enkuklios paideia ἐgkyklios paideiᾱ xikchnhnung inaengkhxngkarxan nxkcakchudxksrthiimehmuxnkndngthiklawaelw esiyngxankhxngtwxksraetlatwkmithankrntangkn aelarupxksraethnesiyngkmiimephiyngphxtxkarthaythxdihxxkmaidkhrbthwn esiyngxancungaeprepliyniptamphasakhxngphurb twxyang khaxngkvs volleyball inkhnathikhaithyekhiynwa wxlelybxl khayipunekhiynwa バレーボール baerobru caehnwaesiyng v khxngphasaxngkvsimmiinphasaithyaelaphasayipun phasaithycungich w sungepnesiyngthiiklekhiyngthisud aelaphasayipunniymichkhanaklum b makkwa thungaemwacasamarthich ヴォ aethnesiyng vo id inaengkhxngkhwamhmay khathiyummaichxacmikhwamhmaytangipcakedim hruxaemaetkhahlaykhathimiraksphthediywkn khwamhmaykxactangxxkipodysineching twxyangechn khabaliaelakhasnskvtwa wr wara hmaythung diying praesrith inkhnathikhaithyichwa wr wxra wara tamkhwamhmayedim phr phxn hmaythung khaaesdngkhwamprarthnaihprasbsingthiepnsirimngkhl singthikhxeluxkexatamprasngkh phra hmaythung khaichaethnchuxeriykphiksusngkh hruxichprakxbhnakhaxunaesdngkhwamykyxng xiktwxyanghnung khaekhmrwa ត រ ត t rwt aeplwa khwbkhum duael pkkhrxng inkhnathikhaithyichwa trwc hmaythung phicarnadukhwameriybrxy phicarnawathukhruxphid tarwc hmaythung ecahnathikhxngrthmihnathitrwctraaelarksakhwamsngberiybrxyinbanemuxng epntn khwamhmaythiepliynipnikhunxyukbwthnthrrmkhxngphuichphasakaryumkhaklbkaryumkhaklb reborrowing hmaythung karthaythxdkhaipyngphasakhxngphurb aelwklbmayngphasakhxngphuihinrupaebbthitangxxkip twxyangthiehnidechn edimphasaxngkvsmikha animation aeplwaphaphekhluxnihw txmaphasayipunyumipichepn アニメーション xniemachng aelwthukyxepn アニメ xniema caknnphasaxngkvskyumklbipepnkha anime sunghmaythungkartuninaebbyipun epntn karyumkhaklbxacyumechphaakhwamhmayihminphasakhxngphurb namaephiminphasakhxngphuihkid odythikhasphthyngekhiynehmuxnedim twxyangechn khaphasacin 共和 edimaeplwakngehxkhuxsmyhnungkhxngprawtisastrcin phasayipunyum 共和 ipichodyihkhwamhmayihmwasatharnrth txmaphasacinidrbexakhwamhmaywasatharnrthmaephiminkha 共和 dwyxangxingJespersen Otto 1964 Language New York Norton Library p 208 ISBN 039300292 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite book title aemaebb Cite book cite book a trwcsxbkha isbn length help Shakespeare however anticipates this situation in Hamlet Act I scene 3 Neither a borrower nor a lender be duephimwikiphcnanukrm mikhwamhmaykhxngkhawa khayum karthbsphth karaeplbthkhwamphasaniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhk